การวางแผนการนิเทศ กศน. อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 10 กันยายน 2554 ความสาคัญ • การวางแผนการนิเทศ เป็ นสิ่งจาเป็ นเพื่อให้ การนิเทศมี ประสิทธิภาพ และมีการทางานเป็ นระบบ โดยใช้ แผนเป็ น แนวทางในการปฏิบัตงิ านนิเทศ ซึ่งแสดงรายละเอียดและเค้ า โครงของสิ่งที่จะต้ องปฏิบัติ.

Download Report

Transcript การวางแผนการนิเทศ กศน. อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 10 กันยายน 2554 ความสาคัญ • การวางแผนการนิเทศ เป็ นสิ่งจาเป็ นเพื่อให้ การนิเทศมี ประสิทธิภาพ และมีการทางานเป็ นระบบ โดยใช้ แผนเป็ น แนวทางในการปฏิบัตงิ านนิเทศ ซึ่งแสดงรายละเอียดและเค้ า โครงของสิ่งที่จะต้ องปฏิบัติ.

การวางแผนการนิเทศ กศน.
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
10 กันยายน 2554
ความสาคัญ
• การวางแผนการนิเทศ เป็ นสิ่งจาเป็ นเพื่อให้ การนิเทศมี
ประสิทธิภาพ และมีการทางานเป็ นระบบ โดยใช้ แผนเป็ น
แนวทางในการปฏิบัตงิ านนิเทศ ซึ่งแสดงรายละเอียดและเค้ า
โครงของสิ่งที่จะต้ องปฏิบัติ บอกจุดมุ่งหมาย สิ่งที่คาดหวัง ระบุ
วัตถุประสงค์ เป้าหมายวิธีการดาเนินงาน งบประมาณ วิธีการ
ติดตามควบคุมกากับการปฏิบัตงิ านนิเทศและการประเมินผล
สาเร็จของการนิเทศ ตามที่กาหนดไว้ ในแผน
What is a System
• “A million candle can be lit from one flame”
• “เทียนนับล้ าน จุดติดได้ จากไฟเพียงเปลวเดียว”
• ความคิดเชิงระบบจึงเป็ นการคิดในเชิงองค์รวมหรื อภาพรวม(Big
Picture)โดยตระหนักชัดเจนถึงองค์ประกอบย่อยที่มีความสัมพันธ์
และมีหน้ าที่ตอ่ เชื่อมกันอยู่
คาอธิบาย: ระบบ
• ความเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบเพื่อทาหน้ าที่อย่างใดอย่างหนึง่
• เกิดการเปลีย่ นแปลง เมื่อนาเอาส่วนประกอบอันใดอันหนึง่ ออกไป หรื่ อ
เพิ่มส่วนประกอบอื่น ๆ เข้ ามา และหากแบ่งครึ่งระบบเป็ นสองส่วน จะ
ไม่ได้ ผลลัพธ์เป็ นระบบย่อย ๆ 2 ระบบ แต่เป็ นการทาลายระบบ
• การจัดเลียงองค์ประกอบต่าง ๆ เป็ นสิง่ ที่มีตาแหน่งแน่นอน
• องค์ประกอบทุกส่วนเชื่อต่อกัน และทางานร่วมกันหรื อประสานกัน
หลักการการวางแผนนิเทศการศึกษา
• ผู้รับผิดชอบในการวางแผน
ผู้รับผิดชอบในการวางแผนการนิเทศคือผู้บริหาร กศน.
จังหวัด เพราะงานนิเทศเป็ นบทบาทหน้ าที่ของผู้บริหาร และผู้
ร่ วมวางแผนได้ แก่ ศึกษานิเทศก์ ผู้ได้ รับมอบหมายทาหน้ าที่นิเทศ
และผู้รับการนิเทศ ได้ แก่ ครู และผู้ปฏิบัตงิ าน ทัง้ นีเ้ นื่องจากการ
จัดการนิเทศการศึกษาเป็ นงานที่ต้องอาศัยความร่ วมมือจากทุก
ฝ่ ายทัง้ ผู้ให้ การนิเทศและผู้รับการนิเทศ
หลักการการวางแผนนิเทศการศึกษา
• ขอบเขตของงานนิเทศ กศน. ขอบเขตของงานนิเทศ กศน.
