นโยบายการค้าระหว่างประเทศของสหภาพยุโรป

Download Report

Transcript นโยบายการค้าระหว่างประเทศของสหภาพยุโรป

นโยบายการค้ าระหว่ างประเทศของสหภาพยุโรป
และความสัมพันธ์ ทางการค้ ากับประเทศไทย
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันพุธที่ 28 กันยายน 2554
โดย
อุดมเดช ศรีมาเสริม
Email: [email protected]
เจ้าหน้าทีก
่ ารคาและเศรษฐกิ
จ คณะผูแทนสหภาพยุ
โรปประจาประเทศไทย
้
้
(Delegation of the European Union to Thailand)
คณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจาประเทศไทย
► เจ้ าหน้ าที่ประจาประมาณ 70 คน
► เอกอัครราชทูตหัวหน้ าสานักงาน
คณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจา
ประเทศไทย คือ Mr. David
Lipman (Head of Delegation)
► มี 5 หน่ วยงานหลักๆคือ
1.
2.
3.
4.
5.
Political, Press and Information
Trade & Economic;
Operations;
Finance, Contracts, Audit; and
Administration
ฝ่ ายการค้ าและเศรษฐกิจ (Trade Section)
► เจ้ าหน้ าที่ประจา 8 คน
► มีหน้ าที่ประสานงานกับเจ้ าหน้ าที่รัฐและเอกชน
เช่น กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง
กระทรวงต่างประเทศ แบงค์ชาติ หอการค้ าไทย
คณะกรรมการภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.)
กรมเจรจาการค้ าฯ ฯลฯ
คณะผูแ้ ทนฯต่างจากสถานทูตอย่างไร?
►
เสาหลักทัง้ สามของสหภาพยุโรป
►
นโยบายการค้าเป็ นหนึ่ งในประเด็น
ภายใต้ European Communities ที่อี
ยูตกลงที่จะกาหนดทิศทางร่วมกัน
►
คณะผูแ้ ทนฯ เป็ นตัวแทนสถาบัน
เหล่านี้ ซึ่งมีอานาจสิทธ์ ิ ขาดจาเพาะใน
การกาหนดนโยบายแทนประเทศ
สมาชิก
►
สถานทูตมีหน้ าที่ดแู ลเรื่องอื่นๆ เช่น
► วีซ่า และกฏเกณฑการเข
า้ ออก ประเทศ
์
ความเป็ นมาของสหภาพยุโรป (การค้า)
►สหภาพยุโรปได้ รับความเสียหายจากสงครามโลกครั ง้ ที่สอง
►สูญเสียประชากรไปกว่า 97 ล้ านคนในช่วงเวลาไม่ถึง 50 ปี ...
►ผู้บริหารประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปต้ องหาวิธีแก้ ไขอย่ างเร่ งด่ วน
►เกิดความคิดที่จะใช้ ความสัมพันธ์ทางการค้ ายับยังสงคราม
้
►เป็ นไปได้ ? อย่างไร?
