เทคนิคการเขียนผลงานการวิจัย

Download Report

Transcript เทคนิคการเขียนผลงานการวิจัย

เทคนิ คการเขียนผลงาน
การวิจ ัย
รศ.ดร.ปรีชา อุปโยคิน
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ห ้อง ๓๐๖ อาคาร D1
เวลา ๙.๐๐-๑๕.๐๐ น.
1
การเขียนคืออะไร
ื่ สารชนิดหนึง่
การเขียน คือการสอ
ั ความพยายาม
ของมนุษย์ทต
ี่ ้องอาศย
และฝึ กฝน การเขียนเป็ นการแสดง
ึ ความ
ความรู ้ ความคิด ความรู ้สก
ต ้องการ เป็ นลายลักษณ์อก
ั ษรเพือ
่ ให ้
ผู ้รับสารสามารถอ่านได ้เข ้าใจ ได ้ทราบ
ึ ความ
ความรู ้ ความคิด ความรู ้สก
ต ้องการ แล ้วสามารถนามาบอกต่อกับ
บุคคลอืน
่ ให ้ได ้ความรู ้ทีผ
่ ู ้รับสารได ้รับ
2
่
การเขียน(ภาษา)ทีบ
่ กพร่อง เชน
ก.การใชค้ าผิด
้
ข.การใชภาษาไม่
เหมาะสม
้
ค.การใชภาษาไม่
กระจ่าง
้
ง.การใชภาษาไม่
สละสลวย
3
ตัวอย่างการใช้คาผิด
แมง กับ แมลง
ท ้อง
ท ้อง
แมง มีรา่ งกาย
2
แมลง มีรา่ งกาย
สว่ น คือ สว่ นหัวกับ
3
สว่ น คือ สว่ นหัว อก
แมง มี 8 ขา
แมลง มี 6 ขา
แมง ไม่มห
ี นวด
แมลง มีหนวด 1 คู่
แมง ไม่มป
ี ีก
แมลง อาจมีปีก 1-2 คู่ หรือไม่มป
ี ี กก็ได ้
4
ลา่ ลา ร่าลา
ลิดรอน ริดรอน
ลิฟต์ ลิฟท์
เลือกสรร เลือกสรรค์
เลือดกบปาก เลือดกลบปาก
5
-บ ้านของฉั นดันมาตัง้ อยูต
่ รงหัวโค ้งถนนพอดี
(จาเพาะ)
-เขาเป็ นคนตรงไปตรงมา ค่อนข ้างแอนตีส
้ งั คม
(ต่อต ้าน)
-คุณลุงเจ็บกระเสาะกระแสะมาปี กว่าแล ้ว เมือ
่ สองสาม
วันก่อน ท่านต ้องเข ้า
โรงพยาบาลอีก เราคาดหวังกันว่า เจ็บคราวนี้
ท่านคงอยูไ่ ด ้ไม่นาน
้
-เขาเดินผ่านเข ้าไปในซุมไม
้ทีเ่ ขียวชอุม
่ เป็ นพุม
่ งาม
ี สน
ิ้
บังแสงอาทิตย์เสย
-ฉั นพบตัวเองอยูใ่ นบ ้านคนเดียว
-แทนทีป
่ ระชาชนทีอ
่ า่ น จะได ้ประโยชน์กลับถูกยืน
่ ยา
6
พิษให ้โดยไม่รู ้ตัว
การใช้ภาษาแบบไม่ตรวจสอบ
พายุฝนถล่มทาให ้น้ าป่ าทะลักจนดิน
สไลด์เป็ นทางยาว
ร่วม 30 เมตร สง่ ผลให ้รถไฟขบวน
ี งใหม่-เชย
ี งรายวิง่ ผ่านไม่ได ้
เชย
(ไทยร ัฐ 28 สิงหาคม 2554)
7
ตัวอย่าง
่ มองเห็น
การเขียนทีดี
ภาพพจน์
8
“ความรักเป็ นอารมณ์ธรรมชาติอย่าง
หนึง่ ของมนุษย์ มีทงั ้ ประโยชน์และเป็ นโทษ
ในเวลาเดียวกัน ความรักทีอ
่ ยูบ
่ นพืน
้ ฐานของ
ความบริสท
ุ ธิ์ จริงใจและความมีเหตุผล ย่อม
นาพาผู ้เป็ นเจ ้าของความรักไปในทางทีถ
่ ก
ู ที่
ควร แต่ถ ้าความรักนัน
้ เป็ นเพียงอารมณ์อน
ั
เกิดจากความหลงใหลในรูปกายภายนอก
ื่ ชมตามกระแสและความหลงผิด
ความชน
ความรักก็จะก่อให ้เกิดโทษ จึงมีผู ้เปรียบ
เปรยว่า “ความรักทาให ้คนตาบอด” (จากบท
ละครเรือ
่ ง “มัทนพาธา” ของพระบาทสมเด็จ
9
้
การใชภาษาไม่
กระจ่าง
้
การใชภาษาไม่
สละสลวย
10
ิ ไปรับประทานอาหาร
1.เขาถูกเชญ
(ถูก)
(ผิด)
ิ ไปรับประทานอาหาร
เขาได ้รับเชญ
เขาได ้รับการลงโทษอย่างหนัก (ผิด)
เขาถูกลงโทษอย่างหนัก (ถูก)
2.
ี งใหม่
3. เขาจับรถไฟไปเชย
(ผิด)
ี งใหม่ (ถูก)
เขาโดยสารรถไฟไปเชย
ี งใหม่ทางรถไฟ (ถูก)
เขาไปเชย
11
เธอพบตัวเองอยูใ่ นห ้องคน
เดียว (ผิด)
ึ ตัวว่าอยูใ่ นห ้องคนเดียว (ถูก)
เธอรู ้สก
4.
5. สนามเต็มไปด ้วยหญ ้า
ในสนามมีหญ ้าเต็ม (ถูก)
สนามมีหญ ้าเต็ม (ถูก)
(ผิด)
12
เทคนิ คการเขียนผลงานการ
วิจยั
การเขียนรายงานการวิจัย มีความ
แตกต่างจากการเขียนบทความหรือ
รายงานอืน
่ ๆ เพราะรายงานการวิจัยต ้อง
เขียนรายงาน อธิบาย ขัน
้ ตอนต่าง ๆ ใน
ึ ษา ตลอดจนผลของ การศก
ึ ษา
การศก
ค ้นคว ้าทีไ่ ด ้ ซงึ่ ต ้องรายงานตามความ
เป็ นจริง แม ้จะมีการแสดงความคิดเห็นก็
ต ้องมี หลักฐานจากเอกสารชว่ ยยืนยัน
13
่
การเขียนผลงานการวิจ ัยทีมี
คุณค่าจะต้องทาให้ผูอ
้ า
่ นเข้าใจ
่ าคัญ ดังนี ้
ง่ าย โดยใช้เทคนิ คทีส
ง่าย
้
ั เจนไม่กากวม เข ้าใจ
1. ใชภาษาที
ช
่ ด
้
้
2. ใชภาษาเขี
ยนไม่ใชภาษาพู
ด
้
3. หลีกเลีย
่ งการใชภาษาต่
างประเทศ
ถ ้ามีคาไทยใช ้
แทนแล ้ว
4. หลีกเลีย
่ งการใชอั้ กษรย่อทีไ่ ม่เป็ นที่
ยอมรับ ยังไม่
รู ้จักกันอย่างแพร่หลาย
้
5. หลีกเลีย
่ งการใชสรรพนามบุ
รษ
ุ ต่าง
14
ึ ษามีความชด
ั เจน
เรือ
่ งทีศ
่ ก
(ตัง้ แต่ต ้น)
ึ ษามีความเป็ น
2. กรอบแนวคิดทีศ
่ ก
เหตุเป็ นผล
ึ ษาครอบคลุมปั ญหา
3. มีวธ
ิ ก
ี ารศก
การวิจัย
ั เจนที่
4. มีวต
ั ถุประสงค์การวิจัยทีช
่ ด
ึ ษา
จะตอบปั ญหา
เรือ
่ งทีศ
่ ก
5. มีความสามารถเก็บรวบรวมข ้อมูล
ได ้อย่างครบถ ้วน
1.
15
ไม่ทราบจะเริม
่ ต ้นอย่างไรเพราะมี
ข ้อมูลมากไป
หรือน ้อยไป (ถ ้ามีกรอบ ขัน
้ ตอนและมี
การวาง
แผนการลงมือเขียนจะ
บรรเทาความวุน
่ วายใจได ้)
2. เกิดความกังวลใจ ปริวต
ิ ก เกรงว่าจะ
เกินกาลัง
ความสามารถของตน
3. ขาดความตัง
้ ใจ ขาดความต่อเนือ
่ งทา
ให ้สมาธิแตก
รวมพลังใจไม่ได ้
ั สนไม่ชด
ั เจนว่าอะไรสาคัญมาก
4. สบ
1.
16
แนวทางทีจะเขียนผลงานวิจยั ให้
สาเร็จ
เตรียมตัวและเตรียมใจให ้พร ้อม
้ ้พร ้อม
2. เตรียมข ้อมูลทีจ
่ ะนามาใชให
3. จัดประเภทของข ้อมูลให ้เป็ นระเบียบ
พร ้อมใช ้
4. พยายามหาจุดเริม
่ ต ้นทีจ
่ ะชว่ ยให ้การ
เขียนเกิดความ
ต่อเนือ
่ ง สร ้างกาลังใจให ้ตนเอง
5. ถ ้าต ้องแบ่งงานเขียนกับเพือ
่ น
ั ยภาพ
ร่วมงานต ้องทราบศก
1.
