ค.ศ.1963 รหัสแอสกี (ASCII code) ต่อ
Download
Report
Transcript ค.ศ.1963 รหัสแอสกี (ASCII code) ต่อ
V.12062013
ซอฟตแวร
พั
ฒ
นาระบบ
์
์
ฐานขอมู
ล
้
บทที่ 1 : พืน
้ ฐานเกีย
่ วกับ
ซอฟต
แวร
์
์
ปริญญา
น้อยดอนไพร
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ์ คณะ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี
วัตถุประสงค ์
นักศึ กษาสามารถ
• ระบุซอฟตแวร
ประเภทต
าง
ๆ และหน้าทีข
่ อง
่
์
์
ซอฟตแวร
ได
์
์ ้
• อธิบายเทคนิคการออกแบบซอฟตแวร
์
์
• เลือกใช้ซอฟตแวร
ได
บงานและมี
้
์
์ เหมาะสมกั
ประสิ ทธิภาพ
• อธิบายประวัตค
ิ วามเป็ นมาของซอฟตแวร
ได
์
์ ้
ประเภทของซอฟตแวร
์
์
• ซอฟตแวร
คื
์
์ ออะไร
• ประเภทของซอฟตแวร
์
์
- ซอฟตแวร
ระบบ
์
์
- ซอฟตแวร
ประยุ
กต ์
์
์
ซอฟตแวร
ระบบ
์
์
• ซอฟตแวร
ควบคุ
มระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร
์
์
- การจองและการกาหนด
- การจัดตาราง
- การติดตาม
•
•
•
•
ซอฟตแวร
จั
์
์ ดการอุปกรณต
์ อพ
่ วง
่
ซอฟตแวร
การสื
่ อสาร
์
์
ซอฟตแวร
ช
์
์ ่ วยพัฒนาโปรแกรม
อ
ซอฟตแวร
์ านวยความสะดวก
์
ซอฟตแวร
ประยุ
กต ์
์
์
• โปรแกรมทีเ่ ขียนขึน
้ เอง
• โปรแกรมสาเร็จรูป
- จัดการระบบฐานขอมู
้ ล
- จัดพิมพรายงาน
์
- ทาการคานวณ
- สาหรับงานธุรกิจ
- ทางกราฟฟิ กส์
V.12062013
การออกแบบและพัฒนา
ซอฟตแวร
์
์
ประวัตค
ิ วามเป็นมาของ
ซอฟต
แวร
์
์
ปริญญา
น้อยดอนไพร
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ์ คณะ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี
ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของซอฟตแวร
์
์
• ปี ค.ศ.
ผลงาน
• 1948
ทฤษฎีการสื่ อสาร (Theory of
Communication)
• 1953
โปรแกรมช่วยให้โปรแกรมไดเร็
้
้ วขึน
speedcoding
• 1955
โปรแกรม Logic Theorist
• 1956
การประมวลผลแบบกลุม
่ (batch
processing)
• 1956
แป้นพิมพ ์
• 1957
ตัวแปลภาษาระดับสูงไปเป็ นภาษาเครือ
่ ง
(compilers)
• 1957
ภาษาฟอรแทรน
(Fortran)
์
ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของซอฟตแวร
์
์
(ตอ)
่
ปี ค.ศ.
ผลงาน
1960
ภาษาลิสพ ์ LISP
1962
เกมคอมพิวเตอรแบบโต
ตอบ
้
์
1963
โปรแกรมวาดภาพ Sketchpad
1963
รหัสแอสกี (ASCII code)
1964
ภาษาเบสิ ค (BASIC)
1965
ภาษาเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุซม
ิ ล
ู า
(Simula)
• 1967
ภาษาโลโก้ (LOGO) สาหรับเด็ก
• 1968
เอกสารวิชาการ: ผลรายของการเขี
ยน
้
โปรแกรมดวยค
าสั่ ง GOTO
้
• 1969
มาตรฐาน RS-232-C
•
•
•
•
•
•
•
ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของซอฟตแวร
์
์
(ตอ)
่
ปี ค.ศ.
ผลงาน
1969
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารยูนิกส์ UNIX
1972
วิดโี อเกม
1976
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร CP/M
1977
มาตรฐานการเขารหั
สขอมู
้
้ ลของ IBM
1979
โปรแกรมวิสิแคลค ์ (VisiCalc)
1981
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร MS-DOS
1982
โปรแกรมสเปรดชีต Lotus 1-2-3
1983
โปรแกรมประมวลผลขอความ
(word
้
processing)
• 1985
โปรแกรมเพจเมคเกอร ์ (PageMaker)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของซอฟตแวร
์
์
(ตอ)
่
• ปี ค.ศ.