►ความผูกพันธ์ทางการค้ าสามารถลดดีกรี บรรยากาศของสงครามได้
►ปี 1952 มีการรวมตัวประชาคมถ่ านหิน
และเหล็กกล้ าแห่ งยุโรป หรื อ European
Coal and Steel Community (ECSC)
►การซื ้อขายวัตถุดิบเพื่อสร้ างอาวุธเพื่อการ
ทาสงครามกันเองเป็ นไปได้ ยาก
ความเป็ นมาของสหภาพยุโรป (การค้า)
► ปี 1958 เริ่ มการจัดตั ้ง European Economic Community (EEC), Common Market,
European Atomic Energy Community (EURATOM)
► ปี 1967 จัดตั ้ง European Communities โดยการรวม European Coal and Steel
Community, European Economic Community, European Atomic Energy Community
► ปี 1968 เริ่ มสหภาพศุลกากร (Customs Union)
► ปี 1993 การรวมตัวเป็ นสหภาพยุโรป (European Union), และเริ่ มการเป็ นตลาดเดียว (Single
Market) โดยการเปิ ด 4 เสรี คือ คน, การค้ า, การลงทุน, และการบริ การ
► ปี 1999 เริ่ มขั ้นตอนของแผนสร้ างสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (Economic and Monetary
Union) ประเทศที่ยงั ไม่เข้ าในยูโรโซน คือ Bulgaria, the Czech Republic, Denmark, Hungary,
Latvia, Lithuania, Poland, Romania, Sweden, and the United Kingdom)
► ฯลฯ
Key Concepts
►ภาษีศุลกากร (Tariff)
► ภาษีที่เรี ยกเก็บจากการสัง่ สินค้ าเข้ ามาจากต่างประเทศ จะเก็บตามราคา (Ad valorem) หรื อ
เก็บเป็ นร้ อยละของมูลค่าสินค้ า หรื อตามปริ มาณของสินค้ าที่นาเข้ า
►การค้ าเสรี (Free Trade)
► การซื ้อขายสินค้ าและบริ การระหว่างประเทศโดยไม่มีการเก็บภาษีศลุ กากร และการกีดกันทาง
การค้ าอื่นๆ รวมไปถึงการเคลื่อนย้ ายแรงงานและทุนข้ ามเขตแดนระหว่างประเทศโดยอิสระ
►สหภาพศุลกากร (Custom Union)
► รูปแบบการรวมกลุม่ ที่คล้ ายคลึงกับเขตการค้ าเสรี ยกเว้ นประเทศสมาชิกในกลุม่ มีข้อตกลงทาง
การค้ า (รวมทังภาษี
้ ศลุ กากร) กับประเทศนอกสมาชิกรวมกัน
►ตลาดร่ วม (Common Market)
► การรวมกลุม่ ในรูปแบบสหภาพศุลกากร แต่อนุญาตให้ มีการเคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิตผ่าน
พรมแดนของประเทศสมาชิกได้ เช่น ปั จจัยทุน แรงงาน เทคโนโลยี
การค้าเสรีของสหภาพยุโรปในขณะนัน้
8%
17%
3%
12 %
25%
1%
ความเป็ นมาของสหภาพยุโรป (การค้า)
►การค้ าเสรี ระหว่ างประเทศสมาชิกกลับยังไม่ เพียงพอ เพราะ...
► ถึงแม้ ว่าการค้ าภายในอียจู ะไม่มีการเก็บภาษีศลุ กากร แต่การนาเข้ าสินค้ าจากประเทศที่สามยัง
ประลบปั ญหาเพราะภาษีนาเข้ าของแต่ละประเทศยังแตกต่างกัน
► ผู้นาเข้ าหาทางนาเข้ าผ่านประเทศในอียทู ี่มีภาษีนาเข้ าน้ อยที่สดุ
►ต่ อมาอียูตัดสินใจก่ อตัง้ สหภาพศุลกากร หรื อ Customs Union ที่มีระบบการ
เก็บภาษีต่อประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน หรื อที่เรี ยกว่ า Common
External Tariff เพื่อการนาไปสู่ความเป็ น “ตลาดเดียว” หรื อ Single Market
►ความพยายามนีห้ มายถึงการที่นโยบายและมาตราฐานในการนาเข้ าต่ างๆ
จะต้ องทาให้ เกิดการบูรณาการให้ เป็ นหนึ่งเดียวในบรรดาประเทศสมาชิก
(Single set of health and other trade requirements)
ความเป็ นตลาดเดียว หรือ Single Market
►Single Market เป็ นรากฐานที่สาคัญในการก่ อตัง้ สหภาพยุโรป...
►Single Market มีลักษณะอย่ างไร?
► สหภาพศุลกากร หรื อ Customs Union (free trade within, common external tariffs,
common trade policy);
► นโยบายทางการค้ าร่ วมกัน หรื อ Common Policies (e.g. product regulations);
► การเคลื่อนย้ ายปั จจัยการผลิตผ่ านพรมแดนของประเทศสมาชิกที่เป็ นอิสระ หรื อ
Freedom of Movement of factors of production (capital and labour)
►การพัฒนาที่สืบเนื่องจากการเป็ น Single Market …
► Elimination of physical barriers (border controls);
► Elimination of technical barriers (standard controls); and
Elimination of fiscal (taxes) barriers among the Member States.