เนื่องจากงานนิเทศ กศน.นัน้ เป็ นงานที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาให้ มีความรู้
ความสามารถในการทางานอย่ างมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ การนิเทศ
กศน. จึงเกี่ยวข้ องกับการพัฒนาบุคลากรให้ มีความสามารถ
ปฏิบัตงิ านตามภารกิจของสถานศึกษา
• ขอบเขตของงานนิเทศ
กลุ่มงานอานวยการ
• งานธุรการ และสารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานงบประมาณ
และระดมทรัพยากรงานพัสดุ งานบุคลากร งานอาคารสถานที่
และยานพาหนะ งานแผนงานและโครงการ งานประชาสัมพันธ์
งานสวัสดิการ งานข้ อมูลสารสนเทศและการรายงาน ศูนย์
ราชการใสสะอาด งานควบคุมภายใน งานนิเทศภายใน ติดตาม
ประเมินผล งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา งาน
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
• กลุ่มงานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
งานส่ งเสริมการรู้
งานการศึกษานอกระบบ
- งานการศึกษานอกกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
- งานการศึกษานอกระบบ การศึกษาต่ อเนื่อง
- งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
- งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
- งานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
- งานการศึกษาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
งานการศึกษาตามอัธยาศัย
- งานจัดพัฒนาแหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้ องถิ่น
- งานห้ องสมุดประชาชน
งานพัฒนา กศน.ตาบล
งานพัฒนาหลักสูตรสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
งานทะเบียนและวัดผล
งานศูนย์ บริการให้ คาปรึกษาแนะนา
งานกิจการนักศึกษา
• กลุ่มภาคีเครือข่ ายและกิจการพิเศษ
- งานส่ งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่ าย
- งานกิจการพิเศษ
-งานป้องกัน แก้ ไขปั ญหาสารเสพติด /โรคเอดส์
- งานส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย
- งานสนับสนุน ส่งเสริมนโยบายจังหวัด/อาเภอ
- งานกิจการลูกเสือและยุวกาชาด
- งานอื่น ๆ
การวางแผนนิเทศ กศน. ที่ดี
• ความรู้ความสามารถของผู้วางแผนนิเทศ
• การวางแผน แผนงาน/โครงการ การติดตามและประเมินผล
นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ กิจกรรม กศน. แลภารกิจของสถานศึกษา
เช่น นโยบายของ ศธ. เรื่ อง การจัดการศึกษาอาชีพ
• บทบาทหน้ าที่ ความรู้ ความสามารถของครูและบุคลากรทางการศึกษา
และผู้ปฏิบตั งิ านที่เกี่ยวข้ อง ของสถานศึกษา
• การกาหนดแผนงาน/โครงการ ต้ องมีความยืดหยุน่ เพื่อจะสามารถ
ปรับปรุงแก้ ไข เปลี่ยนแปลงบางส่วนได้ โดยไม่กระทบต่อเป้าหมายแต่
อย่างใด
กระบวนการในการวางแผนการนิเทศ 4ขั้นตอน
ขันตอนที
้
่ 1การประเมินสภาพปั จจุบนั ปั ญหาความต้ องการ
และความจาเป็ นในการนิเทศ กศน.
ขันตอนที
้
่ 2 การกาหนดจุดมุง่ หมายในการนิเทศ
ขันตอนที
้
่ 3 การกาหนดทางเลือก
ขันตอนที
้
่ 4การจัดทาโครงการนิเทศ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพปัจจุบัน ปัญหา ปัญหา
ความต้ องการและความจาเป็ นในการนิเทศ กศน
ดาเนินการได้ 2 ลักษณะ
1. การศึกษาปั ญหาการจัด กศน. ที่เป็ นปั ญหาเฉพาะ(Study
of Specific Problem)เป็ นการวิเคราะห์ ถงึ รายละเอียดของ
สภาพข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับปั ญหาเร่ งด่ วนหรือปั ญหาวิกฤตที่
เกิดขึน้ ใน กศน. อาเภอ ยกตัวอย่ าง เช่ น
ปั ญหาเกี่ยวกับนักศึกษา
• นักศึกษา กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2/2554
ของ กศน.อาเภอ ..........มีผลสัมรฤธิ์ในสาระความรู้พนื ้ ฐานต่ากว่ า
ร้ อยละ 60
• นักศึกษา กศน.ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่ลงทะเบียนเรียนภาค
เรียนที่ 1/2554 ของ กศน.อาเภอ ..........มีอัตราคงอยู่ต่ากว่ า
ร้ อยละ50
ปั ญหาเกี่ยวกับครู
• ครูยังขาดความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการทาแผนการเรียนรู้ ทาให้
ไม่ สามารถจัดทาแผนการเรียนรู้ได้ ส่ งผลต่ อ ................
• ครูยังขาดความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการทาวิจยั ในชัน้ เรียน ทา
ให้ ไม่ สามารถทาวิจัยในชัน้ เรียนได้ ส่ งผลต่ อ ...................
• ครู กศน. ยังขาดความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบโครงงานทาให้ ไม่ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ
โครงงานได้ ส่ งผลต่ อ ............................
ปั ญหาผู้บริหาร กศน. อาเภอ
• ผอ. กศน. อาเภอ ยังขาดความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการนิเทศ
ภายใน ทาให้ ไม่ สามารถนิเทศภายในอย่ างเป็ นระบบได้
ปั ญหา กศน. อาเภอ
• ผลการประเมินภายนอกของ กศน.อาเภอไม่ ได้ ตามมาตรฐานที่
กาหนด
• สาเหตุของปั ญหาและวิเคราะห์ สาเหตุของปั ญหาเพื่อนาข้ อมูลมา
วางแผนแก้ ปัญหาต่ อไป สาหรับวิธีการศึกษาและวิเคราะห์ ปัญหา
นัน้ มีหลายวิธี ที่สามารถเลือกใช้ ตามความเหมาะสม เช่ น การ
สัมภาษณ์ การสอบถาม การสังเกต การวิเคราะห์ องค์ ประกอบ
การวิเคราะห์ ข้อมูล เป้นต้ น
2.การประเมินความต้ องการ ความจาเป็ น(Needs
Assessment) วิธีประเมินความต้ องการ ความจาเป็ นสามารถ
ทาได้ 2 วิธี คือ
2.1) การศึกษารวบรวมข้ อมูลความต้ องการ ความจาเป็ นโดยตรง
จากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับการจัด กศน.ของสถานศึกษา ได้ แก่ ครู
กศน. และผู้ปฏิบัตงิ าน ของสถานศึกษา ผู้เรียน/ผู้รับบริการ และ
ชุมชน เช่ น ผู้นาชุมชน กรรมการสถานศึกษา เป็ นต้ น โดยวิธีการ
วิจัยเชิงสารวจ การสัมภาษณ์ ผ้ ูเกี่ยวข้ อง การสังเกตการณ์ เข้ า
ร่ วมกิจกรรม กศน. หรือการมีส่วนร่ วมในเหตุการณ์ ต่าง ๆ และ
การระดมความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้ อง
2.2) การศึกษาโดยทางอ้ อม ได้ แก่ การวิจัยเอกสาร การรับฟั งความ
คิดเห็นจากแหล่ งต่ าง ๆ
การประเมินความต้ องการความจาเป็ น อาจเลือกใช้ วิธีใดวิธี
หนึ่งที่เหมาะสมกับสถานการณ์ หรืออาจจะใช้ ทงั ้ สองวิธี ก็ได้
ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดจุดมุ่งหมายในการนิเทศ
1. ลักษณะของการกาหนดจุดมุ่งหมายการนิเทศ มีสองลักษณะคือ
จุดมุ่งหมายระยะสัน้ และจุดมุ่งหมายระยะยาว ซึ่งการกาหนด
จุดมุ่งหมายลักษณะใดขึน้ อยู่กับองค์ ประกอบต่ อไปนี ้
1.1) สภาพความสาคัญของปั ญหา ในสถานศึกษาแต่ ละแห่ งซึ่งมี
ปั ญหาเดียวกันแต่ ความรุ นแรงหรือความสาคัญของปั ญหาอาจ
แตกต่ างกัน ย่ อมทาให้ ระดับของการตัง้ จุดมุ่งหมายมีความ
แตกต่ างกันด้ วย
เช่ นปั ญหานักศึกษา กศน. ระดับ ม.ปลาย ภาคเรียนที่
2/2554 มีผลสัมรฤธิ์ในสาระความรู้พนื ้ ฐานต่ากว่ าร้ อยละ 60
กศน.อาเภอหลายแห่ งอาจมีปัญหาในเรื่องนี ้ แต่ ร้อยละของ
นักศึกษาที่มีผลสัมรฤธิ์ในสาระความรู้พนื ้ ฐานต่ากว่ าร้ อยละ 60
มีปริมาณแตกต่ างกัน จึงมีผลทาให้ ความเร่ งด่ วนหรือความสาคัญ
ของจุดมุ่งหมายการนิเทศ แตกต่ างกันไปด้ วย