ผลงาน
• 1985 ภาษาซี พลัส พลัส (C++ )
• 1987 โปรแกรมไฮเปอรการ
ด
์
์
(HyperCard)
• 1989 เกมซิมซิต ี้ (Simcity)
• 1989 การมองเห็ นเสมือยจริง วีอาร ์ (VRvirtual reality)
• 1990 ระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารวินโดวส์ 3.0
(Windows 3.0 )
ค.ศ.1948 ทฤษฎีการสื่ อสาร
(Theory of Communication)
• นั ก ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์ ชื่ อ ค ล็ อ ด แ ช น น อ น ( Claude
Shannon)
ได้สร้างทฤษฎีเ ชิง คณิตศาสตร ของการ
์
สื่ อสาร ซึง่ เขาไดเสนอวิ
ธก
ี ารแทนขอมู
้
้ ล
• โดยได้นิ ย ามหน่ วยที่เ ล็ ก ที่สุ ด ของข้ อมู ล คือ บิต (bit)
และเสนอวิธ ีก ารสร้ างฮาร ดแวร
ที
์
์ ่ป ระมวลผลข้ อมู ล ได้
โดยการสร้างวงจรสวิตซ ์ ในวงจรนั้นประมวลผลข้อมูล
ที่เ ป็ นตรรกะ (จริง หรือ เท็ จ ) รับ ข้ อมู ล เข้ าเป็ นบิต (0
และ1 แทน เท็ จ และ จริง ) เข้ าสู่วงจรย่อยที่ทาการ
สวิตซหรื
้ อยูกั
่ าเข้า วงจรยอย
่ บข้อมูลทีน
่
์ อสลับข้อมูลขึน
นี้ ไ ด้ แก่ วงจรในการน าข้ อมู ล มาเชื่ อ มกัน ด้ วยค าว่ า
"และ"(and), "หรือ" (or), "นิเสธ" (not) คาเชือ
่ มเหลานี
่ ้
ทางคณิ ต ศาสตร ์เรี ย กว่ าตัว กระท าการ (operator)
ผลลัพธทีอ
่ อกมาเป็ นบิตเชนเดียวกัน และผลลัพธนี้ก็อาจ
ค.ศ.1948 ทฤษฎีการสื่ อสาร
(Theory of Communication) ตอ
่
คล็อด แชนนอน (Claude Shannon) บิดาแห
ค.ศ. 1953 โปรแกรมช่วยให้โปรแกรม
ไดเร็
้ speedcoding
้ วขึน
• จอห น
แบคคัส (John
Backus) ได้สร้าง
์
โปรแกรมชือ
่ speedcoding ไดส
้ าเร็จ ซึง่ เป็ น
โ ป ร แ ก ร ม ที่ ช่ ว ย ล ด เ ว ล า ใ น ก า ร ป ร ะ ม ว ล
โ ป ร แ ก ร ม ถึ ง แ ม้ โ ป ร แ ก ร ม นี้ จ ะ ต้ อ ง ก า ร
ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ม า ก แ ล ะ ต้ อ ง แ ย่ น ใ ช้ ห น่ ว ย
ประมวลผล แตก็
่ สามารถลดเวลาในการทางาน
ข อ ง ม นุ ษ ย ์ ไ ด้ ม า ก ( ใ น ส มั ย นั้ น นั ก เ ขี ย น
โปรแกรมกับ ผู้ ช่ วยต้ องคอยเสี ยบสายต่าง ๆ
เองเพื่ อ เชื่ อ มวงจรซึ่ ง อาจใช้ เวลาเป็ นหลาย
สั ปดาห)
ค.ศ. 1953 โปรแกรมช่วยให้โปรแกรม
ไดเร็
้ speedcoding (ตอ)
้ วขึน
่
คอมพิวเตอร ์ IBM 701
ค.ศ.1955 โปรแกรม
Logic Theorist
• เฮอรเบิ
์ รต
์ ไซมอน (Herbert Simon) และ
อัลเลน นิวเวล (Allen Newell) สร้างโปรแกรม
ทีส
่ ามารถประมวลผลข้ อมูลทีไ
่ ม่ใช่ ตัว เลขหรือ
การคานวณได้ (การประมวลผลตัวอักขระก็ถอ
ื
วาเป็
่ นตัวเลข เพราะอักขระในคอมพิวเตอรนั
์ ้น
ถูกแทนดวยรหั
สตัวเลข เช่น รหัสแอสกี)
้
• โปรแกรมที่ ส ามารถหาเหตุ ผ ลได้ และพิ สู จ น์
โจทยที
่ ต้ น
์ เ่ ป็ นตรรกศาสตรได
์ ้ นี่เองเป็ นจุดเริม
ของศาสตร ์แห่ งปั ญ ญาประดิ ษ ฐ ์ (artificial
ค.ศ.1955 โปรแกรม
Logic Theorist (ตอ)
่
Herbert Simon Allen Newell
ค.ศ.1956 การประมวลผลแบบกลุม
่
(batch processing)
