งานสัม - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript งานสัม - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
ตามทฤษฏีการเผยแพร่
(Diffusion Theory)
โดย นายสถาพร สาธุการ
นิสิตปริญญาเอก
เทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประเด็นนำเสนอ
1. คำสำคัญ
2. แนวคิดกำรบูรณำกำรนวัตกรรมและเทคโนโลยีกำรศึกษำ
3. ทฤษฎีกำรเผยแพร่ /องค์ ควำมรู้ และองค์ ประกอบ
4. รู ปแบบกำรเผยแพร่
5. กำรศึกษำรู ปแบบและงำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
6. ข้ อเสนอแนะและประเด็นอภิปรำย
1. คำสำคัญ
• บูรณาการ
• นวัตกรรมการศึกษา
• เทคโนโลยีการศึกษา
• ทฤษฎีการเผยแพร่
• บูรณำกำร ( Integration ) หมายถึง การทาให้
สมบูรณ์ การนาหน่วยย่อยๆ ที่สมั พันธ์กนั มาทาหน้าที่
อย่างผสมกลมกลืนกันเป็ นหนึ่งเดียวกัน ให้ครบถ้วน
สมบูรณ์ในตัวเอง
• บูรณำกำร ( Integration ) หมายถึง การมีรากฐาน
ความคิดอิสระ มองทุกสิ่ งทุกอย่างแบบไม่ยดึ ติดมองเห็น
เหตุผลและเชื่อมโยงถึงศาสตร์ทุกศาสตร์
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation)
1. ช่ วยให้ กำรศึกษำและกำรเรียนกำรสอนมีประสิ ทธิภำพยิง่ ขึน้
2. ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ ได้ รวดเร็ว มีประสิ ทธิภำพสู งกว่ ำเดิม
3. เกิดแรงจูงใจในกำรเรียน
4 .ประหยัดเวลำในกำรเรียน
เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology)
เป็ นทฤษฏีและการปฏิบตั ิของ การออกแบบ การพัฒนา
การใช้ การจัดการและการประเมินผล ของกระบวนการ
และทรัพยากรสาหรับการเรี ยนรู้ (AECT, 2537)
ทฤษฏีการเผยแพร่ (Diffusion Theory)
1.เป็ นทฤษฏีที่กล่าวถึงการทาให้สิ่งใหม่ๆให้เป็ นที่ ยอมรับในสังคม
2.ทาการศึกษา ค้นหาความจริ ง เกี่ยวกับ กระบวนการเผยแพร่ นาสิ่ ง
ใหม่ๆเหล่านั้นเข้าไปสู่สาขาวิชาต่างๆ
3.นาความรู้ที่ได้มาอธิบาย วางแผนและเผยแพร่ ให้เกิดการยอมรับใน
สังคม
4.อธิบายถึง กระบวนการและอิทธิพลการเปลี่ยนแปลงและเงื่อนไข ใน
การยอมรับการเผยแพร่
2.แนวคิดการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
2.1. ควำมจำเป็ นในกำรบูรณำกำรจำกนวัตกรรมและเทคโนโลยี
- เป็ นยุคการเปลี่ยนแปลงของสังคมจากนวัตกรรมและเทคโนโลยี
- ข้อมูลข่าวสารหลัง่ ไหลไปทัว่ ภูมิภาคของโลกอย่างรวดเร็ ว
- เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม วิถีชีวิต ปัญหาสังคม
- เกิดการปฏิรูปการศึกษา ปรับเปลี่ยนวิธีสอน วิธีเรี ยน การเรี ยนรู ้ตลอด
ชีวิต
- การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการศึกษามีเหตุผลใน
การใช้ และเชื่อมโยงศาสตร์ทุกสาขาเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน ก้าวหน้าเต็มตาม
ศักยภาพ
2.2 สิ่ งทีค่ วรพิจำรณำและตระหนักในกำรใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีกำรศึกษำ
• ความคุม้ ค่าในการลงทุน ด้านตัวนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
เงิน เวลาและบุคคล
• การยอมรับของบุคคล องค์กร สังคมที่มีความแตกต่างกัน
• การยอมรับและใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาเป็ นเพียง
ช่วงเวลาหนึ่ง
• ทาอย่างไรให้เกิดการยอมรับอย่างมีเหตุผล และใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
• ผลกระทบต่อวิถีชีวิต การทางาน สภาพจิตใจ