1.2) ประสบการณ์ และความสามารถในการแก้ ปัญหาของผู้ทา
หน้ าที่นิเทศแต่ ละสถานศึกษามีความแตกต่ างกัน
ผู้นิเทศของสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ นิเทศมากและมี
ความสามารถในการทางานนิเทศสูง จะตัง้ จุดมุ่งหมาของการ
นิเทศที่มีความชัดเจน มีความเป็ นไปได้ ลักษณะของจุดมุ่งหมาย
ของการนิเทศที่ตงั ้ ขึน้ จะมีเป้าหมายระยะยาว มีการทางานนิเทศ
ให้ บรรลุจุดมุ่งหมายอย่ างต่ อเนื่อง และตัง้ จุดมุ่งหมายไว้ สูงกว่ า ผู้
นิเทศที่มีประสบการณ์ น้อย
2) หลักในการกาหนดจุดมุ่งหมายการนิเทศ
2.1) ควรกาหนดร่ วมกันระหว่ างผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ เพื่อให้
การปฏิบัตกิ ารนิเทศ ไปสู่เป้าหมายเดียวกัน และมีประสิทธิภาพ
2.2) ควรมีความเป็ นไปได้ โดยพิจารณาจากความพร้ อมของผู้
นิเทศ ทรัพยากรที่ใช้ ในการนิเทศ วิธีการนิเทศ และการบริหาร
จัดการนิเทศ
2.3) การกาหนดจุดมุ่งหมายระยะยาว ควรแบ่ งเป็ นจุดมุ่งหมาย
ย่ อย ๆ เป็ นช่ วง ๆ เพื่อให้ สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายได้ โดยง่ าย
2.4) การสื่อสารจุดมุ่งหมายการนิเทศให้ คณะผู้นิเทศมีความเข้ าใจ
ตรงกันและร่ วมมือกันในการปฏิบัตงิ านนิเทศ เพื่อให้ การนิเทศ
บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดทางเลือก(Selecting of
Alternatives)
• ในการนิเทศให้ บรรลุเป้าหมาย สามารถดาเนินการได้ หลายวิธีการ
ดังนันในการก
้
าหนด วิธีการนิเทศ จาเป็ นจะต้ องพิจารณาอย่างรอบคอบ
1) หลักการกาหนดทางเลือก
1.1) การนิเทศให้ บรรลุผลสาเร็จนันไม่
้ จาเป็ นต้ องใช้ วิธีการ
นิเทศหลายวิธี ควรเลือกวิธีการใดวิธีการหนึง่ ที่คดิ ว่าจะสามรถบรรลุ
เป้าหมายได้
1.2) วิธีการนิเทศบางวิธีอาจไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ของ
สถานศึกษาบางแห่ง
1.3) ผู้นิเทศแต่ละคนมีความถนัดไม่เหมือนกัน ดังนันผู
้ ้ นิเทศ
จะต้ องเลือกวิธีการนิเทศที่เหมาะสมกับตนเอง
2) การระบุทางเลือก หลังจากกาหนดจุดมุง่ หมายการนิเทศอย่างชัดเจน
แล้ ว ต่อไปคือการระบุทางเลือก ในการนิเทศเพื่อให้ บรรลุเป้าหมาย
สามารถดาเนินการได้ หลายวิธีการ ดังนันจะต้
้ องศึกษาข้ อดีและ
ข้ อจากัดของวิธีการนิเทศแบบต่าง ๆ และเลือกวิธีการนิเทศที่มีความ
เป็ นไปได้ สงู สุด
วิธีนิเทศนันจะต้
้ องนาไปปฏิบตั ิแล้ วประสบผลสาเร็ จ การบุ
ทางเลือกคือการหาทางแก้ ปัญหาการจัดการศึกษา กศน.นัน่ เอง การ
แก้ ปัญหาที่ได้ ผลดีนนจ
ั ้ าเป็ นจะต้ องแสวงหาข้ อมูลต่าง ๆให้ มากที่สดุ
เพื่อจะได้ วิธีนิเทศที่ดีที่สดุ ในการแก้ ปัญหาภายในเวลาที่กาหนดไว้
3) การประเมินทางเลือก
ในการนิเทศเพื่อแก้ ปัญหาการจัด กศน. ซึง่ เป็ นปั ญหาที่เคยเกิดขึ ้น
มาแล้ ว ผู้นิเทศอาจใช้ ประสบการณ์เดิมมาเป็ นแนวทางในการนิเทศเพื่อ
แก้ ปัญหา
สาหรับปั ญหาที่เกิดขึ ้นใหม่นนั ้ ก่อนที่จะเลือกวิธีการนิเทศจาเป็ น
จะต้ องแสวงหาข้ อมูลต่าง ๆ ตลอดจนความมุง่ หวังของผู้รับการนิเทศ