• ใ น ช่ ว ง นี้ ซ อ ฟ ต ์ แ ว ร ์ ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ
วิ ศ ว ก ร ร ม ไ ด้ รั บ ค ว า ม ส น ใ จ ม า ก
ระบบปฏิบ ต
ั ิก ารตัว แรกได้ ถู ก สร้ างขึ้น ส าหรับ
เครือ
่ ง IBM 704
• และในระบบปฏิบ ต
ั ิก ารมีร ะบบอิน พุ ต เอาท พุ
์ ต
GM-NAA ให้มีความสามารถการรับอินพุตเข้า
ประมวลผลครัง้ ละหลายงาน ซึง่ ระบบนี้เรียกวา่
ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล แ บ บ ก ลุ่ ม ห รื อ batch
processing
ค.ศ.1956 การประมวลผลแบบกลุม
่
(batch processing) ตอ
่
ตัวอยางการประมวลผลแบบ
batch pr
่
ค.ศ.1956
แป้นพิมพ ์
• ที่ ส ถาบัน เอ็ ม ไอที สหรัฐ อเมริก า ได้ มีก าร
เริ่ม ต้ นวิจ ัย ใช้ แป้ นพิม พ ์เป็ นสื่ อน าข้ อมู ล เข้ า
คอมพิวเตอรเพื
่ ประมวลผลโดยตรง เป็ นการ
์ อ
เปิ ดประตู ส่ ู การใช้ แป้ นพิม พ เป็
์ นตัว อุ ป กรณ ์น า
ข้ อมู ล เข้ า (สมัย ก่อน ข้ อมู ล ต้ องอยู่ในสื่ อที่
เครือ
่ งอานได
่
้ เช่น ใช้บัตรเจาะรู เทป)
• นอกจากนี้ ดัก รอส (Doug Ross) ไดเสนอ
้
หน่ วยความจ าแบบเข้ าถึง แบบสุ่ ม (Random
Access Memory: RAM) หลังจากนั้น 5 เดือน
ค.ศ. 1957 ตัวแปลภาษาระดับสูงไปเป็ น
ภาษาเครือ
่ ง (compilers)
• สเปอรรี แรนด ์ (Sperry Rand) ได้พัฒนา
คอมไพเลอร ์ (compiler)
หรือตัวแปลภาษา
ร ะ ดั บ สู ง ไ ป เ ป็ น ภ า ษ า เ ค รื่ อ ง ส า ห รั บ เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอร ์ UNIVAC ออกสู่ตลาด
• ผู้พัฒ นาตัว แปลภาษานี้ คือ เกรซ ฮอปเปอร ์
(Grace Hopper) โดยพัฒนาเพิม
่ เติมจากงาน
เดิม คื อ ตัว แปลภาษาชื่ อ MATH-MATIC
จากนั้นพัฒนาไปเป็ น FLOW-MATIC ซึ่งเป็ น
คอมไพเลอรตั
่ ระมวลผลขอมู
์ วแรกทีป
้ ลทางธุรกิจ
ค.ศ. 1957 ตัวแปลภาษาระดับสูงไปเป็ น
ภาษาเครือ
่ ง (compilers) ตอ
่
ค.ศ.1957 ภาษาฟอรแทรน
์
(Fortran)
• ภาษาฟอร ์แทรนได้ ถู ก พัฒ นาขึ้ น (Fortran
มากจากคาวา่ FORmula TRANslator หรือ
ตัวแปลสูตร)
• ภ า ษ า ฟ อ ร ์ แ ท ร น เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ง า น ด้ า น
วิท ยาศาสตร ์ มีค วามสามารถในการท างาน
แบบวนซา้ ชุดคาสั่ งเดิมได้ การวนซา้ นี้เรียกวา่
วนรอบ หรือ loop ช่วยให้โปรแกรมทีเ่ ขียน
สั้ นลง และเหมาะกับการคานวณสูตรตาง
ๆ
่
ค.ศ.1957 ภาษาฟอรแทรน
์
(Fortran)
ค.ศ.1960 ภาษาโคบอล COBOL
• ไดมี
อของ
้ การสร้างภาษาโคบอลจากความรวมมื
่
เพนตากอน (Pentagon)
บริษัทหลายบริษัท
ภาษาโคบอล (COBOL
Common
Business Oriented Language)
• ถู ก พัฒ นาขึ้น เพื่อ ใช้ งานด้านธุ ร กิจ โดยเฉพาะ
ทีม พัฒ นาหวัง ว่ าโคบอลเป็ นภาษาที่ส ามารถ
ท างานบนเครื่ อ งต่ างกัน ซึ่ ง มีต ัว แปลภาษา
ต่างกัน ได้ โดยมีก ารแก้ ไขโปรแกรมให้ น้ อย
ทีส
่ ุด
ค.ศ.1960 ภาษาโคบอล COBOL
ค.ศ. 1960 ภาษาลิสพ ์ LISP