• ผลกระทบที่ทาให้เกิดความเสี ยหายต่อวัฒนธรรม
2.3 กำรใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีกำรศึกษำด้ ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ
• ความรู้ดา้ นคอมพิวเตอร์ ( Computer literacy )
- Software ( OS, Application Software, Media )
- Hardware ( อุปกรณ์Computer, อุปกรณ์ต่อพ่วง )
• ความรู้ดา้ นเว็บเทคโนโลยี ( Web Technology )
- Network
- Internet, Intranet
- E-Learning ( WBI, WBL, WBT, VU, VC ฯลฯ )
•
•
•
•
•
•
3.ทฤษฎีการเผยแพร่ /องค์ความรู ้และ
องค์ประกอบ
องค์ ประกอบ 4 ประกำรของกระบวนกำรเผยแพร่
กระบวนกำรตัดสิ นใจเกีย่ วกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
กลุ่มบุคคลผู้ยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ระยะเวลำในกำรยอมรับและรูปแบบกำรยอมรับ
คุณสมบัติและคุณลักษณะของนวัตกรรมและเทคโนโลยี
องค์ ประกอบทีเ่ กีย่ วข้ อง
Diffusion Process และ Adoption Process
(เสถียร เชยประทับ , 2525)
Diffusion Process : เป็ นการเผยแพร่ สิ่งใหม่ไปยังสมาชิกของระบบ
สังคมเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นระหว่างสมาชิก
ต่าง ๆ ในระบบสังคม
Adoption Process : เป็ นกระบวนการตัดสิ นใจเกี่ยวกับนวัตกรรมเป็ น
กระบวนการที่เกิดขึ้นมาในสมอง หรื อในจิตใจ
ของสมาชิกแต่ละคนในระบบสังคม
องค์ ประกอบ 4 ประกำรของกระบวนกำรเผยแพร่ (Rogers, Erverctt M. (1995)
1. Innovation(Relative Advantage , Compatibility , Complexity , Triability , Observability)
2. The Communication Channels ( Mass media Channels , Interpersonal channels)
3. Time ( Time interval the spans first Knowledge)
(Time relative earliness or lateness)
(Time rate of adoption in system)
4. The social system ( individual , informal group , organization and / or subsystem)
กระบวนกำรตัดสิ นใจเกีย่ วกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
(Rogers,1983)
1. ขั้นควำมรู้ (Knowledge) - การรู้จกั นวัตกรรม
- ความรู้วิธีใช้นวัตกรรม
- ความรู ้เกี่ยวกับหลักการ
2. ขั้นจูงใจ (Persuasion) เจตคติ,แสวงหาข้อมูลเปรี ยบเทียบ,ประเมินประโยชน์
3. ขั้นกำรตัดสิ นใจ (Decision) มีกิจกรรมรวม,ทดลองใช้หรื อเทียบเคียง
4. ขั้นกำรนำไปใช้ (Implementation) นาไปใช้,แก้ปัญหา,ดัดแปลง
5. ขั้นกำรยืนยัน (Confirmation) เสริ มแรงผูใ้ ช้ ให้การสนับสนุน,หาข้อมูลเพิ่ม
และเห็นผลสาเร็ จ
(นาไปสู่ การยอมรับหรื อปฏิเสธ ใช้ไม่ได้ผล หรื อ มีของใหม่กว่า)
A model of stages in the innovation - decision process (Roger, 1983)
ขั้นการยืนยัน
ขั้นการนาไปใช้
การยอมรับ
ขั้นการตัดสิ นใจ
ยังคงยอมรับต่อไป
หยุดการยอมรับ
การปฏิเสธ
กลุ่มยอมรับที่หลัง
ขั้นการจูงใจ
ขั้นความรู ้
ลักษณะของการตัดสิ นใจ
เงื่อนไขแต่เดิม
1. ลักษณะของสภาพสังคมเศรษฐกิจ
2. ตัวแปรด้านบุคลิกภาพ
3. พฤติกรรมการสื่ อสาร
1. การปฏิบตั ิที่ผา่ นมา
2. ความรู้สึกต้องการ / ปัญหาต่าง ๆ
3. ความไวในการยอมรับนวัตกรรม
4. บรรทัดฐานของระบบสังคม
ยังคงปฏิเสธ
ลักษณะของนวัตกรรมตามการ
รับรู้ของบุคคล
1. ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง
2. ความเข้ากันได้
3. ความสลับซับซ้อน
4. การนาไปทดลอง
5. การสังเกตเห็นผลได้อย่างชัดเจน
