การพัฒนาระบบการนิเทศ สานักงาน กศน.จังหวัด จันทบุรี อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 7 ธันวาคม 2554 หัวข้ อบรรยาย 1. ความรู้พ้นื ฐานการนิเทศการศึกษา 2. การนิเทศ กศน.  3.

Download Report

Transcript การพัฒนาระบบการนิเทศ สานักงาน กศน.จังหวัด จันทบุรี อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ 7 ธันวาคม 2554 หัวข้ อบรรยาย 1. ความรู้พ้นื ฐานการนิเทศการศึกษา 2. การนิเทศ กศน.  3.

การพัฒนาระบบการนิเทศ
สานักงาน กศน.จังหวัด
จันทบุรี
อัญชลี ธรรมะวิธีกลุ
ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
7 ธันวาคม 2554
หัวข้ อบรรยาย
1. ความรู้พ้นื ฐานการนิเทศการศึกษา
2. การนิเทศ กศน.
 3. ระบบการนิเทศ กศน. จังหวัด
 Page 2
ความรูพ้ ้ ืนฐานการนิ เทศการศึกษา
 Page 3
1. ความหมาย
 ความหมาย
แสดง
นิเทศ ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน หมายถึง ชี้แจง
 การนิเทศ(Supervision) มีผใู้ ห้ความหมายไว้หลายประการ ดังนี้
 สเปี ยร์ ส (Spears) “การนิเทศการศึกษาเป็ นกระบวนการที่จะทาให้เกิดการปรับปรุ ง
การจัดกระบวนการเรี ยนการสอนของครู โดยการทางานร่ วมกับครู และผูเ้ กี่ยวข้อง
เป็ นการกระตุน้ ความเจริ ญก้าวหน้าของครู ช่วยเหลือครู ให้ครู สามารถพัฒนาตนเอง
ได้”
 กูด (Good) “การนิเทศการศึกษา เป็ นความพยายามของผูท้ ี่ทาหน้าที่นิเทศที่จะช่วยให้
คาแนะนาครู หรื อผูเ้ กี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถปรับปรุ งการจัดการเรี ยน
การสอนให้ดีข้ ึน ช่วยพัฒนาศักยภาพของครู และช่วยให้ครู และผูเ้ กี่ยวข้องเกิดความ
เจริ ญงอกงามในอาชีพ”
 Page 4
ความหมาย
 สรุปความหมายของการนิ เทศการศึกษา
 การนิ เทศการศึกษา หมายถึง กระบวนการพัฒนาครู เพื่อให้ครู ปรับปรุ งและพัฒนาการ
จัดกระบวนการเรียนรู ้ เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ การนิ เทศจึงเป็ น
กระบวนการในการแนะนาช่วยเหลือครู ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู ไ้ ด้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งการนิ เทศนั้นอยูบ่ นหลักการของประชาธิปไตย คือการเคารพซึ่งกัน
และกันระหว่างผูน้ ิ เทศและผูร้ ับการนิ เทศ
 Page 5
2. ความจาเป็ นในการนิเทศ
o บริ บทของ ชุมชน ประเทศไทยและของโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นการจัด
การศึกษาจะต้องปรับเปลี่ยนให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง การนิ เทศการศึกษาเป็ นวิธกี ารหนึ่ ง
ที่จะช่วยให้ครู และผูเ้ กี่ยวข้องจัดการศึกษาได้สอดคล้องกับบริ บทที่เปลี่ยนไป
o
ความรู ใ้ นสาขาต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มขึ้นใหม่ตลอดเวลา การนิ เทศจะ ช่วยให้
ครู มคี วามรู ท้ นั สมัยขึ้น
 Page 6
 การแก้ไขปั ญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ จาเป็น
จะต้องได้รับคาแนะนา คาปรึ กษา จากผูช้ านาญการโดยเฉพาะ จึงจะทาให้การ
แก้ไขปั ญหาได้สาเร็จลุลว่ ง
 การจัดการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ จะต้องมีการ
ควบคุมคุณภาพ ด้วยระบบการนิ เทศการศึกษา
 การจัดการศึกษาเป็นกิจกรรมที่มคี วามสลับซับซ้อน จาเป็นจะต้องมีการนิ เทศ
เพื่อพัฒนาครู ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู ไ้ ด้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