• ภาษาลิส พ ์ได้ ถือ ก าเนิ ด ขึ้ น มีล ัก ษณะพิเ ศษ
คื อ ภ า ษ า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์ ภ า ษ า แ ร ก ที่ ไ ด้ รั บ
ออกแบบเพื่อ สร้ างโปรแกรมปั ญ ญาประดิษ ฐ ์
พั ฒ น า โ ด ย จ อ ห ์ น แ ม ค ค า ร ์ ธี ( John
McCarthy)
ค.ศ.1962 เกมคอมพิวเตอรแบบ
์
โตตอบ
้
• นัก ศึ ก ษากลุ่มหนึ่ ง จากสถาบัน เอ็ มไอที (MIT)
ได้ สร้ างเกมคอมพิ ว เตอร ์ชื่ อ เกมสงคราม
อวกาศ SpaceWar ซึง่ เป็ นเกมคอมพิวเตอรแบบ
์
โต้ตอบเกมแรก เลนครั
ง้ แรกด้วยคอมพิวเตอร ์
่
PDP-1 ซึง่ มีหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ ทาให้
สะดวกในการยิง และผู้เลนทั
่ ง้ สองฝ่ายใช้แทง่
ควบคุ ม ยิง ยานอวกาศของฝ่ ายตรงข้ าม และ
ควบคุ ม การหลบแรงดึ ง สู่ ศู น ย ์กลางจากดวง
อาทิตยและหลบศั
ตรูได้ เป็ นแรงบันดาลใจใน
์
การสรางวิดโี อเกมในชวงตอมา
ค.ศ.1962 เกมคอมพิวเตอรแบบ
์
โตตอบ
้
เกมสงครามอวกาศ SpaceWar เลนด
อ
่ ง
่ วยเครื
้
ค.ศ.1963 โปรแกรมวาดภาพ
Sketchpad
• มีร ะบบวาดรู ป ด้ วยคอมพิว เตอร ์ Sketchpad
พั ฒ น า โ ด ย
ไ อ ว า น
ซัดเธอรแลนด
์
์ (Ivan Sutherland) ผู้วาด
สามารถวาดรูปโดยใช้ปากกาแสง (light pen)
วาดลงไปบนแผ่ นวาดพิเ ศษ และจัด การกับ
รูปภาพเรขาคณิตผานทางหน
่
้ าจอได้
ค.ศ.1963 โปรแกรมวาดภาพ
Sketchpad
Ivan Sutherland: light pen
ค.ศ.1963 รหัสแอสกี (ASCII
code)
• มีก ารก าหนดรหัสมาตรฐานสาหรับ การจัด การ
กั บ อั ก ข ร ะ ข อ ง ข้ อ ค ว า ม ใ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ์
รหัส มาตรฐานนี้ ค ือ แอสกี —
ASCII
(American Standard Code for Information
Interchange) เบือ
้ งตนประกอบด
วยรหั
ส 128
้
้
ตัวทีแ
่ ทนตัวอักษรในภาษาอังกฤษ ตัวเลขอาร
บิค เครือ
่ งหมายวรรคตอน และอักขระควบคุม
พิเ ศษ เช่ น อัก ขระบอกจบบรรทัด อัก ขระ
ขึน
้ บรรทัดใหม่ เป็ นตน
้
• ส าหรับ ภาษาไทย ได้ มีก ารก าหนดรหัส เพื่อ
ค.ศ.1963 รหัสแอสกี (ASCII
code) ตอ
่
• แป้นพิมพของไทย
สาหรับรูปแบบการจัดวาง
์
ของแป้นพิมพภาษาไทยนั
้น มีอยูด
น 2
์
่ วยกั
้
แบบ คือ
• แป้นพิมพเกษมณี
ซึง่ ถูกคิดคนโดยคุ
ณสุวรรณ
์
้
ประเสริฐ เกษมณี ออกแบบมาเพือ
่ ใช้กับ
พิมพดี
ทีถ
่ ก
ู ใช้ จึง
์ ด เป็ นแป้นพิมพรุ์ นแรกๆ
่
ถูกเรียกวา่ "แบบมาตรฐาน" ทุกวันนี้ก็ยงั ไดรั
้ บ
ความนิยม
ค.ศ.1963 รหัสแอสกี (ASCII
code) ตอ
่
• แป้ นพิม พ ปั
์ ต ตะโชติ ออกแบบโดยคุ ณสฤษดิ ์
ปัต ตะโชติ เป็ นแป้ นพิม พ แบบใหม
์
่ที่อ อกมาที่
ห ลั ง เ ก ษ ม ณี แ ต่ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม ไ ม่ เ ท่ า
แป้นพิมพแบบเกษมณี
์
ค.ศ.1964 ภาษาเบสิ ค (BASIC)
• BASIC ยอมาจาก
Beginner's All Purpose
่
Symbolic Instruction Code ภาษาเบสิ ก
พัฒนาขึน
้ ครัง้ แรกทีว่ ท
ิ ยาลัย Dartmouth ใน
สหรัฐ อเมริก า และออกจ าหน่ ายเมื่อ ปี ค.ศ.