17
ประกอบ อาหาร นักวิจัย
จะปรุงอาหารตามเมนู
้
7. ข ้อมูลทีจ
่ ะนามาใชอาจต
้องเตรียมล่วงหน ้า
่ ตัวเลข ตาราง
เชน
ผลการวิเคราะห์ผลทางสถิต ิ ผลจาก
การ ประชุม Focus group
discussion รายงานผลจากการ
สงั เกตการณ์ และอืน
่ ๆ
8. การเขียนรายงานการวิจัยต ้องนามาจากผล
ึ ษาไม่เขียนจาก
การศก
ความคิดเห็นสว่ นตัว
9. หากข ้อมูลมีมากต ้องจาแนกประเภทของ
18
้ นวัตถุดบ
กลัน
่ กรองข ้อมูลทีจ
่ ะใชเป็
ิ ในการ
ั เจนจัด
เขียนให ้ ชด
ให ้อยูเ่ ป็ นทีเ่ ป็ นทาง ง่าย
ต่อการนามาใช ้
11. ตรวจสอบตัวแปรต่างๆ ทุกประเด็นที่
นาเสนอไว ้ ในกรอบการ
วิจัยเพือ
่ นามา
วิเคราะห์อย่าให ้ขาด หายไปเป็ นอันขาด
12. จัดทาOutline ของรายงานเหมือนพิมพ์
เขียวเพือ
่ สร ้าง
ความมั่นใจว่าการเขียนรายงาน
เป็ นไปตามทิศทางและ
เป้ าหมายทีจ
่ ะสามารถเสนอผล
ึ ษาได ้
การศก
10.
19
มีองค ์ประกอบดังนี
ั ไม่เป็ นการ
หัวข ้อเรือ
่ งต ้องมีความกระชบ
เขียนเชงิ อธิบายความ
ื่ เรือ
2.ไม่ควรนาเอากรอบความคิดมาเป็ นชอ
่ ง
การวิจัย
ื่ เรือ
ั เจน
3. ข ้อความทีป
่ รากฏในชอ
่ งต ้องชด
ไม่คลุมเครือ ผู ้อ่าน
ื่ ความหมายได ้
สามารถเข ้าใจและสอ
4.หัวข ้อเรือ
่ งต ้องสอดคล ้องกับวัตถุประสงค์
หรือสาระสาคัญ
ของการวิจัย
้ ยนต ้องเป็ นภาษาทางวิชาการ
5.ภาษาทีใ
่ ชเขี
่ าษา
ไม่ใชภ
1.
20
- สถานภาพและบทบาทของผู ้สูงอายุใน
ประเทศไทย
- การประเมินผลการพัฒนาสมุนไพรและ
ผลิตภัณฑ์
ธรรมชาติเพือ
่ เป็ นยา
- พ่อค ้าและนักธุรกิจกับระบบรัฐสภา
ไทย
- สถานการณ์และเงือ
่ นไขการกระจาย
อานาจด ้านสุขภาพ ใน
ึ ษาจังหวัด
ท ้องถิน
่ : กรณีศก
ี งใหม่
เชย
21
การกาหนดหัวข้อยาวเกินไป ไม่สามารถ
หา Keywords ได้ช ัดเจน เช่น
“การปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางอาชีพ
แบบกลุ่มต่อการร ับรู ้ความสามารถของตน
ในการต ัดสินใจเลือกอาชีพ ของนักเรียน
้ั ธยมศึกษาปี ที่ 5 ทีมี
่ ผลสัมฤทธิ ์
ชนมั
่
ทางการเรียนตา”
22
“การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม
่ ตอ
ทีมี
่ การเห็นคุณค่า ในตนเอง
ของเยาวชนกระทาผิดกฎหมาย
ในสถานพินิจและคุม
้ ครองเด็กและ
เยาวชน จังหวัดขอนแก่น”
23
“การให้คาปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบ
กลุ่มต่อการเห็นคุณค่าในตนเอง
่ านสุขภาพในการ
และความเชือด้
่
ป้ องกันการสู บบุหรีของเด็
กวัยรุน
่
ตอนต้น”
24
่ กษามีความเป็ น
กรอบแนวคิดทีศึ
เหตุเป็ นผล
(การเขียนรายงานต้องเสนอ
ผลการวิจ ัยให้สอดคล้องก ับกรอบที่
กาหนดไว้)
25
การวิจัยปั ญหาใดๆ จะต ้องมี
ึ ษาใน
กรอบแนวความคิดในการทีจ
่ ะศก
เรือ
่ งนัน
้ ๆ ซงึ่ การทีจ
่ ะมีกรอบ
ึ ษา
แนวความคิดได ้เกิดจาก การศก
ทฤษฎีและผลงานวิจัยต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
เพือ
่ ดูวา่ ปรากฏการณ์นัน
้ เกิดขึน
้ อย่างไร
อะไรเป็ นสาเหตุให ้เกิดปรากฏการณ์ นัน
้
ื่ มโยงแนวความคิดและทฤษฎี
และเชอ
ต่างๆ เข ้าด ้วยกัน
(การเขียนตามกรอบจะเป็ นการวิเคราะห์
อภิปรายผลในบทที่ 5)
26
-แนวความคิด ทีม
่ าจากทฤษฎีทม
ี่ ี
เนือ
้ หาสาระตรงกับเรือ
่ งทีจ
่ ะทาวิจัย
มากทีส
่ ด
ุ
-แนวความคิด ทีอ
่ ธิบาย
ั พันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆที่
ความสม
สอดคล ้องกับประเด็นทีก
่ าลังจะ
ึ ษา
ศก
-แนวความคิด ทีม
่ าจากทฤษฎีท ี่
เข ้าใจง่ายทีส
่ ด
ุ ซงึ่ สามารถอธิบาย
ั พันธ์ระหว่างตัวแปรได ้ โดย
ความสม
ั ซอนมากเกิ
้
ไม่ยงุ่ ยากซบ
นไป
27
กรอบแนวความคิด ในการศึกษา
วิจย
ั เป็ นการนาแนวคิด และ ทฤษฎี
ตลอดจนงานวิจัยอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง กับสงิ่
ึ ษามาสนับสนุนงานวิจัย เพือ
ศก
่ ให ้เห็น
ว่าสงิ่ ทีจ
่ ะทาต่อไป มีทม
ี่ าอย่างไร มี
ึ ษาไว ้แล ้ว
ทฤษฎีอะไรบ ้าง ใครเคยศก
ึ ษา
ได ้ผลอย่างไร และ ผู ้วิจัย จะศก
ึ ษาไว ้อย่างไร
แตกต่างไปจากผู ้ทีเ่ คยศก
ผู ้วิจัยจะต ้องผสมผสาน แนวคิด ทฤษฎี
และ งานวิจัยอืน
่ ๆทีเ่ กีย
่ วข ้อง ทีร่ วบรวม
้
มาได ้ กับแนวคิดของ ผู ้วิจัยเองมาใชใน
ึ ษาวิจัยครัง้ นี้
การศก
28
29
30
วิธก
ี ารเขียนผลการศึกษา
ครอบคลุมปั ญหาการวิจ ัย
วิธก
ี ารคือแนวทางหรือเครือ
่ งมือ เพือ
่ การ
ได ้มาซงึ่ ข ้อมูลทีจ
่ ะนาไปวิเคราะห์
31
ข้อมู ล
แบ่งตามลักษณะการเก็บ
้ ยกว่าวิธก
บางครังเรี
ี ารเขียนผลงานการ
วิจยั
เชิงคุณภาพ (Qualitative)
เชิงปริมาณ (Quantitative)
32
การเก็บรวบรวมข ้อมูล
หมายถึง การวัด (Measurement)
้ การรวบรวมและ
เป็ นกระบวนการตังแต่
เรียบเรียงข ้อมูล การจัดลาดับข ้อมูล
อย่างเป็ นระบบ มีวธิ ก
ี ารและหลักเกณฑ ์
่ นอน และให ้ค่าของสิงที
่ ต
่ ้องการวัด
ทีแน่
หรือต ้องการศึกษา เป็ นกระบวนการ
้ การรวบรวมและเรียบเรียงข ้อมูล
ตังแต่
การจัดลาดับข ้อมูลอย่างเป็ นระบบ มี
33
ผู ว้ จ
ิ ัยจะต้องคานึ งว่า การเก็บ
้
รวบรวมข้อมู ลนันจะต้
องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค ์ของงานวิจ ัยเสมอ
้ าเป็ นจะต้องมี
ถ้างานวิจ ัยนันจ
่ าการทดสอบ
สมมติฐานเพือท
่ บรวบรวมมานันจะต้
้
ข้อมู ลทีเก็
องมี
เพียงพอและมีความถู กต้องครบถ้วน
่ บจะต้องครอบคลุมตัว
และข้อมู ลทีเก็
่ ว้ จ
แปรทุกตัวทีผู
ิ ัยทาการศึกษา
34
(Qualitative Data)
่ ้รวบรวมได ้จากการ
คือข ้อมูลทีได
สัมภาษณ์ การออกแบบสอบถามหรือ
การนับ การสังเกตเหตุการณ์ทเกิ
ี่ ดขึน้
้ั อหาและ
้
ตามธรรมชาติ ข ้อมูลจะมีทงเนื
่
ตัวแปรซึงอาจประกอบด
้วย มาตรวัดที่
เป็ นข ้อมูลวัดระดับแบ่งกลุม
่ (Nominal
