การค้ าในภูมิภาคอาเซียน และเพือ่ นบ้ าน สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ สมาชิกดั้งเดิม 6 ประเทศ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย และ บรูไน ดารุสซาลาม สมาชิกใหม่ 4

Download Report

Transcript การค้ าในภูมิภาคอาเซียน และเพือ่ นบ้ าน สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ สมาชิกดั้งเดิม 6 ประเทศ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย และ บรูไน ดารุสซาลาม สมาชิกใหม่ 4

การค้ าในภูมิภาคอาเซียน
และเพือ่ นบ้ าน
สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ
สมาชิกดั้งเดิม 6 ประเทศ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย และ บรูไน ดารุสซาลาม
สมาชิกใหม่ 4 ประเทศ : เวียดนาม ลาว พม่า
และกัมพูชา
Why ASEAN First Policy ?
หุ้นส่ วนทางเศรษฐกิจ
แหล่ งวัตถุดบิ และแรงงาน
ฐานการผลิตและการลงทุน
ตลาดสาคัญ ด้ วยประชากรกว่ า 500 ล้ านคน
หุ้นส่ วนทางเศรษฐกิจ


การเป็ นหุน้ ส่ วนทางเศรษฐกิจกับอาเซียน (การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจกับ
อาเซียน) จะช่ วยดึงดูดการลงทุนจากต่ างประเทศ (FDI) มายังไทยมากขึ้น
เนื่องจาก ในการแข่งขันกับจีนและอินเดีย ซึ่งเป็ นตลาดขนาดใหญ่ ไทยหรื อ
ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่งไม่น่าสนใจอีกต่อไป แต่หาก
เป็ นอาเซียนทั้งกลุ่ม จะช่วยเพิ่มโอกาสของไทยในการดึงดูด FDI นอกจากนี้
จะช่วยเพิ่มอานาจต่อรองของไทยในเวทีโลก
ในการนี้ ไทยต้องสร้างบทบาทตนเองเป็ นประตู (gateway) สู่ อาเซียน
แหล่ งวัตถุดบิ แรงงาน และพลังงาน