1963
• ผู้พัฒนาภาษาเบสิ ค คือ John Kemeny และ
Thomas Kurz เนื่องจากการพัฒนาเพือ
่ ให้
นักศึ กษาทีเ่ รียนวิทยาการคอมพิวเตอรได
์ เรี
้ ยนรู้
ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม เ บื้ อ ง ต้ น ภ า ษ า นี้ ถู ก
ออกแบบมาให้ เขี ย นโปรแกรมง่ าย ๆ ใช้
ค.ศ.1964 ภาษาเบสิ ค (BASIC) ตอ
่
ตัวอย่าง ภาษาเบสิค
ค.ศ.1965 ภาษาเขียนโปรแกรมเชิง
วัตถุซม
ิ ล
ู า
(Simula)
• มี ภ าษาส าหรับ เขี ย นโปรแกรมเชิ ง วัต ถุ คื อ
ภาษา Simula
เขีย นขึ้น โดย Kristen
Nygaard และ Ole-John Dahl
• ภาษา Simula ไดรวมค
าสั่ งในการประมวลผล
้
และข้ อมู ล ไว้ ด้ วยกัน เป็ นเหมือ นของชิ้ น หนึ่ ง
ซึ่งของแตละชิ
น
้ จะแทนลักษณะหนึ่ง ๆ พร้อม
่
ด้วยข้ อมูล คุ ณ สมบัต ข
ิ องลัก ษณะนั้น ๆ ของ
ปั ญ หาที่โ ปรแกรมจะท าการจ าลอง แตกต่าง
จากภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมทีเ่ คยมีมา
ค.ศ.1965 ภาษาเขียนโปรแกรมเชิง
วัตถุซม
ิ ล
ู า
(Simula) ตอ
่
ตัวอยาง
โครงสรางการท
างานของ
่
้
ค.ศ. 1967
ภาษาโลโก้ (LOGO) สาหรับเด็ก
• เซยมั
์ วร ์ ปาเปิ รต
์ (Seymour Papert ) เป็ นนัก
คณิตศาสตรและนั
กการศึ กษาทีส
่ ถาบันเอ็มไอที
์
เขาเป็ นหนึ่ ง ในผู้ บุ ก เบิก ปั ญ ญาประดิษ ฐ โดย
์
เสนอแนวคิดเรือ
่ งความรูของเครื
อ
่ งจักร และได้
้
สร้ างภาษาโลโกในปี 1968 ซึ่ง เป็ นภาษาที่
เหมาะสาหรับเด็กในการฝึ กหัดเขียนโปรแกรม
• ส าม าร ถ ร ะ ด ม ส ม อ ง ร่ ว ม กั น คิ ด เ พื่ อ ส ร้ า ง
โปรแกรม เขายังคิดเพือ
่ การศึ กษานั่นคือ การ
น าเอาแนวคิด การเรีย นรู้ ของ ฌอง เพีย เจต ์
ค.ศ. 1967
ภาษาโลโก้ (LOGO) สาหรับเด็ก
(ตอ)
่
ตัวอยาง
ภาษา Logo สาหรับเด็ก
่
ค.ศ.1968 เอกสารวิชาการ:
ผลร้ายของการเขียนโปรแกรมดวย
้
คาสั่ ง GOTO
• Edsger Dijkstra ได้เขียนเอกสารวิชาการ
กลาวถึ
งข้อเสี ยของการเขียนโปรแกรมทีม
่ ก
ี าร
่
กระโดดข้ามการทางานดวยค
าสั่ ง GOTO (มา
้
จาก go
to:
เป็ นประโยคค าสั่ งใน
ภาษาคอมพิว เตอร หลายภาษา
เป็ นการสั่ งให้
์
โปรแกรมข้ ามไปท างานตรงต าแหน่ งที่ร ะบุ )
บอย
ๆ วามี
่
่ ข้อเสี ยในการติดตามการทางาน
ของโปรแกรม ท าให้ โปรแกรมซับ ซ้ อนและ
แกไขได
ยากในกรณี
ทเี่ กิดขอผิ
้
้
้ ดพลาด
• จุดนี้เองไดเริ
่ ตนการถกเถี
ยงถึงขอด
้ ม
้
้ อยของการ
้
ค.ศ.1968 เอกสารวิชาการ:
ผลร้ายของการเขียนโปรแกรมดวย
้
คาสั่ ง GOTO (ตอ)
่
Edsger Dijkstra
ค.ศ.1969 มาตรฐาน RS-232-C
• มีการกาหนดมาตรฐาน RS-232-C
ซึ่งเป็ น
ม า ต ร ฐ า น ส า ห รั บ ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง
คอมพิว เตอร กั
์ บอุ ปกรณต
์ ่อพ่วง การส่งข้อมู ล
เป็ นแบบอนุ กรม คือส่งทีละบิตตอเนื