Scale) หรือข ้อมูลการวัดระดับอันดับ
(Ordinal Scale)
35
ข้อมู ลเชิงปริมาณ
(Quantitative Data)
่
คือข ้อมูลทีรวบรวมได
้จากการวัด
การนับ เหตุการณ์ทต
ี่ ้องการศึกษาที่
้
เกิดขึนเองหรื
อจากผลการทดลองข ้อมูล
่ มาตรวัดเป็ น
ประกอบด ้วยตัวแปรทีมี
ข ้อมูลการวัดระดับช่วง (Interval
Scale) หรือข ้อมูลการวัดระดับ
อัตราส่วน (Ratio Scale)
36
่ ัดเจนทีจะตอบ
่
วัตถุประสงค ์การวิจ ัยทีช
่
่ กษา
ปั ญหาเรืองที
ศึ
37
การวิจ ัย
การเขียนวัตถุประสงค ์
วัตถุประสงค์การวิจัยมีความสาคัญและ
เป็ นสว่ นหนึง่ ทีก
่ าหนดให ้นักวิจัย ต ้อง
กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยทั่วไป
จะกาหนดวัตถุประสงค์ไว ้เป็ นข ้อๆ แต่การ
วิจัยบางเรือ
่ งอาจไม่ต ้องการแจกแจงลง
รายละเอียดเป็ นข ้อๆ ก็ได ้ อย่างไรก็ตามการ
กาหนดวัตถุประสงค์เป็ นการยืนยันของผู ้วิจัย
ทีจ
่ ะหาคาตอบมาอธิบายหรือเสนอ
ข ้อเท็จจริงทีค
่ ้นพบมาเสนอ
38
อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
วัตถุประสงค์
ึ ษาประวัต ิ ภูมห
1. เพือ
่ ศก
ิ ลัง แนวคิดและกระบวนการ
เรียนรู ้และกระบวนการ
รักษาสุขภาพของพระสงฆ์วัดโป่ งพระบาท
ึ ษาบทบาทของพระสงฆ์ ด ้านการรักษา
2.เพือ
่ ศก
สุขภาพและบทบาทในด ้านอืน
่ ๆ
ทีม
่ ต
ี อ
่ ชุมชน
ึ ษาความสม
ั พันธ์ระหว่างบริบททางสงั คม
3. เพือ
่ ศก
วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ
ของหมูบ
่ ้านกับการรักษาสุขภาพของพระสงฆ์ วัด
โป่ งพระบาท
ึ ษาความคิดเห็นของชาวบ ้านและหน่วยงานที่
4. เพือ
่ ศก
39
เกีย
่ วข ้องทีม
่ ต
ี อ
่ การรักษา
่ ้ผูท้ สู
่ ดจิตสานึ กและพิษภัยของบุหรี่
1. เพือให
ี่ บบุหรีเกิ
้
่
่
2. ยับยังการเพิ
มปริ
มาณของผู ้สูบบุหรีรายใหม่
่ ้อัตราการ การสูบบุหรีในจั
่ งหวัดเชียงราย
3. เพือให
ลดลง
่ นศูนย ์กลางใน
4สร ้างเครือข่ายปลอดบุหรี่ เพือเป็
การให ้ความรู ้สู่
ประชาชน
่
5. เพือเสริ
มสร ้างการมีสว่ นร่วมของกลุม
่ บุคคล ส่วน
ราชการ
หน่ วยงานสถานศึกษาให ้ออกข ้อบัญญัตใิ นการ
่
ห ้ามสูบบุหรีใน
่ าหนดขึน้
สถานทีก
่
40
ึ ษาพฤติกรรมผู น
1.เพือ
่ ศก
้ าของผู ้บริหาร
ึ ษา
โรงเรียนประถมศก
ึ ษา จังหวัด
สงั กัดสานักงานการประถมศก
สุราษฏร์ธานี
ึ ษาความพึงพอใจในการทางาน
2. เพือ
่ ศก
ของครูอาจารย์ สงั กัด
ึ ษา สงั กัดสานักงาน
สานักงานประถมศก
ึ ษา
การประถมศก
จังหวัดสุราษฏร์ธานี
ึ ษาความสัมพันธ ์ระหว่าง
3. เพือ
่ ศก
พฤติกรรมผู บ
้ ริหารโรงเรียน
ประถมศึกษากับความพึงพอใจในการ
41
่
การเก็บรวบรวมข้อมู ลเพือ
รายงานผลการวิจ ัย
42
่
การทาวิจยั ทัวไป
จะต ้องทางานอย่าง
้ั
มีขนตอน
และเป็ นระบบ วิธก
ี ารวิจยั
่ ก
(Research methods) ทีนั
่
สังคมศาสตร ์ใช ้ในการศึกษาเพือหา
ความรู ้สามารถจาแนกออกได ้เป็ น 7
้
ขันตอน
(วิธก
ี าร) ดังนี ้
43
1.1 กาหนดกลุม
่ ประชากร (Identifying the
population)
1.2 เลือกกลุม
่ ตัวอย่าง (Selecting a sample)
การสุม
่ แบบเป็ นระบบ (Systematic
sampling)
การสุม
่ แบบช่วงชน้ั (Stratified
่
sampling) และอืนๆ
2. การทดลอง (Experiments)
3. การสังเกต (Observation)
4. การวิเคราะห ์ข ้อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary
analysis)
้
5. การวิเคราะห ์เนื อหา
(Content analysis)
6. การวิเคราะห ์เปรียบเทียบ (Comparative
44
ทุกขัน
้ ตอนต ้องมีผลลัพธ์ คาอธิบาย
การตีความ แปลความหมายและ
วิเคราะห์ผล ตัง้ แต่เริม
่ ต ้น
45
้
ขันตอนการเขียนรายงาน
ผลการวิจ ัย
46
การเขียนบทนา
่
คือ ส่วนแนะนาและปูพนเรื
ื ้ อง
่ ้ผูอ้ า่ นทราบว่า
เพือให
่ ก
่ าลังทาเกียวข
่
่
1. เรืองที
้องกับเรืองใด
มี
ความสาคัญ
อย่างไร
2. ตอบคาถามตนเองว่าทาไมจึงสนใจ
่ ้
ทาเรืองนี
่ ้ทาการวิจยั แล ้วจะได ้ประโยชน์
3. เมือได
47
เทคนิ คการเขียนบทนา
่ น ภายใน 5 ประโยคแรกต ้อง
1. จุดเริมต้
ให ้ผูอ้ า่ นเห็นความสาคัญของปัญหา แล ้ว
้
ชีแจงให
้เห็นว่า ผลจากการวิจยั จะทาให ้
้ น
เกิดประโยชน์ตา่ งๆได ้ อย่างไร จุดนี เป็
การกระตุนให
้ ้ผูอ้ า่ นเห็นประเด็นสาคัญด ้วย
่ านแล ้วอยากอ่านต่อไป ต ้อง
ถ ้อยคาทีอ่
่ ้เกิด impact สูง
เขียนเพือให
48
ทีจ
่ ะต ้องทาวิจัยเพือ
่ หาคาตอบให ้ได ้
หากละเลยไม่วจิ ัยแล ้วจะสง่ ผล
ี หายอย่างใหญ่หลวง หรือนาผล
เสย
้ ้เป็ นประโยชน์ ด ้านการ
ไปใชให
่ ารกาหนด
แก ้ไขปั ญหา หรือนาไปสูก
นโยบาย
3. นั กวิจัย (อาจารย์) มักจะเขียนแบบ
่ าเลียบค่าย วกวน ไม่เข ้าถึง
ขีม้
ประเด็นปั ญหา บางคนร่ายยาวแล ้ว
ค่อยๆนาเข ้ามาหาประเด็นปั ญหา
49
แม ้ว่าผลจากการรณรงค์เพือ
่
ลดอัตราการสูบบุหรีข
่ องประชากร
ไทยได ้ลดลงอย่างต่อเนือ
่ งในชว่ ง 2
ทศวรรษทีผ
่ า่ นมา แต่กย
็ งั ไม่
่
สามารถทีจะท
าให้การลดอ ัตรา
่
การสู บบุหรีลดลงไปในทุ
กภู มภ
ิ าค
การพิจาณาความสาเร็จของการ
ดาเนินโครงการ หากพิจารณา จาก
อัตราการสูบบุหรีท
่ ล
ี่ ดลงเท่านั น
้ ยัง
ไม่พอเพียงต่อการดาเนินงานรณรงค์
1.
50
ี งรายเป็ นจังหวัดทีม
เชย
่ ส
ี ถิตก
ิ ารฆ่าตัว
ตายสาเร็จติดอันดับ 3 ของประเทศ และ
ภาคเหนือยังคงครองแชมป์ ฆ่าตัวตายมาก
ทีส
่ ด
ุ ในประเทศ โดยยังไม่ทราบว่ามีปัจจัย
ั เจน
สาเหตุหลักเกิดจากปั ญหาอะไรทีช
่ ด
่ โรคติดต่อ เครียด น ้อยใจคนรอบข ้าง
เชน
ปั ญหาครอบครัว ปั ญหาเศรษฐกิจ รวมถึง
ปั ญหาการเมือง นอกจานีอ
้ บ
ุ ต
ั ก
ิ ารณ์การฆ่า
ี งรายสูงยังเป็ น
ตัวตายของวัยรุน
่ จังหวัดเชย
อันดับหนึง่ ของประเทศ ทัง้ ๆทีม
่ ี
สงิ่ แวดล ้อมทีน
่ ่าอยู่ อากาศดี และมี
2.