► Common (supranational) institutions, common economic policies, common
currency…
ความเป็ นตลาดเดียวของสหภาพยุโรป
8%
8%
8%
8%
8%
8%
สินค้าส่งออกของประเทศไทยไปยังอียู
►การส่ งออกจากประเทศไทยไปยังสหภาพยุโรป...
►จะมีการเก็บภาษี นาเข้ าในอัตราที่เท่ากันไม่วา่ จะนาเข้ าผ่านประเทศใด้ ในอียู
►เมื่อสินค้ าได้ ผ่านประเทศนันๆตามหลั
้
กพิธีทางศุลกากรที่ถกู ต้ องจากประเทศ
นันๆแล้
้ ว สินค้ าดังกล่าวสามารถเคลื่อนที่ระหว่างประเทศสมาชิกอียไู ด้ โดยที่ไม่
ต้ องมีพิธีการใดๆอีก
►เนื่องจากสหภาพยุโรปใช้ อัตราภาษีนาเข้ าร่ วมกัน (Common External Tariff)
►สหภาพยุโรปจึงมีอานาจเบ็ดเสร็จในการกาหนด เจรจา และเปลี่ยนแปลงอัตรา
ภาษี นาเข้ า (e.g. การเจรจา Free Trade Agreement หรื อการค้ าเสรี )
►บทบาทของ EU Delegation หรื อ คณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจาประเทศไทย
ในการติดต่อและประสานงานในประเทศนันๆ
้ ในนามของสหภาพยุโรป
►ทังนี
้ ้ สหภาพยุโรปยังมีอานาจในการปรับเปลี่ยนกฏเกณฑ์และมาตราฐานต่างๆ
ที่เกี่ยวกับการนาเข้ าสินค้ าจากประเทศที่สามอีกด้ วย
ภาษี ศลุ กากร และ
การเข้าถึงตลาด
สหภาพยุโรป
สหภาพยุโรปในเวทีการค้าโลก
►27 ประเทศสมาชิก
►ประเทศที่กาลังรอที่จะเข้ าเป็ นสมาชิก:
Croatia, Macedonia, Turkey as well as
Albania, Montenegro, Serbia, Iceland,
Bosnia & Herzergovina and Kosovo
►ประชากรประมาณ 500 ล้ านคน
► ใกล้ เคียงกับ ASEAN มากกว่า US เป็ น
สองเท่า
►GDP per capita US $ 24,700
►เป็ นตลาดเดียว (Single Market) ที่มีขนาดใหญ่ ท่ ีสุดในโลก
สหภาพยุโรปในเวทีการค้าโลก
20% ของการค้ าโลกทัง้ หมด:
19% ของการค้ าด้ านสินค้ าของโลกทัง้ หมด,
24% ของการค้ าด้ านบริการของโลกทัง้ หมด
เป็ นผู้ส่งออกราย
ใหญ่ ท่ ีสุดในโลก
A major
trading power
เป็ นผู้นาเข้ าราย
ใหญ่ ท่ ีสุดในโลก
Foreign direct investment (FDI):
• 46% ของการลงทุน (FDI) ทัง้ หมดมาจาก EU
• EU รองรั บ 20% ของการลงทุน (FDI) ทัง้ หมด
สหภาพยุโรปในเวทีการค้าโลก
บทบาททางการค้ าของ EU ด้ านสินค้ าและบริการ
%
30
World Trade in Goods and Services
25
20
Japan
US
EU
15
10
5
0
Share in world trade in goods
Share in world trade in services
สหภาพยุโรปในเวทีการค้าโลก
บทบาทในภาคการลงทุนของ EU (เข้ า และ ออก)
%
Share in investments
(inflows & outflows)
35
30
25
20
15
10
5
0
Japan
US
EU
การค้าของสหภาพยุโรปในเวทีโลก
Multilateral
Bilateral/Regional
(พหุภาคี)
(ทวิภาคี)
3 dimensions
(e.g. WTO)
(e.g. FTA)
Unilateral
(ให้ ฝ่ายเดียว)
(GSP)
Multilateral (พหุภาคี)
Multilateral
Mostly implemented in the framework of the WTO (153
members) with the aim of promoting market access with rules,
in the context of effective global governance.