หลักการประเมินทางเลือกในการนิเทศ 2 ประการ
• ประการแรกความเป็ นได้ (possiblity) ของทางเลือกในการที่จะทา
ให้ บรรลุจดุ มุง่ หมายของการนิเทศที่กาหนดไว้
• ประการที่สองสภาพทรัพยากร(resources)ที่มีอยูจ่ ะสามารถ
นามาใช้ ในวีธีการนิเทศนัน้ ๆได้ ดีเพียงใด
วิธีการประเมินทางเลือกของ คูนทซ์ โอดอนเนลและวีนริช (Koontz,O
Donnell and Weinhrich,1982)
3 วิธีการ คือ
• การใช้ ประสบการณ์
• การทดลอง
• การวิจยั
การใช้ ประสบการณ์ (Experience)
• เป็ นการใช้ ประสบการณ์ในอดีตมาเป็ นข้ อมูลสาหรับวินิจฉัยในบาง
โอกาสการใช้ ประสบการณ์เดิมเป็ นเรื่ องที่ได้ ผลดีมาก
• แต่บางครัง้ ก็ไม่ประสบผลสาเร็จโดยวิธีการนิเทศแบบเดิม
• การใช้ ประสบการณ์ในอดีตจะช่วยให้ ตระหนักถึงความสาเร็จและความ
ล้ มเหลวในภารกิจการนิเทศแต่ละภารกิจ
• และนาประสบการณ์นนมาเป็
ั้
นเกณฑ์ในกาจพิจารณาตัดสินเกี่ยวกับ
ทางเลือก การใช้ ประสบการณ์เดิมเป็ นเครื่ องตัดสินใจมีข้อจากัดหลาย
ประการ คือ
• ข้ อจากัดของการใช้ ประสบการณ์เดิมเป็ นเครื่ องตัดสินใจ
• ราไม่สามารถจดจาความสาเร็จหรื อความล้ มเหลวในอดีตได้ ทงหมด
ั้
จึง
ทาให้ ได้ ข้อมูลที่ไม่เพียงพอสาหรับการตัดสินใจ
• ประสบการณ์ในอดีตอาจไม่เหมาะกับสถานการณ์ที่เป็ นปั ญหาชนิดใหม่
การตัดสินใจที่ดีจงึ ควรใช้ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับอนาคตจะดีกว่าใช้
ประสบการณ์ในอดีต
• การใช้ ประสบการณ์ในอดีตมาเป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาก็ยงั มี
ความสาคัญอยูม่ าก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบตั งิ านนิเทศทีไ่ ม่มี
ข้ อมูลอยูเ่ ลยจะพบว่ามีความยุง่ ยากยิ่งกว่าการใช้ ประสบการณ์เดิมหรื อ
อาศัยข้ อมูลในอดีตมาเป็ นพื ้นฐานในการพิจารณา
การทดลอง(Experimentation)
การทดลอง เป็ นวิธีการเลือกทางเลือกที่สามารถตัดสินใจที่ได้
ข้ อมูลอย่างชัดเจนที่สดุ วิธีการหนึง่ เพราะจะทาให้ เห็นว่าวิธีการนิเทศที่
นาไปใช้ นนจะได้
ั้
ผลอย่างไร
เป็ นวิธีการที่มีคา่ ใช้ จ่ายและใช้ เวลา
เป็ นวิธีการที่มีความเหมาะสมที่สดุ ที่จะทาให้ ไม่เกิดความล้ มเหลว
หรื อเกิดความผิดพลาดในการทางาน
การใช้ วิธีการทดลองอาจมีข้อจากัดอยูบ่ ้ างในเรื่ องเทคนิควิธี การ
ทดลองเป็ นการทางานในสภาพการณ์ในขอบเขตจากัด ในสถานการณ์
จริงอาจไม่เป็ นไปตามการทดลองก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนิเทศที่
ข้ อดี : เป็ นวิธีการที่มีความเหมาะสมที่สดุ ที่จะทาให้ ไม่เกิดความ
ล้ มเหลวหรื อเกิดความผิดพลาดในการทางาน
ข้ อด้ อย : เป็ นวิธีการที่มีคา่ ใช้ จ่ายและใช้ เวลา
: เทคนิควิธีการทดลองเป็ นการทางานในสภาพการณ์ใน
ขอบเขตจากัด แต่ในสถานการณ์จริงอาจไม่เป็ นไปตามการทดลองก็ได้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนิเทศที่เกี่ยวข้ องกับครูและผู้ปฏิบตั ิงานจานวน