อาเซียนเป็ นแหล่งวัตถุดิบ แรงงาน และพลังงาน
เพื่อให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรดังกล่าว ไทยจะต้องสร้างความเชื่อมัน่ และ
ความไว้วางใจให้เกิดขึ้นกับประเทศเพื่อนบ้าน ผ่านกลไกต่างๆได้แก่
- AISP Scheme ซึ่ งเป็ นการให้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรแก่ประเทศ
สมาชิกใหม่อาเซียน
- Capacity building
ฐานการผลิต
- ประเทศ CLMV
สามารถเป็ นฐานการผลิตสิ นค้ า เนื่องจากมีวตั ถุดบิ และ
แรงงานราคาถูก และยังได้ รับสิ ทธิประโยชน์ ด้านภาษีจากประเทศพัฒนาแล้ ว
(GSP) เช่ น สหรั ฐฯ สหภาพยุโรป และญีป
่ นุ่ ดังนั้น การเข้ าไปลงทุนใน
ประเทศเพือ่ นบ้ าน ทาให้ ได้ รับประโยชน์ ในแง่ การยกเว้ นภาษีนาเข้ าตามกรอบ
GSP ทีป
่ ระเทศเหล่ านีไ้ ด้ รับ
- ในการนี้ ต้ องมีมาตรการจูง (incentives)
ทั้งจาก host และ home
country และมีการร่ วมทุน (joint venture) กับกลุ่มธุรกิจหลักๆของแต่ ละ
ประเทศ
เขตการค้าเสรีอาเซียน (อาฟต้า)
ASEAN Free Trade Area : AFTA
ความตกลงที่ใช้ในการดาเนินงานอาฟต้า
 ความตกลงแม่บทว่าด้วยการขยายความร่วมมือ
ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Framework
Agreement on Enhancing ASEAN
Economic Cooperation)
 ความตกลงว่าด้วยอัตราภาษี พิเศษที่เท่ากัน
สาหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน (Agreement on
the Common Effective Preferential Tariff
(CEPT) for the ASEAN Free Trade Area)
ก่อตัง้ อาฟต้า
ปี
1992
1
มกราคม
1993
เริ่มลดภาษี
วัตถุประสงค์
1.
สร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้าอาเซียนในตลาดโลก
2. ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
3. สร้างอานาจต่อรองในเวทีการค้าโลก
ขอบข่าย
ครอบคลุมสินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรแปรรูป และสินค้าเกษตร
ไม่แปรรูป โดยมีความยืดหยุน่ ให้แก่สินค้าอ่อนไหวได้
เป้าหมาย
ลดภาษีนาเข้าสินค้าทุกประเภทให้เหลือร้อยละ 0-5
และยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีระหว่างกัน
ยกเว้นเฉพาะบางชนิ ดสินค้าที่อาจส่งผลกระทบ ต่อ
ศีลธรรม ชีวติ และสุขภาพของมนุ ษย์ สัตว์ พืช หรือเพื่อ
เป็ นการคุม้ ครองศิลปะ โบราณวัตถุอนั มีค่า
กาหนดเวลาการลดภาษี
สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ
ปี 2003
ปี 2008
ลดภาษี เหลือ 0% ร้อย
ละ 60 ของ IL
ปี 2010
ลดภาษี เหลือ 0% ร้อย
ละ 80 ของ IL
ลดภาษี เหลือ 0% ร้อย
ละ 100 ของ IL
สมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ
ปี 2003
ให้เวียดนามลด
ภาษี เหลือ 0-5%
ให้มาก รายการ
ที่สดุ
ปี 2005
ให้ลาวและพม่า
ลดภาษี เหลือ 05% ให้มาก
รายการที่สดุ
ปี 2007
ปี 2015
ให้กมั พูชาลดภาษี ลดภาษีเหลือ 0%
ร้อยละ 100 ของ IL
เหลือ 0-5% ให้
มากรายการที่สดุ
เงื่อนไขของสินค้าที่จะได้รบั สิทธิประโยชน์อาฟต้า


อยูใ่ นแผนการลดภาษี (Inclusion List : IL) ของทั้งประเทศ
ส่งออกและนาเข้าและลดภาษีลงเหลือ 20% หรือตา่ กว่า
เป็ นสินค้าที่มีการผลิตในอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่ ง หรือ
มากกว่า 1 ประเทศ รวมกันแล้วคิดเป็ นมูลค่าอย่างน้อยร้อยละ
40 ของมูลค่าสินค้า
สถานะการลดภาษีของไทยภายใต้ AFTA

ตัง้ แต่ 1 มกราคม 2546 ไทยได้ นาสินค้ าทุกรายการเข้ ามาลดภาษี
แล้ ว (จานวนทัง้ สิน้ 9,211 รายการ) โดยที่
 5,527 รายการ (ร้ อยละ 60) มีอัตราภาษีร้อยละ 0
 ที่เหลือมีอัตราภาษีระหว่ างร้ อยละ 0.5-5
 มี 4 ชนิดสินค้ า (จานวน 7 รายการ) ที่เป็ นสินค้ าเกษตรไม่ แปร
รู ปที่อ่อนไหว ซึ่งยังคงมีอัตราภาษีสูงกว่ าร้ อยละ 20 แต่ จะต้ อง
ทยอยลดภาษีลงให้ เหลือร้ อยละ 0-5 ในปี 2553 ได้ แก่ กาแฟ
มันฝรั่ ง มะพร้ าวแห้ ง และไม้ ตัดดอก
* หมายเหตุ ในปี 2547 อาเซียนเริ่ มเปลี่ยนมาใช้ระบบพิกดั AHTN (ASEAN
Harmonized Tariff Nomenclature)
อาจทาให้จานวนรายการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง
ความตกลงการค้าบริการของอาเซียน
วัตถุประสงค์
- เพือ
่ ขยายความร่ วมมือด้ านบริการระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียน
- เพือ
่ ลดอุปสรรคและเปิ ดเสรีการค้ าบริการภายในกลุ่มสมาชิกอาเซียนให้
มากกว่ าทีแ่ ต่ ละประเทศมีพนั ธกรณีการเปิ ดเสรีในกรอบ WTO
การดาเนินการ
- เจรจาจัดทาข้ อผูกพันด้ านการเข้ าสู่ ตลาดและการประติบตั เิ ยีย่ งคนชาติ
และข้ อผูกพันอืน่ ๆ สาหรับทุกสาขาบริการ และทุกรู ปแบบการให้ บริการ เป็ น
รอบๆ โดยทีผ่ ่ านมา เจรจาไปแล้ ว 3 รอบ ขณะนี้ อยู่ระหว่ างการเจรจารอบที่ 4
มุ่งเน้ น 7 สาขาบริการ
การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

แนวคิดของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community: AEC) ได้ เริ่มขึน้ ตั้งแต่ การประชุมสุ ดยอด
อาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2545
ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา

ผู้นาอาเซียนได้ เห็นชอบให้ อาเซียนกาหนดทิศทางการดาเนินงาน
ที่แน่ ชัดเพือ่ นาไปสู่ เป้าหมายที่ชัดเจน ได้ แก่ การเป็ นประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
แถลงการณ์ Bali Concord II
ในการประชุ มผู้นาอาเซียน เมื่อปี 2546 ผู้นาได้ ออกแถลงการณ์ Bali
Concord II เห็นชอบให้ มีการรวมตัวของอาเซียนไปสู่ ASEAN
Community ภายในปี 2020 ประกอบด้ วย 3 เสาหลัก คือ

- ASEAN Security Community
- ASEAN Economic Community
- ASEAN Socio-Cultural Community
เป้ าหมายของการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน

อาเซียนจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี 2563
(ค.ศ.2020) โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่ วมกัน
(single market and single production base) และจะมี
การเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมือ
อย่ างเสรี และเงินทุนอย่ างเสรีมากขึน้ (free flows of goods,
services, investment, and skilled labors, and freer flow
of capital)
แนวทางดาเนินงานเพือ่ นาไปสู่ ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
Towards ASEAN Economic Community
แนวทางการรวมกล่ มุ แบบ sector-based approach

กาหนดสาขาสิ นค้ าและบริการสาคัญ 11 สาขาที่จะเร่ งรัดดาเนินการ
(priority sectors) เพือ่ เป็ นการนาร่ องการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
โดยการคัดเลือกสาขาดังกล่าวได้ พจิ ารณาจากความได้ เปรียบเชิง
เปรียบเทียบในทรัพยากรธรรมชาติ แรงงานมีฝีมือ ต้ นทุน และมูลค่ าเพิม่
ต่ อเศรษฐกิจของอาเซียน
สาขาสิ นค้าและบริการสาคัญ 11 สาขา
(11 Priority Sectors)

ประเทศสมาชิกที่ทาหน้ าทีร่ ับผิดชอบประสานการดาเนินงานในแต่ ละ
สาขา (country coordinators) มี ดังนี้
 พม่ า
สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร (Agro-based products)
สาขาประมง (Fisheries)
 มาเลเซี ย
สาขาผลิตภัณฑ์ยาง (Rubber-based products)
สาขาสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่ม (Textiles and Apparels)
 อินโดนีเซี ย สาขายานยนต์ (Automotives)
สาขาผลิตภัณฑ์ไม้ (Wood-based products)
ฟิ ลิปปิ นส์
 สิ งคโปร์


ไทย
สาขาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN)
สาขาสุ ขภาพ (Healthcare)
สาขาการท่องเที่ยว (Tourism)
สาขาการบิน (Air Travel)
ไทยได้ รับเป็ นประเทศผู้ประสานงานหลักในสาขาการท่ องเทีย่ ว
และการบิน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่จะผลักดันให้ ไทยเป็ น
ศูนย์ กลางการท่ องเทีย่ วและการบินในภูมิภาคนี้