กลุ่มบุคคลผู้ยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
 กลุ่มนวัตกร ( Innovators )
 กลุ่มผู้ยอมรั บก่ อนผู้อน
ื่ (Early Adopters )
 กลุ่มบุคคลส่ วนใหญ่ ทย
ี่ อมรับในช่ วงแรก ( Early
Majority )
 กลุ่มบุคคลทีย
่ อมรับในช่ วงหลัง ( Late Majority )
 กลุ่มพวกล้ ำหลัง ( Laggards )
Individual Innovativeness Adopter
(Roger , 1995)
ระยะเวลำในกำรยอมรับ
(Roger , 1995)
รู ปแบบกำรยอมรับ (ADOPTION MODEL)
๏ Concerns - Based Adoption Model (CBAM)
๏ Stages of Concerns
๏ Levels of Use of the Innovation : Typical Behaviors
Concern – Based Adoption Model
(CBAM) (Noel Le Jeune, 2000)
Stage of Concern About an Innovation
Impact
Task
Self
ขั้นของความเกี่ยวข้อง
6 Refocusing
5 Collaborative
4 Consequence
3 Management
2 Personal
1 Informational
0 Awareness
การแสดงความเกี่ยวข้อง
ฉันมีความคิดบางอย่างที่อาจทาให้ดีข้ ึนเกี่ยวกับสิ่ งนั้น
ฉันจะสามารถร่ วมงานกับผูอ้ ื่นได้อย่างไร ในสิ่ งที่ฉนั
กาลังทา และเขากาลังทา
สิ่ งที่ฉนั ใช้มีผลต่อนักเรี ยนอย่างไร
ฉันได้แบ่งเวลาในการใช้เรี ยบร้อยแล้ว
การใช้สิ่งนี้จะมีผลกระทบต่อฉันอย่างไร
ฉันต้องการที่จะรู ้เกี่ยวกับสิ่ งนี้ เพิ่มมากขึ้น
ฉันไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนี้
Level Of Use (Hall and Hord, 1987)
ระดับการใช้
6 Renewal
พฤติกรรมที่บ่งชี้ระดับ
ผูใ้ ช้คน้ หาความรู ้เพิม่ เติมในการใช้นวัตกรรมนั้น
5 Integration
ผูใ้ ช้มีความตั้งใจที่จะร่ วมงานกับผูอ้ ื่นในการใช้นวัตกรรม
4b Refinement
3 Mechanical Use
ผูใ้ ช้สร้างการเปลี่ยนแปลง โดยการเพิ่มผลที่ได้รับจากการ
ใช้นวัตกรรม
ผูใ้ ช้มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยหรื อไม่เปลี่ยนแปลงเลย
และมีการสร้างรู ปแบบการใช้
ผูใ้ ช้สร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึนในการใช้นวัตกรรม
2 Preparation
ผูใ้ ช้เตรี ยมวางแผนการใช้นวัตกรรมส่ วนบุคคล
1 Orientation
ผูใ้ ช้กาลังเริ่ มต้นที่จะเรี ยนรู ้เกี่ยวกับนวัตกรรม
0 Nonuse
ผูใ้ ช้ไม่มีความสนใจ ไม่เกิดการกระทาใดๆ
4a Routine
Stage of Concern (Hord,S.et.al, 1987)
ฉันอาจจะเป็ นคนยึดติด ถ้า
ฉันจะพูดว่า..............
ขั้นตอนของความ
สนใจ
ทุกสิ่ งทุกอย่างทาได้ดงั นั้น
ฉันไม่สนใจ
การรับทราบ
(Awareness)
ฉันไม่ตอ้ งการที่จะทามัน
ข้อมูลข่าวสาร
ฉันพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงและทาให้
เกิดความชัดเจนไปที่
มันคืออะไร? (Reactive)
มันทางานได้อย่างไร?
(Information)
ฉันไม่สามารถทาทั้งหมดได้
ฉันจะพยายาม แต่ฉนั ไม่เชื่อ
ว่าจะเป็ นไปได้
บุคคล
-สิ่ งนี้มีผลกระทบต่อฉันอย่างไร?
(personal)
-ฉันจะมีบทบาทอย่างไร ในตัวสิ่ งนั้น
การจัดการ
-ฉันสามารถเป็ นผูน้ าในเรื่ องนี้ ได้
(Management) ไหม?
-ฉันจะทาให้สิ่งนั้นเหมาะสม มีความ
พอดีอย่างไร ?
-อย่างน้อยที่สุดฉันต้องทาอะไร?
ฉันไม่เชื่อว่าสิ่ งนี้จะมีคุณค่า
ผลที่ตามมา
-สิ่ งนี้คุม้ ค่า จริ งหรื อ ?
(Consequence)
ฉันมีวิธีการของฉันเองใน
การทาสิ่ งนี้
ความร่ วมมือ
-คนอื่นๆ ทาสิ่ งนี้ได้อย่างไร?
(Collaboration) -อะไร คือ ความสามารถสู งสุ ดที่ซ่อน
อยูข่ องสิ่ งนี้?
ทุกสิ่ งทุกอย่างทาได้
ทาให้ชดั เจนมากขึ้น -มีทางเลือกที่ดีกว่านี้ ไหม ?