มาก มักมีความผันแปรกับลักษณะของครูและผู้ปฏิบตั ิงาน
• วิธีวิเคราะห์ และวิจยั เป็ น วิธีการที่ใช้ อย่างได้ ผล ในการประเมิน
ทางเลือก
• โดยการแยกองค์ประกอบของวิธีการนิเทศแต่ละวิธีออกเป็ นส่วน ๆ แล้ ว
ทาการศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของวิธีการนิเทศนัน้ ๆแต่ละส่วนทัง้
ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้ ทราบว่าในแต่ละวิธีการนิเทศนัน้
วิธีการใดมีความเป็ นไปได้ สงู กว่าวิธีการอื่น
• การประเมินทางเลือกวิธีการนิเทศโดยกระบวนการวิจยั ถือว่าเป็ น
วิธีการที่ได้ ข้อมูลที่มีความถูกต้ องมากกว่าการใช้ ประสบการณ์ และเป็ น
วิธีการที่ลงทุนต่ากว่าวิธีทดลอง ดังนันวิ
้ ธีการประเมินทางเลือกจึงนิยม
ใช้ วิธีการวิเคราะห์วิจยั มากกว่าวิธีการอื่น ๆ
ขั้นตอนที่ 4 การจัดทาโครงการนิเทศ
การจัดทาโครงการนิเทศ
• หลังจากที่ได้ ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปั จจุบนั ปั ญหา ความต้ องการและ
ความจาเป็ นในการนิเทศ มีจดุ มุง่ หมายการนิเทศที่ชดั เจน และได้
ทางเลือกในการปฏิบตั ิงานนิเทศแล้ ว ภารกิจที่จะต้ องทาในขันตอน
้
สุดท้ ายของการวางแผนนิเทศคือการจัดทาโครงการนิเทศ
ความหมายของโครงการ(PROJECT)
• หมายถึง : กิจกรรมหรือกลุ่มกิจกรรมและการปฏิบัตทิ ่ ีมี
ลักษณะเฉพาะ แตกต่ างไปจากการทางานปกติ เป็ นการ
ปฏิบัตงิ านเฉพาะ เป็ นการดาเนินการเฉพาะ เพื่อวัตถุประสงค์
เฉพาะที่ชัดเจนของโครงการนัน้ เท่ านัน้ โครงการจะมีลักษณะเป็ น
งานที่มีจุดเริ่มต้ นและมีจุดสิน้ สุดของการดาเนินงานที่ชัดเจนซึ่ง
แตกต่ างไปจากงานประจา โครงการสามารถสนองนโยบายของ
หน่ วยงานได้
ความสาคัญของโครงการ
โครงการสามารถใช้ เป็ นหลักฐานในการปฏิบัตงิ าน
• การดาเนินงานตามโครงการทาให้ บรรลุวัตถุประสงค์ เร็วขึน้
• ทาให้ ประหยัดทรัพยากรเนื่องจากโครงการได้ กาหนดกรอบใน
การใช้ งบประมาณ
• โครงการเป็ นเครื่องมือในการสื่อสารระหว่ างผู้ปฏิบัตงิ าน
โครงการ
•
•
•
•
•
ลักษณะของโครงการที่ดี
สามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้ ไม่ เพ้ อฝั น ไม่ เลื่อนลอย
มีความเหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพปั ญหา ความต้ องการของ
กลุ่มเป้าหมายและชุมชน
มีรายละเอียดชัดเจน เช่ น กลุ่มเป้าหมาย วิธีการ ระยะเวลา
มีทรัพยากรเพียง เช่ น งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ยานพาหนะ
ตรงกับพันธกิจของหน่ วยงาน
•
•
•
•
•
โครงสร้ างของโครงการ
ชื่อโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
วิธีดาเนินการ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ระยะเวลาดาเนินการ
งบประมาณ/แผนเบิกจ่ ายงบประมาณ
การประเมินผล
เครือข่ าย
ผลลัพธ์ ตัวชีว้ ัดผลสาเร็จของโครงการ
การติดตามประเมินผล
ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ความสัมพันธ์ กับโครงการอื่น
การเขียนโครงการ