(พหุภาคี)
…การเจรจาในระดับพหุภาคีของสหภาพ
ยุโรปจะอยู่บนพืน้ ฐานของกฏเกณฑ์ ของ
For example สิ่งเหล่ านี:้
for Trade in Goods;
•ประเด็นในด้ านสิง่ แวดล้ อม
•ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์อาหาร
 policies such as “tariff
reduction” and technical barriers
•ความหลากหลายในเชิงวัฒนธรรม
to trade.
•มาตรฐานด้ านแรงงาน
•ฯลฯ.
“Despite the slow progress, completing the Doha Round remains our top priority”
(Source: Trade, Growth and World Affairs: Trade Policy as a core component of the EU’s 2020 strategy)
Bilateral (ทวิภาคี)
In addition to the WTO's multilateral negotiations, the EU concludes bilateral agreements
and devises specific trading policies with third countries and regional areas...
ความตกลงระดับทวิภาคีท่ สี าคัญของสหภาพยุโรป:
•
•
•
•
Economic Partnership Agreements (EPA)
FTAs with EFTA, EEA, Euromed, Mexico, South Africa
Customs Unions with Turkey, Andorra and San Marino
Partnership and Cooperation Agreements with Russia and Ukraine
Bilateral/Regional
(ทวิภาคี)
(e.g. FTA)
Free Trade Agreements ที่เพิ่งมีขนึ ้ เมื่อเร็วๆนี.้ ..
• Concluded – Korea, Peru, Colombia and Central America.
• Advance stage – the Gulf countries, India, Canada, and Singapore
• Ongoing – Malaysia (+ potential for other ASEAN countries)
“Completing our current agenda of competitiveness-driven FTAs remains a priority”
(Source: Trade, Growth and World Affairs: Trade Policy as a core component of the EU’s 2020 strategy)
Unilateral (การให้ฝ่ายเดียว)
►ในการประชุมครัง้ แรกของ United Nations Conference on Trade and Development
(UNCTAD) ในปี 1968 ได้ เสนอให้ มีการจัดทาสิทธิพิเศษทางภาษี ศลุ กากรเป็ นการทัว่ ไป
หรื อที่เรี ยกว่า "Generalized System Tariff of Preferences" (GSP)
►ในโครงการนี ้ ประเทศอุตสาหกรรมที่พฒ
ั นาแล้ วจะมีการให้ สิทธิประโยชน์ตอ่ ประเทศที่
กาลังพัฒนาทังหมดโดยสามารถใช้
้
แนวทางการปฏิบตั ิที่ประเทศนันๆก
้ าหนดขึ ้นเอง
►ในปี 1971 ประเทศที่พฒ
ั นาแล้ วได้ รับมอบหมายให้ เริ่มแนวทางการปฏิบตั ิ "Generalised
Schemes of Tariff Preferences". (The acronym "GSP" sometimes refers to the
system as a whole, sometimes to one of the individual schemes).
►...โดยที่ European Community เป็ นกลุ่มแรกที่เริ่มดาเนินการใช้ GSP ในปี 1971
Unilateral (การให้ฝ่ายเดียว)
►“Unilateral measures as an additional trade policy instrument”
► เน้ นการช่วยเหลือทางด้ านความในการพัฒนาและความมัน่ คงทางการเมือง
สาหรับประเทศที่ได้ รับผลประโยชน์
►Key concept of Unilateral = Non-reciprocal  unreciprocated (one way)
benefits for recipient countries
►สาหรับอียแู ล้ ว Generalized System of Preferences (GSP) มีด้วยกัน 3 รูปแบบคือ:
►General GSP;
►GSP+ ; and
►Everything But Arms (EBA)
Unilateral (การให้ฝ่ายเดียว)
General GSP
(สิทธิพิเศษทัว่ ไป)
►จุดประสงค์ ในการให้ : Standard preferential treatment to beneficiary countries to
contribute to
►reduction of poverty;
►promotion of sustainable development; and
►good governance.
►สิทธิประโยชน์ : Granted to products imported from GSP beneficiary countries
either duty-free access or a tariff reduction depending on the sensitivity of the
product and the GSP arrangement enjoyed by the country concerned.