การดาเนินงานเพือ่ รวมกล่ มุ 11 สาขาสาคัญ

ในการประชุ มผู้นาอาเซียน ครั้งที่ 10 เมือ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 ณ กรุ ง
เวียงจันทน์ สปป. ลาว ผู้นาอาเซียนได้ ลงนามในกรอบความตกลงว่ าด้ วยการ
รวมกลุ่มสาขาสาคัญของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement for the
Integration of the Priority Sectors) และรัฐมนตรีทรี่ ับผิดชอบการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจของอาเซียนได้ ลงนามในพิธีสารรายสาขา 11 ฉบับ (ASEAN Sectoral
Integration Protocol) โดยกรอบความตกลงฯ และพิธีสารฯ มีผลบังคับใช้ แล้ว
ตั้งแต่ วนั ที่ 31 สิ งหาคม 2548
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน
1. การเร่ งลดภาษีสินค้ าใน 9 สาขาหลัก (ผลิตภัณฑ์ เกษตร/ ประมง/
ผลิตภัณฑ์ ไม้ / ผลิตภัณฑ์ ยาง/ สิ่ งทอ/ ยานยนต์ / อิเล็กทรอนิกส์ / เทคโนโลยี
สารสนเทศ/ สาขาสุ ขภาพ) ซึ่งครอบคลุมสิ นค้ าจานวน 4,273 รายการ ให้ เร็ว
ขึน้ จากกรอบอาฟต้ าเดิม 3 ปี ดังนี้
ประเทศ
ASEAN
เดิม 6 ประเทศ
CLMV
กาหนดการอาฟต้ าเดิม
กาหนดการเร่ งลดภาษี
1 ม.ค. 2010
1 ม.ค. 2007
1 ม.ค. 2015
1 ม.ค. 2012
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (ต่ อ)
2. การขจัดมาตรการทีม่ ิใช่ ภาษี
- จัดทาฐานข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่
ภาษีของอาเซียนรายประเทศ
- จาแนกมาตรการดังกล่าวออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ Red box;
Amber box; และ Green box
- จัดทาแผนงาน (work programme) ยกเลิก NTBs
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (ต่ อ)
3. การจัดทาความตกลงยอมรับร่ วม (MRA)
วัตถุประสงค์ : เพื่อลดอุปสรรคอันเกิดจากมาตรการกีดกัน
ทางการค้าอันเนื่องมาจากกฎระเบียบทางเทคนิค (Technical
Regulations) หรื อ มาตรฐานบังคับ (Mandatory Standards)
ความคืบหน้า : อาเซียนได้จดั ทา MRA สาหรับสาขา
บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์เสร็ จแล้ว และอยูร่ ะหว่าง
ดาเนินการสาหรับสาขาเครื่ องสาอาง
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (ต่ อ)
4. การอานวยความสะดวกด้ านศุลกากร : การพัฒนาระบบ
ASEAN Single Window
- อาเซียนได้ ลงนามความตกลงว่ าด้ วยการอานวยความสะดวกด้ านศุ ลกากรด้ วย
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน (Agreement to Establish and
Implement the ASEAN Single Window) เมือ
่ ปลายปี 2548
- กาหนดให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศจัดตั้ง National Single
Window ให้ แล้วเสร็จภายในปี 2008 และประเทศ CLMV ภายในปี 2012 เพือ่
เชื่อมต่ อเป็ น ASEAN Single Window ต่ อไป
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (ต่ อ)
5. การเปิ ดตลาดการค้ าบริการ
- Priority Sectors (สาขาสุ ขภาพ ICT และท่องเที่ยว) : ทยอยเพิม่
สัดส่ วนการถือหุน้ ของนักลงทุนสัญชาติอาเซียน เป็ นร้อยละ 51 ในปี
2008 และร้อยละ 70 ในปี 2010
- Non-Priority Sectors: ทยอยเพิม่ สัดส่ วนการถือหุน้ ของนักลงทุน
สัญชาติอาเซียน เป็ นร้อยละ 49 ในปี 2008 ร้อยละ 51 ในปี 2010 และ
ร้อยละ 70 ในปี 2015
- Flexibility : ประเทศสมาชิกสามารถขอสงวนสาหรับสาขา
อ่อนไหวได้ โดยไม่นามาใส่ ในตารางข้อผูกพัน
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (ต่ อ)
6. การเคลือ่ นย้ ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ แรงงานมี
ฝี มือ และผู้มีความสามารถพิเศษ
- จัดทาความตกลงยอมรับร่ วม (MRA) ด้านคุณสมบัติของ
บุคลากรในสาขาวิชาชีพต่างๆ : ขณะนี้ได้มีการลงนาม MRA สาขา
วิศวกรรมไปแล้ว และอยูร่ ะหว่างการจัดทา MRA สาขาพยาบาล
- ปรับประสานระเบียบการตรวจลงตราสาหรับนักเดินทาง
ต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในอาเซียน และยกเว้นวีซ่าให้แก่นกั เดินทาง
สัญชาติอาเซียนที่เดินทางภายในอาเซียน
ความคืบหน้ าการรวมกล่ มุ ทางเศรษฐกิจของอาเซียน (ต่ อ)
7. การสร้ างความร่ วมมือระหว่ างประเทศสมาชิกในกระบวนการผลิตสิ นค้ าด้ วยการ
ซื้อ (outsourcing) วัตถุดบิ และชิ้นส่ วนทีผ่ ลิตในประเทศสมาชิกของอาเซียน
รวมทั้งให้ มกี ารใช้ วตั ถุดบิ และชิ้นส่ วนภายในประเทศอาเซียนหลายประเทศมา
ประกอบกันเพือ่ ผลิตสิ นค้ าของอาเซียน
- ปรับปรุ งความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซี ยน
(AICO) และพัฒนา Scheme ใหม่ที่จะส่ งเสริ มการ outsource ระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซี ยน
- ใช้กลไก ASEAN Pioneer Project Scheme (APPS) ซึ่ งเป็ นกลไกใหม่ที่
เสนอโดยภาคเอกชนอาเซี ยนผ่าน ASEAN BAC (รายละเอียดสามารถสอบถามได้
จากสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย)
แนวทางความร่ วมมือที่เป็ นไปได้ระหว่างไทยกับอาเซียน