ชื่อโครงการ จะต้ องบ่ งบอกว่ าทาอะไร อ่ านแล้ วเข้ าใจและ
มองเห็นภาพของงาน การตัง้ ชื่อโครงการควรครอบคลุมประเด็น
ต่ อไปนี ้
มีความชัดเจน เหมาะสม กระชับ
เฉพาะเจาะจงเข้ าใจง่ าย
บ่ งบอกถึงสิ่งที่จะทา
หลักการและเหตุผล หรือเหตุผลความจาเป็ น หรือความสาคัญ
ของปั ญหา
• แสดงถึงเหตุผลที่ต้องทาโครงการว่ า ทาไมต้ องทา ปั ญหาที่
เกิดขึน้ ส่ งผลกระทบหรือทาให้ เกิดความเสียหายแก่ ใครบ้ าง การ
เขียนหลักการและเหตุผล ควรครอบคลุมประเด็น
• ระบุเหตุผลและความจาเป็ น
• มีหลักฐานอ้ างอิง ไม่ กล่ าวลอย ๆ
• มีนา้ หนักที่น่าเชื่อถือ
• ควรกล่ าวถึงภาพรวมก่ อนแล้ วจึงกล่ าวถึงปั ญหา
วัตถุประสงค์
• เป็ นเครื่องชีท้ ศิ ทางการดาเนินงานของโครงการ วัตถุประสงค์ จะ
เป็ นข้ อความที่บอกให้ ทราบว่ า โครงการนีจ้ ะทาอะไร ถ้ ามี
ข้ อความหลายข้ อ ควรเขียนเรียงลาดับความสาคัญ จากที่มี
ความสาคัญมากไปหาน้ อย วัตถุประสงค์ มี 2 ลักษณะ
• วัตถุประสงค์ ท่ วั ไป เป็ นการเขียนกาหนดทิศทางอย่ างกว้ าง ๆ
• วัตถุประสงค์ เฉพาะ เป็ นการเขียนกาหนดทิศทางเฉพาะเจาะจง
เป้าหมาย
• เป็ นการกาหนดถึงผลงานตามโครงการ เมื่อดาเนินโครงการไป
แล้ วจะได้ อะไร การกาหนดเป้าหมายมี 2 ลักษณะ คือ
• เป้าหมายเชิงปริมาณ เป็ นการกาหนดผลงานในด้ านปริมาณ ว่ า
จะได้ อะไร เท่ าไหร่
• เป้าหมายเชิงคุณภาพ เป็ นการกาหนดคุณภาพของผลงานที่ระบุ
ไว้ เชิงคุณภาพว่ า ผลงานที่ได้ จากโครงการดีอย่ างไร มีคณ
ุ ค่ า
อย่ างไร เกิดประโยชน์ อย่ างไร
วิธีดาเนินการ
• เป็ นขัน้ ตอนของการเขียนรายละเอียดภารกิจที่จะต้ องปฏิบัติ
เพื่อให้ งานบรรลุวัตถุประสงค์ ของโครงการ มีวิธีเขียน ดังนี ้
• จาแนกกิจกรรมหลักหลาย ๆ กิจกรรมตามลาดับ ตัง้ แต่ เริ่ มต้ น
โครงการจนกระทัง้ เสร็จสิน้ โครงการ ให้ ชัดเจน
• กิจกรรมแต่ ละกิจกรรมจะต้ องกาหนดระยะเวลา โดยกาหนดเป็ น
แผนปฏิบัตงิ าน
ตัวอย่ าง วิธีการดาเนินงาน
โครงการนิเทศเพือ่ พัฒนาคุณภาพการดาเนินงาน กศน.ตาบล จังหวัดตาก ปี งบประมาณ
2554
กิจกรรม
เตรี ยมการนิเทศ
นิเทศครัง้ ที่1
นิเทศครัง้ ที่ 2
สรุปผล/รายงาน
ผลการนิเทศ
ประเมินโครงการ
นิเทศ
พฤษภาคม มิถุนายน
กรกฎาคม สิงหาคม
กันยายน
การดาเนินการ
ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ เป็ นการระบุระยะเวลาตังแต่
้ เริ่มต้ น
จนกระทัง่ ถึงเวลาเสร็จสิ ้นโครงการ
ตัวอย่างที่ 1
*เริ่มตังแต่
้ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2553
*สิ ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2554
ตัวอย่างที่ 2
*ระหว่างวันที่ 10 เมษายน – 25 สิงหาคม 2554
ตัวอย่างที่ 3
*เริ่มตังแต่
้ เดือนมีนาคม 2554 – เมษายน 2555
งบประมาณ
การระบุรายละเอียดงบประมาณมีหลักในการเขียนดังนี ้
• ในกรณีที่ทราบแน่ชดั ว่าหน่วยงานใดให้ การสนับสนุนงบประมาณ ให้
ระบุแหล่งที่มาของงบประมาณ และจานวนเงินที่ได้ รับ