(Refocusing)
(Proactive)
Concerns - Based Adoption Model
(CBAM) (Noel Le Jeune ,2000)
สรุป เกีย่ วกับรู ปแบบกำรยอมรับ
๏ การยอมรับการเผยแพร่ เกี่ยวข้องกับตัวบุคคลและองค์กร
๏ รู ปแบบการยอมรับ CBAM ใช้กบั บุคคลที่สมั ผัสกับนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีหรื อสิ่ งใหม่ ๆ เพื่อประเมินผล จัดประเภท จัดกลุ่ม
๏ ทาให้รู้ถึงระดับการใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีจากตัวชี้วดั
พฤติกรรมของบุคคล
๏ เป็ นการศึกษากลุ่มเป้ าหมาย จัดกลุ่ม จัดประเภทในการยอมรับการ
เผยแพร่ ในเชิงรุ ก
The model of the innovation decision process (Rogers, 1983) และ
The Concern - based adoption model (Hall and Hord, 1987)
5. Confirmation
4. Implementation
6. Refocusing
VI Renewal
5. Collaboration
V Integration
4. Consequence
IVB Refinement
IVA Routine
3. Management
3. Decision
2. Persuasion
1. Knowledge
The mode of stages in the
Innovation - decision process
III5.Mechanical
Use
Confirmation
2. Personal
II Preparation
1 Information
I Orientation
0 Awareness
0 Nonuse
Stage of concern
Level of use
CBAM
คุณสมบัตแิ ละคุณลักษณะของนวัตกรรมและ
เทคโนโลยี (Everett Roger , 1995)
๏ STORC
- Simplicity (S)
- Triability (T)
- Observability (O)
- Relative Avantage (R)
- Compatibility (C)
คุณลักษณะเพิม่ เติม
- Support (S)
เงือ่ นไขทำงสั งคม
๏ ต้องการคงไว้ซ่ ึ งสถานภาพเดิม การเปลี่ยนแปลงกระทบกับสิ่ งเดิม
เกิดระแวงสงสัย
๏ แรงผลักดันจากสถานการณ์รอบ ๆ ตัว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
๏ แรงผลักจากภายในของบุคคล องค์การ ไม่พอใจสภาพเดิม ของเดิม
ต้องการขยายงาน เพิ่มประสิ ทธิภาพ มีผลประโยชน์มากขึ้น
๏ ปัจจัยสนับสนุนหรื อจากัดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเงินทุน , ค่านิยม
เงือ่ นไขลักษณะตัวบุคคล (Roger, 1983)
1. สถำนภำพทำงเศรษฐกิจและสั งคม
2. บุคลิกภำพ
3. พฤติกรรมกำรติดต่ อสื่ อสำร
ปัจจัยด้ ำนสถำนภำพของบุคคล (สุ มิตร คุณำนุกร, 2523)
1.
2.
3.
4.
เพศ ทำให้ กำรยอมรับแตกต่ ำงกัน
อำยุ มีควำมสั มพันธ์ กบั กำรยอมรับนวัตกรรม
วุฒิกำรศึกษำ มีควำมสั มพันธ์ กบั กำรยอมรับนวัตกรรม
ประสบกำรณ์ มีควำมสั มพันธ์ กบั กำรยอมรับนวัตกรรม
ตัวกลำงกำรเผยแพร่
• เป็ นผูท้ ี่ทาให้กระบวนการตกลงใจยอมรับ นวัตกรรมของ
กลุ่มประชากรเป็ นไปตามแผนที่กาหนดไว้โดยศูนย์กลาง
การเผยแพร่ ที่เป็ นหน่วยงานหรื อองค์กรก็ได้
• กลัน่ กรองนวัตกรรมนั้นก่อนจะทาการปรับเปลี่ยนและ
ต่อรองกับชุมชน เพื่อปรับนวัตกรรมให้เข้าได้กบั บริ บท
วัฒนธรรมของสมาชิกในชุมชนนั้นๆ
อิทธิพลที่เป็ นตัวทำให้ เกิดกำรเปลี่ยนแปลง
๏ จำกวัฒนธรรมและค่ ำนิยมในสั งคม
๏ จำกสถำบันที่เกีย่ วข้ องกับกำรกำหนดหลักสู ตร
๏ จำกเกณฑ์ มำตรฐำนต่ ำง ๆ
๏ จำกคณะกรรมกำรและกำรวินิจฉัยเฉพำะกิจ
๏ จำกแหล่ งเงินทุน (ระวังกำรแสวงหำประโยชน์ จำกภำคเอกชน)
๏ จำกนักกำรศึกษำ นักวิชำกำร ชำวบ้ ำน ที่คดิ แตกต่ ำงจำกคนอืน
่
กระบวนกำรเปลีย่ นแปลงในกำรศึกษำ
๏ เปลี่ยนแปลงจุดมุ่งหมายทางสังคมที่สถาบันการศึกษาต้องตอบสนอง
๏ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการสอน
๏ การเปลี่ยนแปลงในสถาบันผลิตครู
๏ การเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ
๏ การใช้เทคโนโลยีมาช่วยจัดการเรี ยนการสอน