่ ่องกันไป
ค.ศ.1969
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารยูนิกส์ UNIX
• เคนเนท ทอมสั น (Kenneth Thompson) และ
เดนนิส ริชชี (Dennis Ritchie) นักเขียน
โปรแกรมแห่งห้องปฏิบต
ั ก
ิ าร AT&T
Bell
Laboratories ไดสร
(C language)
้ างภาษาซี
้
• ใ ช้ ภ า ษ า ซี พั ฒ น า ร ะ บ บ ป ฏิ บั ต ิ ก า ร ยู นิ ก ส์
(UNIX)
ส าหรับ มิ นิ ค อมพิว เตอร ์
ระบบปฏิบ ต
ั ิก ารนี้ ม ีค วามสามารถในการแบ่ง
เ ว ล า ก า ร ใ ช้ ง า น ห น่ ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล
(timesharing) มีระบบจัดการไฟลที
่ ี และมี
์ ด
ค.ศ.1972 วิดโี อเกม
• วิดโี อเกมถูกพัฒนาขึน
้ ครัง้ แรก
โดยบริษท
ั Atari
ค.ศ.1976 ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร CP/M
• แกรี่ คิลดัล (Gary
Kildall)
ได้พัฒนา
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารสาหรับเครือ
่ งคอมพิวเตอรส
์ ่ วน
บุคคลขึน
้ คือ ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร CP/M ซึง่ ได้
ถูกนาไปใช้อยางกว
่
้างขวาง เนื่องจากอานวย
ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ ห้ ผู้ ใ ช้ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ม ว ล ผ ล
โ ป ร แ ก ร ม ใ น ลั ก ษ ณ ะ อื่ น ๆ ถ้ า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอร ์ 8 บิตเหมือนกัน
ค.ศ.1976 ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร CP/M
(ตอ)
่
ค.ศ.1977
มาตรฐานการเข้ารหัสข้อมูลของ IBM
• รัฐบาลสหรัฐได้นามาตรฐานการเข้ารหัสข้อมูล
ของไอบีเ อ็ ม มาใช้ เพื่อ ความมั่น ใจในความ
ปลอดภัย ของการเข้ ารหั ส ข้ อความที่ สื่ อสาร
ระหวางหน
ๆ
่
่ วยงานตาง
่
• มาตรฐานนี้ต้องมีตวั เลข 8 หลักสาหรับใช้เป็ น
กุ ญ แจใ น การ เ ข้ าร หั ส และ ถ อ ดร หั ส ผู้ ใ ช้
สามารถตั้ง รหัสกุญ แจนี้เ อง ความน่าจะเป็ นที่
จะถอดรหัสได้โดยการลองผิดลองถูกมีน้อยมาก
เนื่ องจากข้อความทีเ่ ข้ารหัสแล้วมีความเป็ นไป
ค.ศ.1977
มาตรฐานการเข้ารหัสข้อมูลของ IBM
ค.ศ.1979
โปรแกรมวิสิแคลค ์ (VisiCalc)
• โปรแกรมในการค านวณแบบตาราง (spread
sheet) ชือ
่ วิสิแคล VisiCalc ไดรั
้ บการพัฒนาโดย
บ๊อบ แฟรงส์ตัน (Bob Frankston) กับแดน
บริคลิน (Dan Bricklin) ในตอนเริม
่ ต้นนั้นพวกเขา
เขีย นโปรแกรมนี้ เ พื่อ ท างานบนเครื่อ งแอปเปิ้ ล 2
(Apple II) แตภายหลั
งโปรแกรม VisiCalc ก็
่
ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ แ ล ะ น า ไ ป ใ ช้ กั บ เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอรส
่ ไป โปรแกรมนี้ช่วยลด
์ ่ วนบุคคลทัว
ภาระการทางานทางธุรกิจให้กับผูใช