• ระบุรายละเอียดการใช้ จ่ายงบประมาณแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
• มีเพียงคนเดียวหรื อหลายคนก็ได้ ในกรณีที่เป็ นโครงการที่มหี ลายฝ่ าย
ดาเนินการร่วมกัน
เครื อข่าย
• เครื อข่าย หมายถึง บุคคล กลุม่ บุคคล ชุมชน หน่วยงานทังภาครั
้
ฐและ
เอกชน รวมทังแหล่
้ งวิทยาการในชุมชน ที่มีสว่ นร่วมส่งเสริมสนับสนุน
ประสานงาน ในการดาเนินโครงการในด้ านต่าง ๆ เช่น ด้ านวิทยากร
อาคารสถานที่ งบประมาณ วัสดุอปุ กรณ์ในการดาเนินโครงการ
ผลลัพธ์ (0utc0mes)
หมายถึง ผลที่คาดว่าจะได้ รับจากโครงการ หรื อผลประโยชน์จาก
ผลผลิต(Outputs) ที่มีตอ่ บุคคล ชุมชน สิง่ แวดล้ อม เศรษฐกิจ และ
สังคมโดยรวม
ดัชนีวดั ผลสาเร็จของโครงการ
• ผลผลิต หมายถึง ตัวชี ้วัดที่แสดงผลงานที่เป็ นรูปธรรมในเชิงปริมาณ
และคุณภาพอันเกิดจากการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
• ตัวชี ้วัดผลลัพธ์ หมายถึง ตัวชี ้วัดที่แสดงถึงผลประโยชน์จากผลผลิตที่มี
ต่อบุคคล ชุมชน สิ่งแวดล้ อม เศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม
การติดตามประเมินผล
• ระบุการติดตามผลและการประเมินผลให้ ชดั เจน
• ควรทาแผนควบคุมการประเมินโครงกา
• เน้ นการประเมินภายในโครงการ
ผลการดาเนินโครงการ
โครงการที่ผา่ นมา ในกรณีที่เป็ นโครงการต่อเนื่อง
การวิเคราะห์โครงการ
การวิเคราะห์โครงการ
•
การวิเคราะห์โครงการ หมายถึง การศึกษารายละเอียดของโครงการเพื่อการ
ปรับปรุงเอกสารโครงการให้ มีความถูกต้ องสมบูรณ์ที่สดุ และให้ ได้ โครงการที่ดี
เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน การวิเคราะห์โครงการเป็ นวิธีการหนึง่ ที่
มีความสาคัญ และจาเป็ นอย่างยิ่งต่อการดาเนินโครงการ ซึง่ มีแนวทางในการ
วิเคราะห์ดงั นี ้
กรอบในการวิเคราะห์โครงการ
•
•
•
•
โครงการที่เขียนมีองค์ประกอบสาคัญครบถ้ วนสมบูรณ์
องค์ประกอบมีความถูกต้ อง และชัดเจนตามหลักการเขียนโครงการ
องค์ประกอบต่าง ๆ มีความสอดคล้ องและสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน
โครงการมีความเป็ นไปได้ ในทางเทคนิควิชาการ มีความพร้ อมในด้ าน
วัสดุอปุ กรณ์ และสิง่ อานวยความสะดวก ความพร้ อมในด้ าน
งบประมาณ ตลอดจนความพร้ อมในด้ านบุคลากรผู้ปฏิบตั งิ าน
วิเคราะห์โครงการ
บทร้อยกรองของเล่าซู
ปรมาจารย์แห่งลัทธิเต๋ า
ในยามที่ทกุ สิ่งสงบ
ย่อมง่ายที่จะลงมือ
ก่อนหน้ าที่ความยุง่ ยากจะปรากฏ ย่อมมีเค้ าลาง
จึงเป็ นการง่าย
ที่จะวางแผนต่อกร
อะไรที่เปราะบาง
ย่อมแตกหักง่าย
อะไรที่เล็ก ๆ
ย่อมกระจัดกระจาย
จงเตรี ยมการล่วงหน้ า
ก่อนปี ศาจร้ ายจะมา
จงควบคุมสรรพสิ่ง
ก่อนที่ความยุง่ เหยิงจะก่อตัว
ใบงาน
1.จงเขียนโครงการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัด ............ปี งบประมาณ 2555
2. จงวิเคราะห์โครงการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยจังหวัด ............ปี งบประมาณ 2555 ตามแบบวิเคราะห์ที่
กาหนด