51
. ผู ้หญิงตัง้ ครรภ์และหลังคลอดทีเ่ ป็ น
ึ เศร ้า มักไม่ได ้รับการดูแลรักษา
โรคซม
อย่างทันท่วงที เนือ
่ งจากคนสว่ นใหญ่
คิดว่าเป็ นเพียงอาการทีเ่ กิดจากความไม่
สมดุลของฮอร์โมน ในร่างกาย จึงพลาด
โอกาสได ้รับการตรวจวินจ
ิ ฉั ยและรักษา
ึ เศร ้าใน
จากแพทย์ ในทางจิตเวชโรคซม
หญิงตัง้ ครรภ์ เป็ นความผิดปกติทาง
อารมณ์ เกีย
่ วข ้องกับการเปลีย
่ นแปลง
ื่ ประสาทในสมอง มักพบในผู ้
ของสารสอ
ทีต
่ งั ้ ครรภ์แรก หญิงตัง้ ครรภ์ทอ
ี่ ยูใ่ น
วัยรุน
่ หรือการตัง้ ครรภ์ทไี่ ม่พงึ ประสงค์
3
52
ความสาคัญของการเขียนบทที่
2
“ทบทวนวรรณกรรมและ
่ ยวข้
่
งานวิจ ัยทีเกี
อง”
53
กาหนดกรอบแนวความคิดให ้แก ้
ิ ใจทาวิจัย
ผู ้วิจัยทัง้ ก่อนการตัดสน
ระหว่างดาเนินการวิจัย และภายหลัง
ิ้ แล ้ว การ
การเก็บข ้อมูลเสร็จสน
ทบทวนงานวิจัยทีเ่ กีย
่ วข ้อง จะชว่ ย
ทาให ้ผู ้วิจัยทราบถึงความกว ้างและ
ความลึกของข ้อมูลและเนือ
้ หาที่
ผู ้วิจัยจะต ้องสารวจรวบรวมอย่างเป็ น
ระบบ มีการจัดระเบียบข ้อมูลทีไ่ ด ้
้ ้เป็ น
เพือ
่ สามารถนาไปใชให
54
“การทบทวนวรรณกรรม” จะปรากฏในบทที
2 ของการวิจยั การนาเสนอผลการทบทวน
วรรณกรรมเป็ นการแสดงให ้เห็นว่า ผูว้ จิ ยั ได ้ใช ้
ความสามารถในการสืบค ้น ทบทวนและสารวจ
่ าเสนอว่าในประเด็นหรือหัวข ้อที่
ข ้อมูลเพือน
่
ผูว้ จิ ยั ได ้ตัดสินใจเลือกทาวิจยั นั้นมีเรืองอะไรบ
้างที่
่ ้นๆ และทา
ได ้ทามาแล ้ว ใครเป็ นผู ้ทา วิจยั เรืองนั
่
่ ยวข
่
เมือใด
ผลการศึกษาได ้ข ้อสรุปทีเกี
้องกับการ
่ ้จาก
วิจยั ของตนอย่างไร ผู ้วิจยั สามารถนาผลทีได
การทบทวนไปใช ้ในการสร ้างเสริมกรอบ
แนวความคิดของตนได ้อย่างไร โดยเฉพาะอย่าง
่ ามาเป็ นกรอบความคิด
ยิง่ “องค ์ความรู ้” ทีจะน
่ ้วิจยั สามารถสืบค ้น “ข ้อมูล” จาก
ทางทฤษฎี ทีผู
55
ี้ งึ ประเด็นหลักสาคัญ
ผู ้วิจัยต ้องสามารถชถ
ทั่วๆไปของงานวิจัยหรือวรรณกรรม ทีม
่ เี นือ
้ หา
เกีย
่ วข ้องกับหัวข ้อทีผ
่ ู ้วิจัยได ้ตัง้ เอาไว ้ว่ามี
แนวโน ้มทีจ
่ ะทาต่อไปได ้อย่างไร มีความขัดแย ้ง
ทางด ้านทฤษฎีหรือไม่ ระเบียบวิธวี จิ ัยและ
ข ้อเท็จจริง ตลอดจนผลสรุปสามารถนามาปรับปรุง
การวิจัยทีจ
่ ะทาได ้อย่างไร ผู ้วิจัยอาจพบแนวทาง
ใหม่ทเี่ อือ
้ ประโยชน์ตอ
่ การวิจัยของตนเองให ้มี
คุณค่าและสมบูรณ์ขน
ึ้ กว่าเดิม เพราะลาพังการ
ค ้นคว ้าและทบทวนวรรณกรรมทีม
่ ข
ี ้อจากัดย่อม
เป็ นอุปสรรคต่อกระบวนการทางความคิด ทีจ
่ ะ
ขยายผลให ้ครอบคลุมประเด็นหรือหัวข ้อทีก
่ าหนด
ั เจนมากยิง่ ขึน
ไว ้ให ้ชด
้ ไม่ได ้ นอกจากนีย
้ ังชว่ ยให ้
56
ผู ้วิจัยมีเหตุผลเพียงพอ ทีจ
่ ะชใี้ ห ้เห็นประเด็น
• ความหมายของการทบทวน
วรรณกรรม
• วัตถุประสงค์ในการทบทวน
วรรณกรรม
• การทบทวนวรรณกรรมกับประเด็น
ปั ญหาในการวิจัย
• ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม
• แหล่งของวรรณกรรมทีค
่ วรจะ
ทบทวน
้
• ระยะเวลาทีใ่ ชในการทบทวน
57
การเขียนงานบททบทวน
่
วรรณกรรมทีดี
ึ ษา
• เกริน
่ นา - ประเด็นในการศก
แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย
่ วข ้อง ความ
ึ ษา
สอดคล ้องกับวัตถุประสงค์ในการศก
• แบ่งประเด็น - แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย
ทีเ่ กีย
่ วข ้อง กรอบแนวคิด (ถ ้ามี)
• อธิบายในรายละเอียด - สว่ นที่
ึ ษาอืน
เกีย
่ วข ้อง สว่ นทีข
่ ด
ั แย ้ง งานศก
่
ๆ
ิ ใจ ความเห็น
• สรุปความ - การตัดสน
58
สานวนการเขียนภาษาวิชาการ
59
โครงสร ้างของดาวพลูโต (ก่อน)
้ านศูนย์กลางของดาวพลูโต
จากการคานวณเสนผ่
ความยาวประมาณ 2,284 กิโลเมตร และมีมวลเท่ากับ
้
ของมวลของโลก ใชเวลาในการหมุ
นรอบ ดวงอาทิตย์
ประมาณ 248 ปี และหมุนรอบตัวเองประมาณ 6 วัน 9
ื่ ชารอน
ของโลก มีดวงจันทร์เป็ นบริวาร 1 ดวงชอ
(Charon) อยูใ่ กล ้ดาวพลูโตประมาณ 19,640 กิโลเมตร
ื่ จิม คริสตี
ค ้นพบโดย นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกน
ั ชอ
Crysty) เมือ
่ ปี ค.ศ. 1978 ดวงจันทร์ชารอน มีขนาดเสน้
ผ่านศูนย์กลาง 1,192 กิโลเมตร ซงึ่ เกินกว่าครึง่ ของเสน้
ื่ ว่า
ศูนย์กลางของดาวพลูโตเพียงเล็กน ้อย จึงอาจได ้ชอ
่ เดียวกับทีโ่ ลกคูก
เคราะห์คู่ เชน
่ บ
ั ดวงจันทร์ (ดาวพลูโ60ต :
แก ้ไขแล ้ว )
ดาวพลูโตมีเส้นผ่านศู นย ์กลางประมาณ 2,284
กิโลเมตร มีมวลเท่ากับ 0.17 ของมวลโลก ดาวพลูโตใช้เวลา
่ อ
่
ประมาณ 248 ปี จึงจะหมุนรอบดวงอาทิตย ์ ซึงเมื
เปรียบเทียบกับโลกแล้ว โลกใช้เวลาเพียง 1 ปี ในการ
หมุนรอบดวงอาทิตย ์
ดาวพลูโตหมุนรอบตัวเองใช้เวลาประมาณ 6 ว ัน 9
่ั
ชวโมง
ส่วนโลกของเรา ใช้เวลาหมุนรอบตัวเองเพียง 1 วัน
ดาวพลูโตก ับโลกมีดวงจันทร ์เป็ นบริวารเท่าก ันคือ 1
่ ชารอน (Charon)ดาวชา
ดวง ดวงจันทร ์ของดาวพลูโต ชือ
่
รอนอยู ่ห่างจากดาวพลูโตประมาณ 19,640 กิโลเมตร เมือ
่
เปรียบเทียบก ับระยะห่างระหว่างดวงจันทร ์ก ับโลกทีมี
ค่าประมาณ 384,403 กิโลเมตร นับได้วา
่
ดาวชารอนอยู ่ใกล้ก ับดาวพลูโตมาก
ดาวชารอนมีขนาดเส้นผ่านศู นย ์กลางประมาณ
่
1,192 กิโลเมตร เกินกว่าครึงของเส้
นผ่านศู นย ์กลาง ของ
61
้
่
1. การใชตั้ วสะกดการันต์ถก
ู ต ้อง (ตรงตาม
พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน)
2. การใชลั้ กษณนาม (เพือ
่ คงเอกลักษณ์
ภาษาไทย)
ื่ ม “ซงึ่ ” และ “โดย” ที่
3. การหลีกเลีย
่ งคาเชอ
จาเป็ น
4. การใชค้ ากริยาแทนคานาม
5. การหลีกเลีย
่ งการใชค้ าฟุ่ มเฟื อยหรือคา
้
ซ้าซอนที
ไ่ ม่จาเป็ น
6. การใชส้ านวนไทยแทนสานวนฝรั่ง
้ อ
7. การใชเครื
่ งหมายวรรคตอน
8. การหลีกเลีย
่ งสานวนภาษาพูดในงาน 62
่ ยนภาษไทย
ตัวอย่างทีเขี
(อาจารย ์ ดร.ชนิ นทร ์ วิศ
วินธานนท ์)
63
้ ้อน
การใช้คาฟุ่ มเฟื อยหรือคาซาซ
่ จาเป็ น
ทีไม่
่ านมา....” (ควรใช ้ว่า “ในอดีต...” หรือ
“ในอดีตทีผ่
่ านมา...”)
“ทีผ่
“แต่อย่างไรก็ตาม...” (ควรใช ้ว่า “แต่...” หรือ
“อย่างไรก็ตาม...”)