้ ้เป็ นอยางมาก
่
• ในปี นี้ ไ ด้ มี ส ารสนเทศสาธารณะเปิ ดให้ บริ ก าร
ค.ศ.1979
โปรแกรมวิสิแคลค ์ (VisiCalc) ตอ
่
แฟรงส์ตันกับบริคลิน ผู้สรางโปรแกรม
VisiCal
้
ค.ศ.1981
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร MS-DOS
• ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร MS-DOS (Microsoft Disk
Operating System) ไดรั
้ โดย
้ บการพัฒนาขึน
บริ ษั ท ไอบี เ อ็ มได้ รั บ ความร่ วมมื อ จาก บิ ล
เกตส์ (Bill Gates) และพอล อัลเลน (Paul
Allen)
เพื่อ เป็ นระบบปฏิบ ต
ั ิก ารส าหรับ
คอมพิวเตอรรุ์ นไอบี
เอ็ม พีซี (IBM PC) ซึ่ง
่
เป็ นคอมพิวเตอรส
์ ่ วนบุคคล หลังจากนั้นอีก 6
ปี เกตส์ และอัล เลนก็ ไ ด้ แยกตัว ออกไปก่อตั้ง
บริษท
ั ไมโครซอฟต ์
ค.ศ.1981
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร MS-DOS (ตอ)
่
ตัวอยาง
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ าร
่
MS-DOS
ค.ศ.1982
โปรแกรมสเปรดชีต Lotus 1-2-3
• มิช คาปอร ์ (Mitch
Kapor)
ได้พัฒนา
โปรแกรมโลตัส 1-2-3 (Lotus 1-2-3) ซึง่ เป็ น
โปรแกรมคานวณแบบตารางทีท
่ างานไดเร็
้ วกวา่
โปรแกรมคู่ แข่ งมาก มี ค วามสามารถด้ าน
รูป ภาพและการค้ นคืน ข้อมูล ท าให้ โปรแกรม
โลตัสไดรั
้ บความนิยมสูง
ค.ศ.1983
โปรแกรมประมวลผลข้อความ (word
processing)
• ไม โคร ซอ ฟต ์ เ ปิ ด ตั ว โ ปร แก ร มประ ม วล ผ ล
ข้อความ Word แตก
Word มี
่ อนโปรแกรม
่
ชือ
่ วา่ Multi-Tool Word ซึง่ ปัจจุบน
ั โปรแกรม
ไมรโครซอฟตเวิ
์ รด
์ MS-word ไดเป็
้ นหนึ่งใน
ชุ ดโปรแกรมยอดนิยมในกลุมผู
่ ้ใช้คอมพิวเตอร ์
ส่ วนบุ ค คล คือ ชุ ด โปรแกรมไมโครซอฟต ์
ออฟฟิ ซ
ค.ศ.1985
โปรแกรมเพจเมคเกอร ์ (PageMaker)
• โปรแกรมเพจเมคเกอร ์ Aldus PageMaker ถูก
พัฒนาขึน
้ โดย Paul Brainerd ผู้กอตั
่ ง้ บริษัท
Aldus
โปรแกรมนี้ใช้ในเครือ
่ งคอมพิวเตอร ์
แมคอินทอช (Macintosh) Pagemaker ไดรั
้ บ
ความสนใจเนื่ องจากมีความสามารถจัดการกับ
รูปภาพและข้อความในงานสิ่ งพิมพ ์ นอกจากนี้
ยั ง มี รุ่ น ที่ ส าม าร ถ ท า ง าน ไ ด้ บน เ ครื่ อ ง ยี่ ห้ อ
ไอบีเอ็มและยีห
่ ้ออืน
่ ทีเ่ ขากั
้ นได้
ค.ศ.1985
ภาษาซี พลัส พลัส (C++ )
• ภาษา C++
(อานว
า่ ซี พลัส พลัส) เป็ น
่
ภ า ษ า ส า ห รั บ เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม
เชิงวัตถุ ได้รับการพัฒนาขึน
้ ที่ AT&T Bell
Laboratories
มีเ หมาะส าหรับ การเขีย น
โปรแกรมทัว
่ ไป ภาษา C++
แตกตางจาก
่
ภ า ษ า เ นื่ อ ง จ า ก
C++
มีความยืดหยุน
่ และมีส่ิ งอานวยความสะดวกใน
การเขียนโปรแกรมมากกวา่ เช่น มีฟังกชั
์ นที่
ส า ม า ร ถ เ รี ย ก ใ ช้ ง า น ไ ด้ เ ล ย โ ด ย ไ ด้ ค ง