เมื่อดูสถิตกิ ารค้ าของไทยกับอาเซียนในช่ วง 3 ปี ทีผ่ ่ านมา (2546-2548) มี
แนวโน้ มขยายตัวมาโดยตลอด ด้ วยมูลค่ าการค้ าเฉลีย่ กว่ า 37,000 ล้ านเหรียญ
สหรัฐฯ และมีอตั ราการขยายตัวโดยเฉลีย่ 25% ต่ อปี

การค้ าส่ วนใหญ่ ของไทยจะอิงกับประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม ได้ แก่ สิงคโปร์
มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ อย่ างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในแง่
ดุลการค้ าแล้ ว ไทยได้ เปรียบดุลการค้ ากับประเทศเหล่ านีน้ ้ อยมาก เมื่อเทียบ
กับประเทศสมาชิกใหม่ อาเซียน ซึ่งถึงแม้ ว่า ปริมาณการค้ ากับไทยจะไม่ สูง
มากนัด แต่ ไทยเป็ นฝ่ ายได้ เปรียบดุลการค้ ากับประเทศเหล่ านีค้ ่ อนข้ างสู ง
สั ดส่ วนตลาดส่ งออกสาคัญของไทย ปี 2548
มูลค่ า : ล้ านบาท
14%
36%
15%
Japan
USA
EU
ASEAN
22%
13%
The Rest
สั ดส่ วนแหล่ งนาเข้ าสาคัญของไทย ปี 2548
มูลค่ า : ล้ านบาท
22%
Japan
44%
USA
7%
9%
18%
EU
ASEAN
The Rest
ตลาดส่ งออกสาคัญของไทยไปอาเซียน
หน่วย : ล้านบาท
ประเทศ
สิงคโปร์
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
ฟิลปิ ปินส์
ปี 2548
7,500.4
5,725.9
3,998.8
2,064.7
/\ % จากปี 2547
6.73
7.77
24.33
12.49
ปี 2547
7,027.3
5,312.8
3,216.2
1,835.3
ตลาดส่ งออกสาคัญของไทยไปอาเซียนรายประเทศ ปี 2548
มูลค่ า : ล้ านบาท
Brunei
10%
%
4% 3
3% 0%
Indonesia
17%
Malaysia
Philippines
Singapore
24%
30%
9%
Vietnam
Cambodia
Laos
Myanmar
แหล่ งนาเข้ าสาคัญของไทยจากอาเซียนรายประเทศ
หน่วย : ล้านบาท
ประเทศ
มาเลเซีย
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
ฟิลปิ ปินส์
ปี 2548
8,100.9
5,379.6
3,134.6
1,881.5
/\ % จากปี 2547
46.54
29.94
35.62
21.96
ปี 2547
5,528.0
4,140.0
2,311.3
1,542.7
แหล่ งนาเข้ าสาคัญของไทยจากอาเซียนรายประเทศ ปี 2548
มูลค่ า : ล้ านบาท
Brunei
%%
%0
1
4
8%
1%
Indonesia
14%
Malaysia
Philippines
Singapore
25%
Vietnam
38%
9%
Cambodia
Laos
Myanmar
แนวทางความร่ วมมือที่เป็ นไปได้ระหว่างไทยกับอาเซียน(ต่อ)

รัฐบาลมีนโยบายให้ ความสาคัญกับประเทศเพือ่ นบ้ านเหล่ านี้ ในฐานะมิตรประเทศที่จะ
ช่ วยส่ งเสริมและเกือ้ กูลทางเศรษฐกิจร่ วมกันเนื่องจากประเทศ CLMV เป็ นประเทศที่มี
ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติที่จะเอือ้ ต่ อการผลิต อาทิ แร่ ธาตุ
พลังงาน และวัตถุดบิ ทางการเกษตรต่ างๆ รวมถึงต้ นทุนแรงงานที่ต่า และยังได้ สิทธิ
ประโยชน์ ทางด้ านภาษีจากประเทศพัฒนาแล้ ว อย่ างไรก็ตาม ควรคานึงถึง
- ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานยังไม่ เพียงพอ
- เสถียรภาพทางการเมืองภายใน
- ระบบการชาระเงิน การธนาคารยังไม่ แพร่ หลาย
- แรงงานที่มีทักษะไม่ เพียงพอ
- การขนส่ งสิ นค้ ามีการเก็บส่ วยระหว่ างทาง มีปัญหาเรื่องการขนส่ งผ่ านแดน
- ปัญหาเรื่องกฎหมายที่แตกต่ างกัน
ข้ อเสนอแนะ

กลไกความร่ วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน
1) ระบบการเกษตรแบบมีพนั ธะสัญญา (contract faming) เช่น ถัว่
เหลือง ถัว่ ลิสง ถัว่ เขียวผิวมัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพดหวาน เมล็ดมะม่วง
หิ มพานต์ ไม้ยคู าลิปตัส ละหุ่ง และลูกเดือย
2) ระบบการเงินแบบหักบัญชี (account trade)
3) ระบบการบริ การเบ็ดเสร็ จ ณ จุดเดียว (one stop service/single
window)
4) การทาความตกลงเรื่ องการขนส่ งผ่านแดน
5) การปรับประสานด้านกฎหมายและเอกสารต่างๆ
ขอบคุณ