►ประเทศที่ได้ รับสิทธิประโยชน์ : 176 Developing countries including Asian
countries and Thailand
Unilateral (ให้ฝ่ายเดียว)
GSP+
(สิทธิประโยชน์ภายใต้ มาตรการจูงใจสาหรับการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิบาล)
►จุดประสงค์ ในการให้ : Preferential treatment for vulnerable countries which
ratify and implement certain international standards
► incentive for sustainable development and good governance
►เกณฑ์ ในการให้ :
►i) Classified as a vulnerable country (ประเทศที่มีความต้ องการการพัฒนาเป็ นพิเศษ)
►ii) Ratified and implemented key human and labor rights conventions, and
11 environmental and good governance conventions
►ประเทศที่ได้ รับสิทธิประโยชน์ : (2009-2011) 16 countries: Armenia, Azerbaijan,
Bolivia, Colombia, Costa Rica, Ecuador, El Salvador, Georgia, Guatemala, Honduras,
Mongolia, Nicaragua, Paraguay, Peru, Sri Lanka, Venezuela
Unilateral (การให้ฝ่ายเดียว)
Everything But Arms (EBA)
(สิทธิประโยชน์สาหรับประเทศพัฒนาน้ อยที่สดุ )
►เกณฑ์ ในการให้ และสิทธิประโยชน์ : a special GSP arrangement for the least
developed countries (LDCs) for duty-free access to imports of all products
from LDCs with no quantitative restrictions, except arms and ammunitions.
►ประเทศที่ได้ รับสิทธิประโยชน์ : 49 Least Developed Countries
►ประเทศที่ใช้ สทิ ธิประโยชน์ สูงสุด: Bangladesh, Cambodia, Laos, Nepal,
Maldives
สิทธิประโยชน์ ที่ประเทศไทยได้รบั ...
►สิทธิ GSP สาหรั บประเทศไทย ในช่ วงปี 2009-2011
►ไทยได้ รับสิทธิภายใต้ ประเภทสิทธิพิเศษทัว่ ไป (General arrangement)
►ไทยถูกตัดสิทธิ GSP 1 กลุม่ สินค้ า คือกลุม่ สินค้ าอัญมณีและเครื่ องประดับ
(Chapter 71)
►ไทยได้ รับคืนสิทธิ GSP 1 กลุม่ สินค้ า คือ กลุม่ ยานพาหนะและอุปกรณ์ การขนส่งที่
เกี่ยวข้ อง (Chapters 86-89) ที่ถกู ตัดสิทธิช่วงปี 2006-2008
►ไทยสามารถใช้ กฎว่าด้ วยแหล่งกาเนิดสินค้ าแบบสะสมของอาเซียน
สรุปประเภทคู่ค้าของสหภาพยุโรป
ประเทศคู่ค้าของอียูแบ่ งได้ เป็ น 3 กลุ่มหลักๆคือ
1. ประเทศที่พัฒนาแล้ ว (Developed countries)
2. ประเทศที่กาลังพัฒนา (Developing countries – Up
to 176 countries with varying levels of development
generally below 11,000 USD GDP per capita).
3. ประเทศพัฒนาน้ อยที่สุด (Least-Developed
Countries – the 50 poorest countries in the world as
considered as such by the UN. GDP per capita below
900 USD approximately).
WTO Tariffs
(unless FTA)
GSP Tariffs
(-3.5%)
EBA Tariffs
(always 0%)
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับไทย
►(2010) อียูเป็ นคู่ค้าที่สาคัญเป็ นอันดับสี่ของไทย (9.6%, 16,000 ล้ านยูโร) รองจาก
อาเซียน (20.3%) ญี่ปุ่น (15.9%) และจีน (12.4%)
►อียูเป็ นตลาดส่ งออกที่สาคัญเป็ นอันดับสองของไทย (11.2%) รองจากอาเซียน
(23.1%) [จีน (11.2%)] – (แต่ส่วนแบ่งตลาดลดลงในช่วงทีผ่ ่านมา)
►สินค้ าส่ งออกของไทยที่สาคัญไปยังตลาดอียู
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับไทย
►อียูเป็ นแหล่ งนาเข้ าสินค้ าอันดับสี่ของไทย (7.9%) รองจากญี่ปุ่น (21.6 %)
อาเซียน (17.3 %) และจีน (13.8 %)
►ลาดับความสาคัญของคู่ค้าไทย
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับไทย
►ดุลการค้ าของไทยกับอียู...