ความสามารถเดิมทีภ
่ าษา C มีไว นอกจากนี้
ค.ศ.1987
โปรแกรมไฮเปอรการ
ด
์
์ (HyperCard)
• วิ ศ ว ก ร วิ ล เ วี ย ม แ อ ท คิ น สั น ( William
Atkinson) ไดออกแบบโปรแกรม
HyperCard
้
ซึง่ เป็ นเครือ
่ งมือช่วยสร้างโปรแกรมประยุกตเล็
์ ก
ๆ ใช้ในบริษท
ั หรือองคกร
์
• จุดเดนของ
HyperCard คือ ทาให้การเขียน
่
โปรแกรมง่ายขึน
้ โดยให้มีการติดต่อกับผู้เขียน
โปรแกรมแบบโต้ตอบ และสร้างโปรแกรมทีม
่ ี
ส่วนติดตอประสานกั
บผู้ใช้ (user interface)
่
ได้ นอกเหนื อ จากการประมวลผลข้ อมู ล เพีย ง
ค.ศ. 1989
เกมซิมซิต ี้ (Simcity)
• บริษท
ั Maxis ไดน
้ าเกม Simcity ออกสู่ตลาด ซึง่ เป็ น
วิดโี อเกมทีจ
่ าลองสถานการณจริ
์ ง (simulation) ผู้สร้าง
เกมนี้คอ
ื วิล ไรท ์ (Will Wright) เขาสร้างขึน
้ จากความ
ใฝ่ฝันในวัยเด็กซึ่งเข้าได้สนใจแบบจาลองพลาสติกของ
เรือและเครือ
่ งบิน เขากับเจฟฟ์ บรวน (Jeff Braun) จึง
ตัง้ บริษัท ผลิตโปรแกรมทีใ่ ห้ผู้ใช้สามารถสร้างเมืองใน
จินตนาการได้ในคอมพิวเตอร ์ ตัวอยางโปรแกรมในชุ
ด
่
Simcity เช่น SimEarth, SimAnt, Simlife นับวา่
ผู้สร้างโปรแกรมมีความคิดสร้างสรรค ์ ทีส
่ ามารถทาให้
ผู้ใช้โปรแกรมกอเกิ
นเกม
่ ดความคิดสร้างสรรคผ
่
่
์ านการเล
ได้
• ในเกม Simcity ตอนแรกผู้เลนได
้ ทีส
่ าหรับ
่
้ค้นพบพืน
สร้ างเมือง ผู้ เล่นเล่นเป็ นนายกเทศมนตรี ต้องวางผัง
เมืองเอง สร้างทีอ
่ ยูอาศั
ย ถนน ระบบน้ า ขึน
้ มาเอง
่
ค.ศ. 1989
เกมซิมซิต ี้ (Simcity) ตอ
่
ค.ศ.1989
การมองเห็ นเสมือนจริง วีอาร ์ (VRvirtual reality)
• แนวคิ ด เรื่ อ งการมองเห็ นเสมื อ นจริ ง (VR:
virtual reality) ได้รับความสนใจอยางมาก
่
บริษัท Silicon Graphics ได้วางจาหน่วย
เทคโนโลยีใหมคื
่ ่ วย
่ อโปรแกรมคอมพิวเตอรที
์ ช
ในการออกแบบ โดยโปรแกรมจะจ าลอง
สิ่ งแวดล้อม 3 มิต ิ ผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบ
กับโปรแกรมเหมือนจริงนั้นได้ ซึ่งคอมพิวเตอร ์
ตองมี
ความเร็วพอในการคานวณ
้
และแสดงผลขอมู
ๆ
้ ลจากตัวรับสั ญญาณตาง
่
ค.ศ.1990
ระบบปฏิบต
ั ก
ิ ารวินโดวส์ 3.0
(Windows 3.0 )
• ไมโครซอฟต เปิ
ั ิก ารวิน โดวส์
์ ดตัว ระบบปฏิบ ต
3.0 สาหรับเครือ
่ งคอมพิว เตอร ส
์ ่ วนบุคคล ซึ่ง
ท า ง า น เ ข้ า กั น ไ ด้ กั บ ร ะ บ บ ป ฏิ บ ั ต ิ ก า ร ด อ ส
(DOS) แตใช
าเนื
่ ้งานงายกว
่
่ ่องจากติดตอผู
่ ้ใช้
ผ่ า น ท า ง รู ป ภ า พ ห รื อ ห น้ า ต่ า ง ใ ช้ ง า น
(window) แทนการพิมพท
์ าสั่ งทีละบรรทัดใน
ด อ ส วิ น โ ด ว ส์ 3 . 0 นั้ น ไ ด้ มี โ ป ร แ ก ร ม
Microsoft Word และ Microsoft Excel ดวย
้
จึงไดรั
้ บความนิยมอยางมาก
่