(นาสู่เงื่อนไขและสภาพที่ดีข้ ึน มีระบบระเบียบ ไม่ใช่ทาให้แปลกหรื อเป็ นผูร้ ิ เริ่ ม)
4.รู ปแบบกำรเผยแพร่ นวัตกรรม
(Roger & Shoe - Maker , 1971) และ (สำลี ทองธิว , 2545)
1. การเผยแพร่ แบบอิงการใช้อานาจสนับสนุนจากเบื้องสู ง
(Authority Innovation - Decision Model) , AIDM
2. การเผยแพร่ แบบใช้มนุษยสัมพันธ์ (Human Interaction Model) , HI
3. การเผยแพร่ แบบอิงประชากรผูใ้ ช้นวัตกรรม (User Participation
Model), UP
4. การเผยแพร่ แบบผสม (Electric Process of change Model) , EPC
วิเครำะห์ รูปแบบกำรเผยแพร่ นวัตกรรม
๏ การเผยแพร่ โดยใช้อานาจเบื้องสูง อาจล้มเหลวหากไม่ใช้ข้ นั ตอน
วิธีการตามทฤษฎีการเผยแพร่
๏ การเผยแพร่ แบบใช้มนุษยสัมพันธ์ เน้นตัวกลางและประชากรมี
กิจกรรมร่ วมกันและปฏิบตั ิตามทฤษฎีการเผยแพร่
๏ การเผยแพร่ แบบอิงประชากรผูใ้ ช้นวัตกรรม จะให้ความสาคัญกับ
ผูใ้ ช้นวัตกรรมและผลกระทบต่อบุคคลชุมชนรวมถึงผูใ้ ช้
๏ การเผยแพร่ แบบผสม ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสังคมใช้ทฤษฎี
การเผยแพร่ เน้นตัวนวัตกรรมที่สร้างโดยผูเ้ ชี่ยวชาญและความร่ วมมือ
ของผูใ้ ช้
5. กำรศึกษำรู ปแบบและงำนวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง
๏ ศึกษารู ปแบบต่าง ๆ ที่เกิดจากการทดลองนาทฤษฎีการเผยแพร่ ไป
ประยุกต์ใช้ในลักษณะบูรณาการกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการ
เรี ยนการสอน
๏ ศึกษารู ปแบบการวางแผน การประเมินผล การนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยีไปใช้ในการเรี ยนการสอน
๏ ศึกษารู ปแบบกระบวนการการบูรณาการนวัตกรรมเทคโนโลยีบน
ฐานความรู้ทฤษฎีการเผยแพร่
ประเภทงานวิจยั ที่เกี่ยวกับทฤษฏีการเผยแพร่
1. การศึกษาอัตราเร็ วของการยอมรับนวัตกรรมในสังคมใดสังคมหนึ่ง
2. การศึกษาอัตราเร็ วของการยอมรับนวัตกรรมในสังคมหลายๆแห่ง
3. การศึกษาคุณสมบัติของนวัตกรรมและความสัมพันธ์
4. การศึกษาลักษณะของผูน้ ิยมนวัตกรรม (Innovators)
5. การศึกษาถึงการรับรู้นวัตกรรมในระยะแรกของประชากรเป้ าหมาย
6. การศึกษาอิทธิ พลของผูน้ าต่อการเผยแพร่ นวัตกรรม
7. ลักษณะของการสื่ อสารที่ใช้ในกระบวนการเผยแพร่
8. การศึกษาผลกระทบจากการใช้นวัตกรรม
(เคฟลิน & ฟรี เกล, 1966) (โคฮีเนอร์, 1964) (เดฟลิน &
ฟรี เกล, 1967) (ด้อยชมานและบอร์ดา, 1962) (ราฮิม,
1961) (กรี นเบอร์ต, 1964) (โรเจอร์ส & แวนเอส, 1964 /
บูติค & ก๊อดชอล์ค, 1994 / สาลี ทองธิว, 2544) (ไรอัน &
กรอส, 1943) (ชาร์ป, 1952)
งำนวิจัยศึกษำรู ปแบบกำรเผยแพร่ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
Toward a Holistic Model for the Diffusion of Education Technology :
An Integrative Review of Education Innovation Studies (Kim E Dooley
,1999)
งำนวิจัยศึกษำรู ปแบบกำรเผยแพร่ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
A preliminary Model of Internet Diffusion within Developing Countries
(Bayaarma Bazar , 1997)
A Model for Integrating Instruction Technololgy into
Higher Education (Daniel W.Surry,2002)
Technology Integration Model for Teacher
(Jim Nichols,2001)
A Model for Technology Integration 2000 - 2001
(HA.Trimmer and Other ,2000 - 2001)
The “Capital Area Technology and Inquiry in Education” (CATIE) Situated
Professional Development and Technology Integration : The CATIE Mentoring