“อาทิเช่น...” (ควรใช ้ว่า “อาทิ...” หรือ “เช่น...”)
“สาเหตุของการสูญเสียกาลังไฟฟ้ า เกิดมาจาก
หลายสาเหตุ”
“การเกิดพลังงานนิ วเคลียร ์นั้น เกิดจาก
กระบวนการ...
64
ใช้
ไม่ควรใช้
วัดค่ากระแสไฟฟ้ า
ทาการวัดค่า
กระแสไฟฟ้ า
ศึกษาการทางาน
ของมอเตอร ์
...เป็ นอุปกรณ์ที่
ทันสมัย
ทาการศึกษาการ
ทางานของมอเตอร ์
...เป็ นอุปกรณ์ทมี
ี่
ความทันสมัย
65
่
การใช้เครืองหมายวรรคตอน
้
เว ้นวรรคช่วงสันระหว่
างวลี และเว ้น
วรรคช่วงยาวระหว่างประโยค หรือ ใช ้
่
เครืองหมายวรรคตอนต่
างๆ เช่น
จุลภาค มหัพภาค เป็ นต ้น
่ ดคาทีปลายบรรทั
่
้
เมือตั
ดควรใส่ขด
ี สัน
(“-”)
เช่น “มีเภสัชกรหญิงคนหนึ่ งได ้
ขายตัว-|| ยาให ้แก่ลก
ู ค ้า”
66
ตัวอย่างความกากวมจากการไม่
เว้นวรรค
ลูกประคาดีควายรากขีเ้ หล็ก
2. ยานีก
้ น
ิ แล ้วแข็งแรงไม่ม ี
โรคภัยเบียดเบียน
3. เมือ
่ นักเรียนเดินผ่านครูต ้อง
ทาความเคารพ
4. ห ้ามข ้าราชการหญิงนุ่ง
กางเกงในระหว่างเวลา
ราชการ
1.
67
ิ ธิภาพของวงจรที่ 1 แย่กว่าของวงจรที่
1. ประสท
(ควรแก ้เป็ น “ด ้อย”)
2. หลอดไฟฟ้ าชนิดนีใ้ ห ้กาลังแค่ 20 วัตต์ (ควร
เป็ น “เพียง”)
ั ท์เซลลูลาร์รน
3. โทรศพ
ุ่ นีพ
้ บว่าสง่ กาลังสูงตัง้ 2
(ควรแก ้เป็ น “ถึง”)
4. หลังจากตรวจสอบแล ้ว ไม่เจอความผิดพลาด
แก ้เป็ น “พบ”)
้
5. แบตเตอรีช
่ นิดนีส
้ ามารถใชงานต่
อเนือ
่ งได ้นาน
อาทิตย์ (ควรแก ้เป็ น
ั ดาห์”)
“สป
68
69
70
71
72
การใช้ภาษาไทยทาง
วิชาการ
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุ ษยศาสตร ์และ
สังคมศาสตร ์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น Webboard TNN Lin
ks
http://home.kku.ac.th/thai416102/SubjectWe
eb/thaiUsage.htm
73
การใช ้ภาษาในงานทางวิชาการควร
ใช ้ภาษาเขียนหรือภาษาทางการที่
ถูกต ้องตามหลักไวยากรณ์ กระช ับ สือ่
ความหมายชัดเจน ตรงไปตรงมา มีการ
เรียบเรียงความคิดอย่างเป็ นระบบ
่ ้ผูอ้ า่ นในสาขาวิชานั้น ๆ
ระเบียบ เพือให
่
และผูอ้ า่ นทัวไปสามารถเข
้าใจได ้ง่าย
74
หากจาเป็ นต ้องใช ้ศัพท ์เฉพาะ
สาขาหรือศัพท ์เทคนิ คต ้องใช ้ให ้
้ ณ นคร (2529)
เหมาะสม ดังที่ เปลือง
กล่าวว่าภาษาวิชาการจะมีศพ
ั ท ์เทคนิ ค
่ นภาษาเฉพาะสาหร ับวิชาการนั้น ๆ
ทีเป็
่ งจะถือ
ต ้องเลือกใช ้ให ้เหมาะสมกับเรืองจึ
ว่าใช ้ภาษาเขียนได ้ถูกระดับภาษา ภาษา
เทคนิ คไม่อาจเข ้าใจกันทัว่ ๆ ไปได ้
่ จะให
่
ดังนั้นใน การเขียนเรืองที
้บุคคล
่
่ ด
ทัวไปอ่
านก็ควรใช ้คาเทคนิ คให ้น้อยทีสุ
ถ ้าจาเป็ นต ้องใช ้ก็ควรอธิบายคานั้น
75
้
ภาษาเขียนนั้นต ้องการเฉพาะเนื อหา
ไม่สนใจบุคลิกลักษณะของผูพ
้ ูด ภาษาเขียน
่
ตัดเรืองอารมณ์
ความรู ้สึกออกไปจึงมีความ
เป็ นกลางมากกว่าภาษาพูด ภาษาพูดเป็ น
่
่ ด แต่ภาษาเขียน
การสือสารเฉพาะขณะที
พู
่ ใช
่ ้เฉพาะขณะทีเขี
่ ยนหรือใช ้สือสาร
่
เป็ นสือที
ในระยะยาวก็ได ้
76
ภาษาเขียนนั้นมักจะเผยแพร่ไปใน
่ ้างกว่าภาษาพูด คือแพร่
ขอบเขตทีกว
่
ไปสูค
่ นหลายกลุม
่ การเขียนให ้คนทัวไป
่
่
อ่านต ้องอธิบายคาศัพท ์ทีคนทั
วไปทุ
ก
กลุม
่ เข ้าใจได ้ ภาษาเขียนจึงไม่นิยมคา
ย่อ คาตัด ถ ้าจะใช ้ศัพท ์เฉพาะก็ต ้อง
อธิบายให ้ผูท้ ไม่
ี่ รู ้ความหมายเข ้าใจ
(ปรีชา ช ้างขวัญยืน , 2540)
77
่ ้ในการเขียนงานวิชาการต ้อง
ภาษาทีใช
มีความช ัดเจน เป็ นกลาง ไม่ใช ้ความรู ้สึก
่
เป็ นเกณฑ ์ในการตัดสิน ดังทีประสิ
ทธิ ์
่ ้
กาพย ์กลอน (2532) เรียกการใช ้ภาษาทีใช
ในการเขียนรายงาน บรรยายลักษณะของ
่
สิงของ
บุคคล เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์
่ ัดเจน จาเพาะเจาะจง และแม่นตรงทีสุ
่ ด
ซึงช
78
“ภาษาบอกข้อเท็จจริง” และได ้
สรุปลักษณะของภาษาบอกข ้อเท็จจริง
่ นมี
ว่ามีลก
ั ษณะการใช ้ถ ้อยคาทีเป็
ความหมายเป็ นกลาง (Neutral
่ กระตุ ้น
words) เป็ นถ ้อยคาทีไม่
ความรู ้สึกของผูอ้ า่ น หรือแสดง
่
ความรู ้สึกและความเชือใด
ๆของผูเ้ ขียน
้ งสามารถพิสูจน์หรือ
ออกมา ทังยั
ทดสอบได้วา
่ เป็ นจริงเสมอ
79
การเขียนรายงานต้องใช้
่ นกลางทีสุ
่ ด ไม่เป็ นไปใน
ภาษาทีเป็
ทานองช ักจูงโดยใช ้อารมณ์หรือ
ความรู ้สึกของเราเขียนลงไป เพียงแต่
บรรยายไปตามเหตุการณ์ทเกิ
ี่ ดขึน้
เท่านั้น ว่าอะไรเป็ นอะไร ภาษารายงาน
จึงต ้องมีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี ้ (มัณฑนา
่ ๆ , 2529 )
เกียรติพงษ ์ และคนอืน
80
่ ความได ้
่ ้รายงานไม่นิยมใช ้ภาษาทีตี
ภาษาทีใช
หลายทาง เช่น
“ในเดือนพฤษภาคมอากาศในประเทศไทย
สบายกว่าประเทศลาว”
ไม่ใช่ภาษารายงานเพราะไม่ใช่
ข ้อเท็จจริง หรือ
่ าเย็
้ นทีสุ่ ดมันก็จะกลายเป็ นนาแข็
้
“เมือน
ง”
ควรใช ้ว่า
“ในเดือนพฤษภาคมอุณหภู มใิ นประเทศ
่
่ ามี
้
ไทยตากว่
าประเทศลาว” และ “เมือน
่
้
อุณหภู มต
ิ าลงจนถึ
งจุดเยือกแข็ง นาจะ
81
ภาษาต ้องปราศจากข ้อ
ั นิษฐานหรือการคาดคะเน ผู ้เขียน
สน
ต ้องบันทึกเหตุการณ์ตามทีป
่ รากฏ
ั นิษฐานหรือ
แก่ตา หากต ้องการสน
คาดคะเน ต ้องมีข ้อมูล หรือ
้
ข ้อเท็จจริงต่าง ๆ มาใชในการ
ั นิษฐาน
สน
82
ิ ชข
ี้ าด
ภาษาต ้องปราศจากข ้อตัดสน
้
หรือสรุปวิจารณ์ ต ้องไม่ใชภาษาที
่
แสดงว่าเป็ นการยกย่อง ติเตียน พอใจ
ไม่พอใจ ภาษาของการเขียนรายงาน
ต ้องบรรยายไปตามเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน
้
ิ หรือสรุปวิจารณ์
จริงเท่านัน
้ การตัดสน
เป็ นหน ้าทีท
่ ผ
ี่ ู ้อ่านจะกระทาเอง การ