►อียูลงทุน (FDI) ในไทยเป็ นอันดับต้ นๆ (ญี่ปุ่นเป็ นเบอร์ หนึ่ง)
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับไทย
►ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ใช้ สิทธิ GSP มากเป็ นอันดับสองรองจากอินเดีย (2008)
Imports under GSP
Total
imports
(2008)
GSP rate
=0
GSP rate
>0
MFN rate
=0
MFN rate
>0
2,235,377.02
2,324,077.03
6,310,196.64
5,282,159.84
Unallocated
13.9%
51.2%
65.2%
529,123.62
16,680,934.14
13.4%
Total
imports at
zero rate
Total
imports at
zero or
preferential
rate
Imports under MFN
37.8%
31.7%
3.2%
►ประเทศอื่นๆที่ใช้ สิทธิ GSP มากเป็ นรองลงมาคือ บราซิล (เพิ่งตกจากอันดับสอง)
บังกลาเทศ เวียดนาม อินโดเนเซีย มาเลเซีย ปากีสถาน ยูเครน ฯลฯ
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับ ASEAN
►ดุลการค้ าของ ASEAN กับอียู...
►ลาดับความสาคัญของคู่ค้าอาเซียน
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับ ASEAN
►สินค้ าอาเซียนนาเข้ าจากอียู
►สินค้ าที่อาเซียนส่ งออกไปอียู
การค้าระหว่างสหภาพยุโรปกับ ASEAN
►เม็ดเงินลงทุนในอาเซียนจากสหภาพยุโรปมีมากกว่ าอาเซียนลงทุนกันเอง
►แต่ ในปี 2009 พบว่ าการไหลเข้ าของการลงทุนจากอียูลดลง...
การเจรจา FTA ระหว่าง EU กับ ASEAN
► April 2005…อียแู ละอาเซียนจัดตังคณะท
้
างานเพื่อการพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
►EU and ASEAN set up a "Vision Group" to investigate the feasibility of new
initiatives including an FTA, to improve economic ties.
► 23 April 2007…คณะมนตรี แห่งสหภาพยุโรปยินยอมให้ เจรจา FTA กับอาเซียน
►Council authorized the Commission to start negotiating an FTA with ASEAN.
► 4 May 2007…คณะกรรมาธิการยุโรปด้ านการค้ าของอียเู ริ่ มการเจรจากับอาเซียน
►EU Trade Commissioner Peter Mandelson and ASEAN Economic Ministers
launched the FTA negotiations with ASEAN.
► March 2009…การเจรจาประสบปั ญหา “ตัวหารที่น้อยที่สดุ ” ของอาเซียน
►Both sides agreed to make a pause: slow/disappointing progress under region-toregion negotiations (lowest common denominator among ASEAN countries)
ความแตกต่างระหว่างอาเซียนกับอียู
17%
1%
25%
การเจรจา FTA ระหว่าง EU กับ ASEAN
• Dec 2009…EU MS approved a mandate for the Commission to pursue FTA
negotiations with individual ASEAN countries
สถานะล่ าสุดของการเจรจา...
► 3 Mar 2010  FTA launched with Singapore (เจรจารอบถัดไปอาทิตย์หน้ า)
► 5 October 2010  FTA launched with Malaysia (เจรจารอบถัดไปกลางเดือนนี ้ที่
Brussels และในเดือนกุมภาพันธ์ปีหน้ าที่ กัวลาลัมเปอร์ )
► ประเทศอาเซียนอื่นๆ…
ประเทศไทย???
►Vietnam (scoping exercise soon)
►Indonesia (EU-Indonesia Vision Group -- scoping exercise soon)
►Philippines – keen interest but awaiting clearer domestic positions
►Laos and Cambodia - More flexible RoOs as LDCs under EBA
รายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับนโยบายการค้ าของสหภาพยุโรป
http://ec.europa.eu/trade/
ขอบคุณครั บ