Program (Karen Swan and Others , )
The “Capital Area Technology and Inquiry in Education” (CATIE) Situated
Professional Development and Technology Integration : The CATIE Mentoring
Program (Karen Swan and Others , )
Technology Integration Planing Model
๏ PHASE 1 ท้องถิ่น โรงเรี ยน ห้องเรี ยน ครู เตรี ยมตัวให้รู้จกั กับ
เทคโนโลยี นวัตกรรมใช้ทฤษฎีการแพร่ กระจาย
๏ PHASE 2 การวางแผน ประเมินผล การยอมรับนวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ได้รู้ถึงผลลัพธ์
๏ PHASE 3 การวางแผนการสอน โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
Technology Integration Planing Model
๏ PHASE 4 สร้างข้อกาหนด เกี่ยวกับเทคโนโลยี
และนวัตกรรมขั้นต่าและขั้นสู ง
๏ PHASE 5 การสะท้อนกลับ (Reflection) ว่ากาลังทางานอะไรอยู่
จะต้องรู้อะไร ที่ดีกว่าด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
Generation WWW . Y . model
(Integration of model Technology into the school curriculum)
Project of the Olympia School Distric in Olympia Washington
Project TALENT : Infusing technology in K - 12 Field Placements
Through a Learning Community Model (Lorraine Sherry , 2003)
E - Education Model ( Innovation for Tcehnology in Education)
( Jon J.Denton and Others , 2000 )
The Learning / Adoption Trajectory
(Lorraine Sherry and Others , 1999)
Diffusion of Web Technology (Kathy Rutkowski , 2000)
1. New channel of Communication
เป็ นช่องทางที่สนับสนุนการสื่ อสารมวลชนและการสื่ อสารระหว่างบุคคลได้ดี
2. New structure and space for human interaction
จากการเรี ยนรู ้ , การสอน , ความร่ วมมือกัน , การวิจยั , รายงานบนสิ่ งพิมพ์ , การ
นาเสนอในลักษณะของ Virtual World แข่งขันกับ Real World เช่น Virtual
Classroom กับ Campus Classroom และ Virtual Seminar กับ Real Seminar
Lasswell’s Formular and Models of Transmission
For our purposes we will modify formula and ask
A Model of the Web Innovation and as a Channel of Communication
(Katty Rutkowski , 2000)
WHO????
EDUCATORS
LEARNERS
MANAGERS/ADMINISTRATORS
HUMAN RESOURCES/PROFESSIONAL DEVELOPMENT
ASSOCIATIONS
RESEARCHERS
PUBLISHERS
CURRICULUM DESIGNERS
PARENTS
LEARNING INSTITUTIONS
LEARNING SYSTEMS
INDIVIDUALS
INFORMAL GROUPS
ORGANIZATIONS
SUBGROUPS
A Model of the Web Innovation and as a Channel of Communication
(Katty Rutkowski , 2000)
USES THE WEB
FOR WHAT PURPOSE?
PROMOTE CHANGE
BUILD NEW CULTURES OF TEACHING AND LEARNING
BUILD NEW CULTURES OF MANAGEMENT AND NEW LEADERSHIP
CREATE NEW CURRICULUM & EDUCATIONAL CONTENT
PROMOTE NEW STRUCTURES OF LEARNING
SUPPORT ORGANIZATION EFFICIENCY AND GROWTH
RESEARCH
SCHOLARLY PUBLISHING
PROFESSIONAL DEVELOPMENT
A Model of the Web Innovation and as a Channel of Communication
(Katty Rutkowski , 2000)
WITH WHAT RESISTANCE?
TECHNOLOGICAL
POLITICAL-ECONOMIC
SOCIO-CULTURAL
ORGANIZATIONAL
MANAGEMENT/LEADERSHIP
PEDAGOGIC
A Model of the Web Innovation and as a Channel of Communication
(Katty Rutkowski , 2000)
AND WITH WHAT EFFECT?