ิ อาจ
เขียนแบบทีผ
่ ู ้เขียนด่วนสรุปตัดสน
ทาให ้ความคิดของผู ้อ่านหยุดชะงัก
83
ละเว ้นการใชค้ าทีจ
่ ะทาให ้ผู ้อ่าน
เกิดอคติ อย่าเลือกใชค้ าทีอ
่ าจทาให ้
่ คาว่า “ค่อย ๆ
ผู ้อ่านเกิดอคติ เชน
ย่อง” กับ “เดินไปอย่างเงียบๆ” ผู ้อ่าน
ึ
อาจสร ้างภาพและเกิดความรู ้สก
ต่างกัน
84
การใชค้ าในภาษาเขียนนัน
้ ผู ้ใชต้ ้อง
ื่
ระมัดระวังอย่างมากจึงจะสามารถสอ
ความหมายได ้อย่างถูกต ้อง เหมาะสมและ
ตรงกับความต ้องการ โดยเฉพาะการใชค้ าที่
มีความหมายใกล ้เคียงกัน คาในภาษาไทย
เป็ นจานวนมากมีความหมายคล ้ายคลึงกัน
้
แต่ไม่สามารถนามาใชแทนกั
นได ้เสมอไป
ผู ้ใชต้ ้องมีความรู ้ ความเข ้าใจความหมาย
ของคานัน
้ ๆ เป็ น อย่างดีจงึ จะสามารถ
้ ้ตรงความหมาย
นามาใชได
85
ต ัวอย่างคาทีม
่ ค
ี วามหมาย
ใกล้เคียงก ัน
การแสดงเครือ
่ งเพชรมูลค่ามหาศาลใน
คืนนีม
้ ต
ี ารวจอารักขาอย่างแน่ นหนา
พืน
้ ทีบ
่ ริเวณทีร่ าบลุม
่ แม่น้ าสายต่าง ๆ
มักมีผู ้คนตัง้ ถิน
่ ฐานอยูอ
่ ย่างหนาแน่ น
86
ตามชนิดของคา
เขาเป็ นผู ้นาทีไ่ ม่เคยมีผลงานด ้านความ
ื่ สต
ั ย์มแ
ซอ
ี ต่คอยหลีกเลีย
่ งภาษี เอา
เปรียบประเทศชาติ ในทีส
่ ด
ุ ประชาชนก็
่
ต้องโดดเดียวเขา
ต ้องเขียนเป็ น
เขาเป็ นผู ้นาทีไ่ ม่เคยมีผลงานด ้านความ
ื่ สต
ั ย์มแ
ซอ
ี ต่คอยหลีกเลีย
่ งภาษี เอา
87
พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
ั ไม่ได ้ว่าทาไม
2. เราอดแปลกใจและสงสย
ึ ษาถึงมีเสรีภาพมาก
นักศก
3. แม ้จะได ้รับประทานอาหารกันเพียงนิด
ึ หิวเลย
หน่อย แต่เราก็ไม่รู ้สก
เขียน
เขียนใหม่เป็ นภาษา
ปั จจุบน
ั นีบ
้ ้านเมืองเจริญขึน
้ สงิ่ ต่าง ๆ ก็พัฒนา
ไปอย่างรวดเร็ว
ั ไม่ได ้ว่าเหตุใด
2. เราอดแปลกใจและสงสย
ึ ษาจึงมีเสรีภาพมาก
นักศก
3. แม ้จะได ้รับประทานอาหารกันเพียง
1.
88
่ นภาษาพู ด เชน
่
คาทีเป็
ภาษาพู ด
ภาษา
เขียน
เข ้าท่า
เต็มกลืน
ไม่ได ้
ยังไง
บาทเดียวเอง
เพียงบาทเดียว
เหมาะสม
แทบจะทา
อย่างไร
89
เรือ
่ งการใชค้ าสุภาพเพือ
่ ให ้ผู ้อ่านเกิด
ึ ทีด
ความรู ้สก
่ ท
ี งั ้ ยังแสดงให ้เห็นว่าผู ้เขียน
้
เป็ นผู ้ทีม
่ ม
ี ารยาทในการใชภาษาด
้วย ดัง
ตัวอย่างประโยค
ี ทีพ
“อาชพ
่ บเห็นโดยทัว่ ไป
สาหรับคนตาบอดคือขายล็อตเตอ
รี”
อาจเลือกใชค้ าสุภาพและเป็ น
ทางการ ดังนี้
ี ทีพ
“อาชพ
่ บเห็นโดยทั่วไป
สาหรับผูพ
้ ก
ิ ารทางสายตาคือการ
90
ไปรษณี ย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ แทนคา
E-mail
อินเทอร ์เน็ ต
แทนคา
Internet
้ ับระบบ
การรือปร
แทนคา
Reengineering
91
่
ชือเฉพาะขององค
์การ หน่ วยงาน หรือ
สถาบันต่างๆ หากต ้องการใช ้ควรเขียนคา
เต็มและวงเล็บคาย่อไว ้ เช่น
กลุม
่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมภ
ิ าคเอเชีย-แปซิฟิก (
Asia-Pacific Economic Cooperation หรือ APEC)
องค ์การสนธิสญ
ั ญาแอตแลนติกเหนื อ North Atlantic
Treaty Organization (NATO)
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและ
แปซิฟิก ( Economic and Social Commission for
92
Asia and the Pacific หรือ ESCAP) เป็ นต ้น
รู ปประโยคและสานวน
ภาษาอ ังกฤษ
93
ประโยคเดิม
1. การประชุม World Economic Forum
่ งคโปร ์ ทังนายกร
้
1999 ทีสิ
ัฐมนตรีของไทย
และมาเลเซียถู กเชิญให ้เข ้าร่วมประชุมด ้วย
่ ไม่
้ มค
2. สาหร ับฉัน เรืองนี
ี วามสาคัญอะไร
เลย
มันเป็ นอะไรทีีี่ฉันไม่เคยคิดมาก่อน
่ ดปัญหาทังหมดก็
้
3.ในทีสุ
ได้ร ับการแก้ไข
่
โดยผูเ้ ชียวชาญสาขาต่
าง ๆ
่
4. นักวิจยั รุน
่ ใหม่ควรเรียนรู ้ทีจะเป็
นนักวิจยั ที่
ยืนอยู ่บนขาของตนเองได ้
94
ประโยคเรียบเรียงใหม่เป็ น
1. นายกร ัฐมนตรีของไทยและมาเลเซียได ้รบั
เชิญให ้เข ้าร่วม
ประชุม World Economic Forum
่ งคโปร ์
1999 ทีสิ
่ ไม่
้ มค
2. เรืองนี
ี วามสาคัญสาหร ับฉันเลย ฉัน
่
ไม่เคยคิดถึงเรือง
่ นี มาก่
้
(สิง)
อน
่ ดผูเ้ ชียวชาญสาขาต่
่
3. ในทีสุ
าง ๆ ก็แก ้ไข
้
ปัญหาทังหมดได
้
่
4. นักวิจยั รุน
่ ใหม่ควรเรียนรู ้ทีจะเป็
นนักวิจยั
95
การแปลผลการวิจยั
96
โดยปกติงานวิจัยจะนาเสนอผล
การวิเคราะห์ข ้อมูลไว ้ในบทที่ 4 ซงึ่
อาจนาเสนอเป็ นตาราง แผนภาพ
แผนภูม ิ หรือกราฟ และผู ้วิจัยจะมี
การแปลผลจากการวิเคราะห์ข ้อมูล
ใต ้ตาราง แผนภาพ แผนภูม ิ หรือ
กราฟ โดยแปลเฉพาะข ้อมูลที่
นาเสนอ ไม่ควรแสดงความ
่
คิดเห็นเพิมเติม
97
การแปลผลข ้อมูลทั่วไปหรือสถิต ิ
พืน
้ ฐาน ให ้แปลเรียงจากมากไปหา
น ้อย แต่ถ ้ามีข ้อมูลเพียง 2-3 รายการให ้
แปลทัง้ หมด แต่ถ ้ามีมากกว่า 3
รายการ ให ้แปลรายการทีม
่ าก
ทีส
่ ด
ุ รองลงมา และน ้อยทีส
่ ด
ุ
98
่ เฉพาะร ้อย
จาเป็ น เชน
ละ ตัวอย่าง "จากตาราง พบว่ากลุม
่
ึ ษาระดับปริญญาตรีสงู
ตัวอย่างมีการศก
ทีส
่ ด
ุ ร ้อยละ47.80 รองลงมาระดับ
อนุปริญญา
ร ้อยละ 34.56 และน ้อย
ทีส
่ ด
ุ คือ ระดับปริญญาเอก ร ้อยละ 5.25
หรืออาจจะเขียนอีกลักษณะหนึง่ คือ “
จากตาราง พบว่า กลุม
่ ตัวอย่างมี
ึ ษาระดับปริญญาตรีสงู
การศก
ทีส
่ ด
ุ รองลงมาระดับอนุปริญญา และ
น ้อยทีส
่ ด
ุ คือ ระดับปริญญาเอก ร ้อย
99
แปลโดยไม่กล่าวถึงตัวเลข
เลย เพราะมีใน
ตาราง แผนภาพ หรือแผนภูม ิ
แล ้ว ผู ้อ่านสามารถอ่านได ้จาก
่ "จาก
แหล่งดังกล่าว เชน
ตาราง พบว่า กลุม
่ ตัวอย่างมี
ึ ษาระดับปริญญาตรีสงู
การศก
ทีส
่ ด
ุ รองลงมาระดับ
อนุปริญญา และน ้อยทีส
่ ด
ุ คือระดับ
ปริญญาเอก
2.
