หน่วยที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Download
Report
Transcript หน่วยที่ 2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
หน่ วยที่ 2 ซอฟต์ แวร์
Software
สานักวิชาการศึกษาทัว่ ไปและนวัตกรรมการเรี ยนรู ้อิเล็กทรอนิ กส์
1
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
Software
ซอฟต์ แวร์ คือ โปรแกรมหรื อชุดคำสัง่ ที่สงั่ ให้
คอมพิวเตอร์ ทำกำรประมวลผลและทำงำนตำมที่ผใู้ ช้
ต้องกำร
2
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ซอฟต์ แวร์ คอมพิวเตอร์
• ซอฟต์แวร์ ที่เป็ นคำสัง่ เดียว เช่น cls,dir,copy, move
• ซอฟต์แวร์หลายคาสัง่ ประกอบกัน เรียกว่ า ชุดคาสั่ ง ได้แก่
{
}
uses crt ;
int I ;
I = 10 ;
Clrscr();
Printf(“ I = ”, I)
3
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ซอฟต์ แวร์
4
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ซอฟต์แวร์ระบบ (System software)
• เกี่ยวข้องกับการควบคุมการทางานที่ใกล้ชิดกับอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์มากที่สุด
• แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
• ระบบปฏิบตั ิการ
• ตัวแปลภาษา
• ยูทิลิต้ ี
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language)
หมายถึง ภาษาที่ใช้เขียนคาสัง่ (Command) และกาหนดข้อมล
•
(Data) เพื่อให้ผเ้ ขียนโปรแกรมสร้างโปรแกรมที่ตรงตามความ
ต้องการ
•
เช่น C, Java, Visual Basic ฯ
69
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ระดับของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
1. ภาษาระดับตา่ (Low level language) เป็ นภาษาทีเ่ ครื่องสามารถเข้าใจและ
ทางานได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งแปล ประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (machine language) ใช้เลขฐานสองเป็ นสัญลักษณ์แทนคาสังให้
่
เครือ่ งทางาน
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) หรือภาษาสัญลักษณ์ (symbolic
language) พัฒนามาจากภาษาเครื่องโดยใช้ภาษาอังกฤษสัน้ ๆ แต่การทางาน
จะขึ้น ตรงกับ รุ่ น ของเครื่อ งคอมพิ ว เตอร์ และจะต้ อ งแปลค าสัง่ ให้ เ ป็ น
ภาษาเครือ่ งก่อนการทางาน
70
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ระดับของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
2. ภาษาระดับสง (High level language) เป็ นการใช้
ภาษาอังกฤษเป็ นสัญลักษณ์ในการสังให้
่ เครื่องทางาน โดย
มีลกั ษณะเป็ นชุดหลายๆ คาสังประกอบกั
่
นเรียกว่า ภาษา
โครงสร้ า ง นอกจากนี้ ภ าษาระดั บ สู ง แต่ ล ะภาษา มี
ความสามารถแตกต่างกัน และการทางานจะต้องแปลภาษา
ให้เป็ นภาษาเครื่องก่อนเสมอ ตัวอย่างภาษาระดับสูง ได้แก่
C , Fortran , Cobol , Basic , Java , Pascal
71
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ระดับของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาระดับสง แบ่งได้เป็ น
โปรแกรมภาษาต้นฉบับ (Sour code/program) เป็ นโปรแกรมทีเ่ ขียนขึน
้ ด้วย
ภาษาระดับสูง จะมีนามสกุลตามชนิดของภาษาทีใ่ ช้ เช่น .c , .pas, .java , .cob
โปรแกรมภาษาจุดหมาย (Object program/code) คือโปรแกรมต้นฉบับทีผ
่ ่าน
การแปลให้เป็ นภาษาเครื่องแล้ว ซึง่ จะได้ไฟล์ทม่ี นี ามสกุล obj และจะทางานโดย
อาศัยตัวแปลภาษาของแต่ละภาษา
โปรแกรมพร้อมรัน (Executable program) คือ โปรแกรมทีผ
่ ่านการแปลให้เป็ น
ภาษาเครื่องด้วยวิธกี ารใช้ตวั เชื่อมโยง (link) จะมีนามสกุล exe สามารถทางาน
ได้ โดยไม่ตอ้ งมีตวั แปลภาษาอีก ทางานได้เร็ว ขนาดเล็ก
72
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ระดับของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
3. ภาษาเชิงวัตถุ (Object Oriented Language) เป็ นภาษาทีม่ อง
ส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรมเป็ นชิน้ วัตถุ รองรับการทางานกับ
ข้อ มูล ประเภทภาพ เสีย ง วีดีท ศั น์ ได้ด้ว ย ตัว อย่า งภาษานี้ ได้แ ก่
Small talk , c++
4. ภาษาเชิงรปภาพ (Visual Language) เป็ นภาษาทีม่ ลี กั ษณะซับซ้อน
มีการใช้คอนโทรลต่างๆ เป็ นเครื่องมือในการออกแบบติดต่อกับผูใ้ ช้
ในโหมดกราฟิ ก ใช้รูปภาพที่ส่อื ความหมาย สอดคล้องกับงานที่ ทา
ตัวอย่างภาษานี้ได้แก่ Java , Delphi , Visual basic , C#
73
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่ อสารและการเรี ยนรู ้
ระดับของโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
5. ภาษาระดับสงมาก (Very high level Language / Forth general language :
4GL) เป็ นภาษาทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษเป็ นคาสัง่ มีรปู แบบและกฎเกณฑ์ น้อย เป็ น
ภาษาไม่มโี ครงสร้าง (non structural) ตัวอย่างภาษาได้แก่ SQL (Structural
Query Language) , QBE (Query By Example) , Oracle , Intellect , Easy
Thieve ,R&R (Report Writer)
6. ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) เป็ นภาษาทีใ่ ช้คาสังใกล้
่ เคียงกับภาษา
พู ด มั ก เป็ นภาษาอั ง กฤษ ไม่ ม ี โ ครงสร้ า ง นิ ย มใช้ ใ นงานวิ จ ั ย ด้ า น
ปญั ญาประดิษฐ์ สร้างระบบฐานความรู้ งานพยากรณ์ อากาศ งานแปลภาษา
วิเคราะห์จุดค้นหาน้ามัน ตัวอย่างภาษาได้แก่ LISP , Prolog
74
แบบประเมินความพึงพอใจทีม่ ีต่ออาจารย์ ในการสอนกลุ่มใหญ่ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป
สานักวิชาการศึกษาทัว่ ไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อเิ ล็กทรอนิกส์
• ให้นักศึกษาระบายทึบ ()ในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นที่สดุ
• หมายเหตุ : ระดับความพึงพอใจ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี้
5 = มากที่สดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้
1 = น้อยที่สดุ
ประเด็นคาถาม
1. มีเทคนิควิธีการสอนที่น่าสนใจ
2. มีการใช้ภาษาที่เหมาะสมสามารถสื่ อให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจได้ง่าย
3. มีการสอนที่ชดั เจน เข้าใจง่าย
4. มีบุคลิกภาพและการแสดงออกที่เหมาะสม
5. มีการใช้สื่อประกอบการสอนได้อย่างน่าสนใจ
75