Measurement Tools and Methods
Success Indicators (Performance, Productivity)
ข้ อสรุปจำกกำรศึกษำรูปแบบและงำนวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
๏ รู ปแบบที่สร้างขึ้นมีพ้นื ฐานมาจากทฤษฎีการเผยแพร่
๏ รู ปแบบที่สร้างขึ้นมีข้ นั ตอนและองค์ประกอบที่มีความใกล้เคียงกัน
๏ รู ปแบบที่สร้างขึ้นให้ความสาคัญกับบุคคลหรื อผูใ้ ช้นวัตกรรม
๏ รู ปแบบที่สร้างขึ้นให้ความสาคัญกับตัวนวัตกรรมและเทคโนโลยี
๏ รู ปแบบที่สร้างขึ้นมีการศึกษาความต้องการและโครงสร้างพื้นฐาน
ของผูใ้ ช้และสังคม มีการทดสอบประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิเครำะห์ ข้นั ตอนกำรบูรณำกำรนวัตกรรมและเทคโนโลยี
กำรศึกษำจำกกำรศึกษำค้ นคว้ ำ
1. ขั้นเตรียมกำร (Preparation)
- สารวจเทคโนโลยีที่เหมาะสมและจาเป็ น
- แจ้งให้สมาชิกได้รับทราบ (ชุมชน , ผูส้ อน , ผูเ้ รี ยน)
- อบรมให้ความรู้ทดลองใช้ เกิดความมัน่ ใจ
- นาไปออกแบบประยุกต์ใช้ได้ดว้ ยตนเอง
Grounded
วิเครำะห์ ข้นั ตอนกำรบูรณำกำรนวัตกรรมและเทคโนโลยี
กำรศึกษำจำกกำรศึกษำค้ นคว้ ำ
2. ขั้นนำไปใช้ (Implementation)
- ออกแบบการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมไปใช้งาน
- ประเมินผลและพัฒนาการใช้งาน
- สะท้อนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมมาสู่ชุมชน ผูส้ อน ผูเ้ รี ยน
และผูเ้ กี่ยวข้อง
วิเครำะห์ ข้นั ตอนกำรบูรณำกำรนวัตกรรมและเทคโนโลยี
กำรศึกษำจำกกำรศึกษำค้ นคว้ ำ
3. ขั้นขยำยผล (Extending)
- นาความรู้ความชานาญที่ได้แนะนา อบรม ช่วยเหลือผูอ้ ื่น
- สร้างวัฒนธรรมการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้งานแบบ
ยัง่ ยืน และสร้างเครื อข่ายสมาชิก
งำนวิจัยเกีย่ วกับลักษณะตัวบุคคลกับกำรยอมรับนวัตกรรม
- เพศ ทาให้การยอมรับนวัตกรรมการเรี ยนการสอนแตกต่างกันและเพศชายมี
แนวโน้มใช้อินเตอร์เน็ตมากกว่าเพศหญิง
(รุ่ งฟ้ า รักษ์วิเชียร,2525) (อุทุมพร นิยมชาติ,2533) (Jarmaledin,1996)
- อำยุ มีความสัมพันธ์กบั การยอมรับ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
(Rogers,1983) (วีรวุฒิ พึ่งเจริ ญ,2538) (วีรยุทธ บุญไวโรจน์,2536) (พัชรา
ภรณ์ ผางสระน้อย,2540) (นิตยพร แสงพันธ์,2527)
- วุฒกิ ำรศึกษำ ที่แตกต่างกันมีการยอมรับและความต้องการใช้
นวัตกรรมแตกต่างกัน (สาลี ทองธิว,2526) (อุทร นิยมชาติ,2533)
(อภิญญา สุ ขาสกุล,2527) (พัชราภรณ์ ผางสระน้อย,2540) (สุ ภาพร
บุญปล้อง,2540)
- ประสบกำรณ์ ในกำรสอน ประสบการณ์ในการสอนมีความสัมพันธ์
กับการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ประสบการณ์นอ้ ย
ใช้มากกว่า ประสบการณ์มาก (ชูชาติ บุญชู ,2524) (อุไร ถาวรงามยิง่
สกุล,2528) (สมบูรณ์ ลักษณนุกิจ,2527)(บุรินทร์ บุรัตน์,2527) (พัชรา
ภรณ์ ผางสระน้อย,2540)
งำนวิจัยสภำพของระบบสั งคมในกำรยอมรับนวัตกรรม
สรุปได้ ว่ำ ระบบสังคมไม่วา่ จะเป็ น วัฒนธรรมขององค์กร นโยบาย
ขององค์กร หรื อผูน้ าของระบบขององค์กรนั้น มีส่วนเกี่ยวข้อง
ต่อการตัดสิ นใจ ยอมรับนวัตกรรมของบุคคล
(Fullen,1993อ้างถึงใน Drury,1995)(Camber,1995)
(Wesley,1997) (สุ ภาภรณ์ ทองเจริ ญ,2527) (บุรินทร์ บุรัตน์,2527)
(พัชราภรณ์ ผางสระน้อย,2540)
งำนวิจัยด้ ำนเจตคติต่อกำรยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
-
สรุปได้ ว่ำ กลุ่มผูย้ อมรับนวัตกรรมก่อนผูอ้ ื่นมีเจตคติต่อการใช้อินเตอร์เน็ต
ในด้านบวกมาก
- การมีเจตคติบวกต่อเทคโนโลยีมีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีของ
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน
- นักศึกษาสายการศึกษามีทศั นคติดา้ นบวก มีความมัน่ ใจสูงและคิดว่า