100
ผู ว้ จ
ิ ัยต้องแปลผลและ
่ จากการวิจยั
นาเสนอข้อมู ลทีได้
ให้เหมาะสม อย่าแปลผลเกิน
่
กว่าทีตนเองท
าการวิจ ัย และให้
อยู ่ในขอบเขตของการออกแบบ
วิจยั
101
ตัวอย่างการวิจัยเรือ
่ ง
้
“พฤติกรรมการใชยาเสพย์
ตด
ิ ของผู ้
ติดยาเสพย์ตด
ิ ทีม
่ ารับบริการทีค
่ ลินก
ิ
รักษายาเสพย์ตด
ิ โรงพยาบาลแห่ง
หนึง่ ในกรุงเทพมหานคร” เวลาแปล
ผล เป็ น พฤติกรรมของผู ้ติด
ยาเสพย์ตด
ิ ทีม
่ ารับการรักษาจาก
คลินก
ิ แห่งนี้ ไม่ใชเ่ ป็ นพฤติกรรม
ของผู ้ติดยาเสพย์ตด
ิ ทัง้ หมด
102
ผูว้ จิ ยั สามารถนาเสนอได ้ 2 รูปแบบ
ใหญ่ๆ ดังนี ้
1. การนาเสนอข้อมู ลด้วย
ตาราง เหมาะสาหร ับการแสดงค่าตัว
่
เลขทีละเอี
ยด และมีจานวนมาก การ
นาเสนอข ้อมูลด ้วยตารางผูว้ จิ ยั ควรยึด
หลักให ้ตารางอ่านง่าย เข ้าใจง่าย และมี
ความสมบูรณ์ในตัวเอง การนาเสนอ
ส่วนใหญ่จะอยูใ่ นรูปของจานวน ร ้อยละ
และอาจมีคา่ เฉลีย่
103
2. การนาเสนอข้อมู ลด้วยรู ป
(Figure) เป็ นการนาเสนอข ้อมูลด ้วย
รูปกราฟ แผนภูมิ และรูปภาพ การ
นาเสนอด ้วยวิธน
ี ี ้ ผูว้ จิ ยั สามารถ
นาเสนอข ้อมูลจานวนมากกว่าการ
นาเสนอด ้วยตาราง และผูอ้ า่ นสามารถ
มองเห็นความสัมพันธ ์ หรือแนวโน้มของ
ข ้อมูล หรือตัวแปรได ้ช ัดเจนกว่า
้ งสามารถปร ับรูปทีแสดงให
่
นอกจากนี ยั
้
เกิดความน่ าสนใจได ้
104
105
106
107
108
การเขียนบทวิเคราะห์
109
แนวทางในการเขียนบทวิเคราะห ์
ความสามารถในการสงั เกต
ข ้อเท็จจริง การเลือกประเด็นทีจ
่ ะนามาเขียน
เป็ นบทวิเคราะห์ นอกจากจะต ้องหมั่น
ึ ษาหาความรู ้ใน
ติดตามเรือ
่ งราวและศก
ศาสตร์ทเี่ กีย
่ วข ้องแล ้ว สงิ่ ทีจ
่ ะต ้องคานึง
่ ต ้องตระหนักว่าอะไรคือปั ญหา
เพิม
่ เติม เชน
ทีจ
่ ะต ้องนามาวิเคราะห์ กาหนดขอบเขต
ของปั ญหา จะชว่ ยมิให ้เขียน สามารถเข ้าสู่
1.
110
ต ้องมีความรอบรู ้ในเรือ
่ งทีจ
่ ะ
ึ ษาวิเคราะห์อย่างลึกซงึ้ จะสง่ ผลให ้
ศก
บทวิเคราะห์มน
ี ้ าหนักและความ
ื่ ถือ ผู ้เขียนจะต ้องวิเคราะห์อย่าง
น่าเชอ
มีเหตุผลบนพืน
้ ฐานแห่งความถูกต ้อง
โดยผู ้เขียนจะต ้องมีความเข ้าใจอยูบ
่ น
พืน
้ ฐานของหลักการหรือทฤษฎีใด
ทฤษฎีหนึง่ ใน เรือ
่ ง ทีจ
่ ะวิเคราะห์ เพือ
่
้ นแนวทางการพิจารณาประเด็น
ใชเป็
ปั ญหา โดยผู ้เขียนจะต ้องติดตามและ
ึ ษาเรือ
ศก
่ งราวนัน
้ ว่ามีความเป็ นมา
2.
111
การกาหนดสมมุตฐิ าน มี
จุดมุง่ หมายเพือ
่ แสวงหาคาตอบทีค
่ าด
ว่าจะเป็ น อย่างไร สมมติฐานทีด
่ ค
ี วร
ั เจนและ
ประกอบด ้วย การระบุความชด
ความสาคัญของปั ญหา การกาหนดข ้อ
มุง่ หมายของการแสวงหาคาตอบ และ
การคาดการณ์หรือการทานายข ้อค ้นพบ
ที่ จะเป็ นไปได ้
3.
112
สรุปบทวิเคราะห์ทเี่ ขียนเพือ
่ แสวงหาความ
จริงของปั ญหาหรือเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน
้ ว่าเป็ น
อย่างไร เป็ นวิธก
ี ารค ้นหาความจริงอย่างหนึง่ ซงึ่
การแสวงหาข ้อเท็จจริงของมนุษย์มห
ี ลายวิธ ี
ได ้แก่
่
1. เชือตามธรรมเนี
ยมประเพณี ทบอกเล่
ี่
า
กันต่อๆ มา การเขียนบทวิเคราะห ์ในลักษณะนี ้
่ อตากว่
่
มีความน่ าเชือถื
าการเขียนบทวิเคราะห ์
่
ในลักษณะอืน
่
าของผู ร้ ู ้ โดยปกติ
2. เชือตามการบอกเล่
้
มักอาศ ัยคากล่าวอ้างนี มาตัดสิ
นอยู ่เสมอ โดย
113
อาจมาจากความบังเอิญ หรือการลอง
ถู กลองผิดแล้วสรุปเอาว่าเป็ นความจริง
การด่วนสรุปหรือการเอาประสบการณ์
่ งในการเขี
้ั
เฉพาะตนเป็ นทีต
ยนบท
่ เป็
่ นภววิสย
วิเคราะห ์จะขาดสิงที
ั มักจะ
โน้มเอียงไปในลักษณะคาดคิดเอาเอง
่ นถึงความจริง
4. โดยการหยังเห็
เป็ นการคาดเดาว่าน่ าจะเป็ นความจริง
้
ถึงแม้วา
่ วิธก
ี ารนี จะมี
การใคร่ครวญ
ทบทวนก่อนการเขียนบทวิเคราะห ์อยู ่
บ้างก็ตาม แต่กจ
็ ด
ั อยู ่ในลักษณอ ัตวิสย
ั
114
เป็ นการอาศ ัยความรู ้สึกนึ กคิดของ
ตนพิจารณาว่าเป็ นความจริง ซึง่
คล้ายคลึงกับวิธท
ี ี่ 3 และ 4
กล่าวคือเป็ นลักษณอ ัตวิสย
ั เช่นกัน
6. โดยการใช้หลักเหตุผลเชิง
ตรรกศาสตร ์ เป็ นการใช้หลัก
ตรรกศาสตร ์มาอธิบายความจริง
่ ธน
้ งแม้จะมีลก
ซึงวิ
ี ี ถึ
ั ษณะการ
่ นเหตุผล แต่ก็
ค้นหาข้อเท็จจริงทีเป็
้
เป็ นเหตุผลทางตรรกศาสตร ์เท่านัน
115
โดยวิธก
ี ารสืบสวนทาง
วิทยาศาสตร ์ เป็ นการค้นหาความ
่ ระบบทีน่
่ าเชือถื
่ อได้ ซึงมี
่
จริงทีมี
่
แบบแผนและวิธก
ี ารทีสากลยอมร
ับ
และสามารถทาการทบทวน
ตรวจสอบผลได้
7.
116
คือ
. ความสามารถในการสงั เกต
ข ้อเท็จจริง การเขียนบทวิเคราะห์ผู ้เขียน
จะต ้องมีความ สงั เกตในการเลือก
ประเด็นทีจ
่ ะนามาเขียนเป็ นบทวิเคราะห์
ซงึ่ การสงั เกตข ้อเท็จจริงทัว่ ไป สงิ่ ที่
่ ต ้องตระหนัก
จะต ้องคานึงเพิม
่ เติม เชน
ว่าอะไรคือปั ญหา เพราะคือประเด็นที่
จะต ้องนามาวิเคราะห์ และจะต ้อง
กาหนดขอบเขตของปั ญหา เพราะจะ
ชว่ ยมิให ้เขียนแบบน้ าท่วมทุง่ จนไม่
1
117
ผู ้เขียนบทวิเคราะห์จะต ้องเป็ นผู ้ทีม
่ ี
ึ ษาวิเคราะห์
ความรอบรู ้ในเรือ
่ งทีจ
่ ะศก
อย่างลึกซงึ้ ละเอียด เพราะการทีม
่ ค
ี วาม
รอบรู ้ในเรือ
่ งทีว่ เิ คราะห์จะสง่ ผลให ้บท
ื่ ถือ
วิเคราะห์มน
ี ้ าหนักและความน่าเชอ
2.