คอมพิวเตอร์มีประโยชน์สูงกว่านักศึกษาสายธุรกิจและอุตสาหกรรม
(Wheeles,1996) (Gbomita,1994) (Gunter,1994) ( Riggs,1994)
งำนวิจัยลักษณะของนวัตกรรมต่ อกำรตัดสิ นใจยอมรับ
สรุปได้ ว่ำ – ลักษณะของนวัตกรรม ด้าน Relative Advantage เป็ น
ปัจจัยที่สาคัญที่สุดและเป็ นปัจจัยด้านบวกต่อการยอมรับ
-- คุณลักษณะด้านความซับซ้อนของนวัตกรรมและการไม่มีเวลา
ใช้เป็ นอุปสรรคต่อการยอมรับอินเตอร์เน็ต
(Goldenfarb,1995 อ้างถึงใน Surenda,1996)(Boulware,1994)
(Johnson,1995)
ผลงำนวิจัยของ สุ ทธิพงษ์ หกสุ วรรณ (2537) ศึกษารู ปแบบ
การแพร่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมพบว่า หัวหน้า
โครงการน้ าพระทัยจากในหลวง 93%เห็ นด้วยกับรู ปแบบ
การแพร่ ว่ า เหมาะสมและหั ว หน้ า โครงการที่ ป ระสบ
ความส าเร็ จ มี ค วามเห็ น ว่ า รู ปแบบการแพร่ กระจายที่
เหมาะสม ต้องใช้วธิ ีระบบ
ผลงำนวิจยั ของ สำโรจน์ แพ่ งยัง (2536) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผล
กระทบต่อการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาของนักฝึ กอบรม
ไทย พบว่า
1. ปั จ จัย เชิ งสาเหตุ ด้านพฤติ ก รรมติ ด ต่ อสื่ อ สาร ทัศนคติ แรงจู ง ใจ มี
อิทธิพลโดยตรงต่อการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
2. ปั จจัยเชิงสาเหตุ ด้านคุณสมบัติส่วนตัว คุณลักษณะองค์การ มีอิทธิ พล
ทางอ้อมฯโดยผ่านตัวแปร ความรู ้ เจตคติและแรงจูงใจ
3. มิติ 3 ด้านของการยอมรับฯ(ปริ มาณ,ความคงทน,ความไว) พบว่าตัว
แปรต้นส่ งอิทธิพลต่อตัวแปรตามทั้ง 3 ด้านแตกต่างกัน
4. พฤติกรรมและกระบวนการตัดสิ นใจยอมรับฯ แตกต่างกันชัดเจน ด้าน
การนาไปใช้ ปัจจัยด้านความรู ้ พฤติกรรมการติดต่อสื่ อสารและแรงจูงใจ
จากผลการวิจยั ดังกล่าว นอกจากการศึกษาตัวบุคคลในด้าน
คุณลักษณะ เจตคติ ประสบการณ์ ความรู้สึก ประโยชน์ที่ได้ ฯลฯ ของ
ตัวบุคคลแล้วนั้น จะเห็นได้ว่า ระบบสั งคม ไม่ว่าจะเป็ นวัฒนธรรม
ขององค์ก าร นโยบายขององค์การ หรื อผูน้ าของระบบสังคม ของ
องค์การนั้น มี ส่วนเกี่ ยวข้องต่อการตัดสิ นใจยอมรั บนวัตกรรมของ
บุคคล ดังนั้นการศึกษาวิจยั กระบวนเผยแพร่ และกระบวนการยอมรับ
จึ ง ควรศึ ก ษาสภาพแวดล้อ มตัว บุ ค คลนั้น ด้ว ย เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้อ มู ล ที่
สมบูรณ์และมองภาพรวมได้ชดั เจนยิง่ ขึ้น
6. ข้ อเสนอแนะและประเด็นกำรอภิปรำย
ข้ อเสนอแนะ
1. การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีไปใช้ควรคานึงบุคคล องค์กรและ
สังคมที่จะได้รับผลกระทบ
2. การนาทฤษฎีการเผยแพร่ มาบูรณาการกับการใช้วตั กรรม และ
เทคโนโลยีจะทาให้เกิดผลสาเร็ จมากกว่าความล้มเหลวและสิ้นเปลือง
ทรัพยากรน้อย
3. นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่จะเผยแพร่ ควรได้รับการออกแบบ
เพื่อหา รู ปแบบ (Model) ที่เหมาะสม
4. สาหรับผูท้ ี่จะศึกษานาไปใช้ ควรติดตามการหารู ปแบบ (Model) ที่จะ
ลดเวลาในการเผยแพร่ กับ บุ ค คลและสั ง คมให้ ม ากที่ สุ ด หรื อสร้ า ง
รู ปแบบ (Model) ที่ทาให้ผใู้ ช้ยอมรับได้เร็ วที่สุด
5. ในประเทศไทยควรมีโครงการวิจยั ในการนาทฤษฎีการเผยแพร่ และ
การสร้างรู ปแบบ (Model) สาหรับบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
เพื่อใช้ในการเรี ยนการสอนให้ได้ผลอย่างแท้จริ งตาม พ.ร.บ.การศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ประเด็นกำรอภิปรำย
สภำวะกำรบูรณำกำรนวัตกรรมและเทคโนโลยีกำรศึกษำของ
ประเทศไทย (ตำมทฤษฎีกำรเผยแพร่ ??????)
• กำรศึกษำในระบบ
- การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- การศึกษาอาชีวศึกษา
- การศึกษาอุดมศึกษา
• กำรศึกษำนอกระบบ
• กำรศึกษำตำมอัธยำศัย