118
บทวิเคราะห์ของผู ้เขียนจะต ้อง
วิเคราะห์อย่างมีเหตุผลบนพืน
้ ฐาน
แห่งความถูกต ้อง โดยผู ้เขียน
จะต ้องมีความเข ้าใจอยูบ
่ นพืน
้ ฐาน
ของหลักการหรือทฤษฎีใดทฤษฎี
หนึง่ ในศาสตร์ของเรือ
่ งราวทีจ
่ ะ
วิเคราะห์
119
สามารถแบ่งข้อมู ลออกได้เป็ น 2
ประเภท คือ
1. ข ้อมูลทีเ่ ป็ นตัวเลข ซงึ่ ผู ้วิจัยควรเสนอเป็ น
ื่ กากับ และระบุทม
ตาราง และมีการใชช้ อ
ี่ า
ั เจน
ของข ้อมูลให ้ชด
2. ข ้อมูลทีเ่ ป็ นสว่ นบรรยาย ผู ้วิจัยจะต ้อง
เลือกข ้อมูลทีเ่ ป็ นสาระ และตัดข ้อมูลทีไ่ ม่
สาคัญทิง้ ไปบ ้าง หรือนาไปไว ้ในภาคผนวก
การตัดข ้อมูลทิง้ เป็ นวิธก
ี ารสาคัญอย่างหนึง่
่ ก
ในการวิจัยเชงิ คุณภาพ หากผู ้วิจัยใสท
ุ
อย่างลงในรายงาน จะทาให ้งานวิจัยไม่ม ี
คุณภาพ และไม่มเี อกภาพ ผู ้อ่านจะจับ
120
บทสรุปทีเ่ ป็ นการย่อเนือ
้ ความ
2. บทสรุปทีเ่ ป็ นการวิเคราะห์ใน
ลักษณะรวบ
ยอด หรือเป็ นประเด็นสาคัญ
3. อภิปรายความเห็นของผู ้วิจัย
ึ่ แบ่งออกเป็ น
4. ข ้อเสนอแนะ ซง
ข ้อเสนอแนะ
ในการแก ้ไขปั ญหาในเรือ
่ ง
ของวิจัย และ
ข ้อเสนอแนะ
ของผู ้ทีส
่ นใจในการดาเนินการคน
1.
121
ผู เ้ ขียนรายงานวิจย
ั ทีด ี ควรตระหนักถึงสิง
ต่าง ๆ ต่อไปนี ้
ความถูกต ้อง ไม่มอ
ี คติ บิดเบือนจาก
ความ ผู ้เขียนจะต ้องมี ความรู ้ เกีย
่ วกับเรือ
่ ง
นัน
้ ๆ เป็ นอย่างดี เพือ
่ ทีจ
่ ะทาให ้ รายงาน
ื่ ถือ
ถูกต ้อง และน่าเชอ
2. ความรัดกุม ต ้องเขียนให ้ตรงประเด็น มี
คุณค่า ไม่ใชค้ าเปลือง
และฟุ่ มเฟื อย
ั เจน ใชประโยคง่
้
3. ความชด
าย ๆ ไวยากรณ์
และวรรคตอน ถูกต ้อง ระมัดระวังในเรือ
่ งคาย่อ
ไม่ใชค้ าคลุมเครือไม่ม ี ความหมาย ใช ้
ั สน และมีประโยค
หัวข ้อย่อยเพือ
่ ป้ องกันสบ
1.
122
ั สน
รายงานจะต ้องมีความต่อเนือ
่ ง ไม่สบ
และคิดว่าสว่ นทีก
่ าลัง
อ่านนัน
้ เป็ นคนละเรือ
่ งกัน เป็ นหน ้าทีข
่ อง
ผู ้วิจัยทีจ
่ ะต ้อง
ตรวจทานสงิ่ ต่าง ๆ เหล่านัน
้ ให ้เกิดความ
ต่อเนือ
่ งเสมอ ๆ
่ นทีเ่ ป็ นประเด็น หรือ
5. เน ้นความสาคัญในสว
หัวใจของการวิจัย
เป็ นพิเศษ การเน ้นคือการนาเสนอข ้อมูล
โดยละเอียด และมีการ
อภิปรายเพิม
่ เติม
้
6.ใชภาษาที
ง่ า่ ยในการทาความเข ้าใจแต่
123
ลักษณะสาคัญของความเรียง
ความเรียงทีด
่ ต
ี ้อง ประกอบด ้วย
ลักษณะสาคัญ 3 ประการคือ
มีความเป็ นอันหนึง่ อันเดียว ความเรียง
เรือ
่ งหนึง่ ๆ จะต ้องมีใจความและ ความมุง่
หมายสาคัญเพียงอย่างเดียวเท่านัน
้ เรือ
่ งที่
นามาเขียนจะต ้องเกีย
่ วข ้องเป็ นเรือ
่ ง
ั ขึน
เดียวกัน หรือชว่ ยเสริมให ้เรือ
่ งเด่นชด
้
เรียงความทีข
่ าดเอกภาพ คือ ความเรียงที่
มีเรือ
่ งต่างๆ ปนกัน บางเรือ
่ งไม่เกีย
่ วข ้อง
กับเรือ
่ งเดิม
1.
124
ื่ มโยงข ้อความต่างๆ ให ้
การเชอ
เป็ นไปตามลาดับ มีเหตุผลรับกัน
ั พันธภาพ จะต ้องมี
ความเรียง ทีม
่ ส
ี ม
เนือ
้ ความเกีย
่ วเนือ
่ งกันไปเหมือน
ั เจนไม่
ลูกโซ ่ เนือ
้ ความต ้องชด
คลุมเครือ
3. การเน ้นใจความทีส
่ าคัญให ้
ั ขึน
เด่นชด
้ มา สว่ นทีเ่ ป็ นพลความ
จะต ้องเป็ นพลความทีช
่ ว่ ยสนับสนุน
ใจความสาคัญนัน
้ ถ ้าความเรียงมี
ความมากเกินไป เรียกว่าขาด
2.
125
การเขียนบทสรุป
126
การสรุปผลการวิจัย ควรสรุปตาม
ความมุง่ หมายของการวิจัย
วัตถุประสงค์และสมมติฐานของการ
วิจัย ทัง้ นีเ้ พราะสรุปผลการวิจัยจะ
ื่ มโยงหรือแสดง
สามารถเชอ
ั พันธ์ระหว่างความมุง่ หมาย
ความสม
ของการวิจัย สมมติฐานของการวิจัย
้
และสถิตท
ิ ใี่ ชในการวิ
เคราะห์ข ้อมูล
127
้
ควรใชภาษาเขี
ยนทีเ่ ป็ นกลางและ
เป็ นภาษาวิชาการหลีกเลีย
่ งการใช ้
ความ คิดเห็นสว่ นตัวมาสรุปในการ
บรรยายและหลีกเลีย
่ งการตีความ
เอาเองในสรุปผลการวิจัย
128
้
ั เจนและรัดกุม บ่ง
ควรใชภาษาที
ช
่ ด
บอกถึงการตอบคาถามของการวิจัย
ั เจนหรือสมมติฐานของการวิจัย
ทีช
่ ด
ทีต
่ งั ้ ไว ้ในบทที่ 1
129
ควรสรุปภาพรวมของผลการวิจัย ไม่
ควรยกผลการวิจัยทัง้ หมดจากบทที่
4 มาเขียนสรุปผลการวิจัยและ
อธิบายปลีกย่อยมากเกินไปจะทาให ้
ั สนผลการวิจัยได ้
สบ
130
้
1. โครงสร ้างประโยค ควรใชโครงสร
้าง
ประโยคแบบปกติหรือประโยค กรรตุวาจก
(active voice) คือให ้ประธานของประโยคเป็ น
้
ผู ้กระทา ไม่ควรใชแบบประโยค
กรรมวาจก
(passive voice)ทีป
่ ระธานเป็ นผู ้รับผลจากการกระทา
2. การใช้ย่อหน้า ย่อหน ้าหนึง
่ ควรมีเพียง
เนือ
้ เรือ
่ งเดียว
ื่ ความหมายได ้
3. การใช้คา ควรใชค้ าทีส
่ อ
ั เจนทีท
อย่างชด
่ าให ้เข ้าใจได ้ทันที จะทาให ้
ั รัดกุม ไม่ต ้องใชค้ าอธิบายยืดยาว
เนือ
้ ความกระชบ
ฟุ่ มเฟื อย
131
คาสรรพนาม
่ ผม ดิฉัน ข ้าพเจ ้า เรา เธอ คุณ มัน
เชน
ฯลฯ
่ เดิน กิน กระโดด วิง่ นั่ง
คากริยา เชน
พูด ยิม
้ ฯลฯ
คา
่ งาม สวย เล็ก ใหญ่ เร็ว แดง
วิเศษณ์ เชน
ไกล แข็ง ฯลฯ
คาบุพ
่ เพือ
บท เชน
่ ของ กับ แก่ ด ้วย โดย ใน ฯลฯ
ั ธาน เชน
่ เพราะ และ หรือ กับ แต่
คาสน
132
จึง ฯลฯ
หากต ้องการเป็ นนักวิชาการ
ึ ษาทีม
นักศก
่ ค
ี ณ
ุ ภาพอย่าละเลยใน
สงิ่ ทีท
่ ก
ุ คนสามารถ แสวงหาความรู ้
และเรียนรู ้ เพราะการเขียนทีด
่ ค
ี อ
ื
้
ความสามารถในการใชภาษาที
ด
่ ี
อย่างถูกต ้อง
133
เหมือนใจ
ผิดย่อมแปรเปลีย
่ น
ั
สงสย
ไป
ึ ษา
การศก
แท ้จริง
ไม่พด
ู ตัว ร เรือ เป็ น ล ลิง
น่าขันยิง่ ฟั งไม่เพราะเหมาะ
ี งผิดความหมาย
ออกเสย
เพราะพูดเรียนเป็ นเลียนน่า
ื ใช ้ ร เรือ เสมอ
เรียนหนั งสอ
ใช ้ ล ลิง ไม่ได ้ผิดทันที ฯ
ั ดีเป็ นคนมี
พูดชด
ั นั น
พูดไม่ชด
้ น่าละอายยิง่
ควรฝึ กฝนตัง้ ใจอย่าง
คาควบกล้านัน
้ ยิง่ ต ้องฝึ กปรือ134
ขอให ้ทุกท่านประสบ
ความสาเร็จในการ
เขียนงานวิจัยอย่างมี
ื ต่อไป
คุณภาพสบ
สวัสดี
135