 การนิ เทศการศึกษาเป็นงานที่มคี วามจาเป็นต่อความเจริ ญงอกงามของครู แม้
ครู จะได้รับการพัฒนามาแล้ว แต่ครู จาเป็ นจะต้องปรับปรุ งและพัฒนาตนเองอยู ่
เสมอในขณะทางานในสถานการณ์จริ ง
 Page 7
3. ความมุ่งหมายการนิเทศการศึกษา
ดร.สงัด อุทรานันท์ (2530) ได้กล่าวถึงจุดมุง่ หมายของการนิ เทศการศึกษาว่า มี
จุดมุง่ หมายที่สาคัญ 4 ประการ
o เพื่อพัฒนาคน
o เพื่อพัฒนางาน
o เพื่อประสานสัมพันธ์
o เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจ
 Page 8
ความมุ่งหมายการนิเทศการศึกษา(ต่ อ)
การนิ เทศการศึกษาเพื่อพัฒนาคน
หมายถึง การนิ เทศการศึกษาเป็ นกระบวนการ
ทางานร่วมกันกับครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ครู และบุคลากร ได้เปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมในทางที่ดขี ้ ึน
การนิ เทศการศึกษาเพื่อพัฒนางาน
หมายถึง การนิ เทศการศึกษา มีเป้าหมาย
สู งสุ ดอยูท่ ่ คี ุณภาพของผูเ้ รียนซึ่งเป็ นผลผลิตจากการจัดกระบวนการเรี ยนรู ข้ องครู และ
บุคลากรทางการศึกษา โดยเหตุน้ ีการนิ เทศที่จดั ขึ้นจึงมีจุดมุง่ หมายที่จะ “พัฒนา
งาน” คือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ดขี ้ นึ
 Page 9
การนิเทศการศึกษาเพือ่ สร้ างการประสานสัมพันธ์ หมายถึง การสร้างการ
ประสานสัมพันธ์ ระหว่างผูน้ ิเทศและผูร้ ับการนิเทศ ซึ่งเป็ นผลมาจากการ
ทางานร่ วมกัน รับผิดชอบร่ วมกันมีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ซ่ ึงกันและกัน
การนิเทศการศึกษาเพือ่ สร้ างขวัญและกาลังใจ หมายถึง การนิเทศที่มุ่งให้
กาลังใจแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็ นจุดมุ่งหมายที่สาคัญ
อีกประการหนึ่งของการนิเทศ เนื่องจากขวัญและกาลังใจเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะ
ทาให้บุคคลมีความตั้งใจทางาน
 Page 10
4. ผู้ทาหน้ าทีน่ ิเทศการศึกษา
 บุคคลที่ทาหน้าที่นิเทศการศึกษา
ไม่จาเป็ นต้องเป็ นเฉพาะศึกษานิ เทศก์เท่านั้นแต่
เป็ นใครก็ได้ท่ ที าหน้าที่ชว่ ยเหลือ แนะนา ปรับปรุ งและพัฒนาการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเน้น ในเรื่ องของกระบวนการเรียนการสอน ในปั จจุบนั บุคคล
ผูท้ าหน้าที่นิเทศการศึกษาได้มหี ลายกลุม่ ดังนี้
o ศึกษานิ เทศก์ คือบุคคลที่มหี น้าที่ในการนิ เทศการศึกษาโดยตาแหน่ ง
o ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
o ผูบ้ ริ หารการศึกษา
o ผูเ้ ชี่ยวชาญ คือบุคคลที่สถานศึกษาเชิญมาเป็ นวิทยากร เพื่อช่วยเหลือแนะนาและ
ให้ความรู เ้ กี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้
o ครู อาจให้ความช่วยเหลือแนะนาเกี่ยวกับการปรับปรุ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู แ้ ก่
เพื่อนครู ดว้ ยกัน
 Page 11
5. ประเภทของงานนิเทศการศึกษา
ประเภทการนิ เทศการศึกษา แบ่งตามวิธปี ฏิบตั ิงานเป็น 4 ประเภท
การนิ เทศเพื่อการแก้ไข (Correction) เป็นการนิ เทศที่เกิดจากการพบข้อผิดพลาดและ
บกพร่องก็ให้หาทางช่วยแก้ไขโดยวิธกี ารต่าง ๆ
 การนิ เทศเพื่อป้องกัน (Preventive)
เป็ นการนิ เทศที่พยายามหาวิธกี ารต่าง ๆ มาจัด
ดาเนิ นงานเพื่อป้องกันปั ญหาต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น
การนิ เทศเพื่อก่อ (Construction)
เป็ นการนิ เทศเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา เช่น การนิ เทศการเทียบระดับการศึกษา หรื อการให้กาลังใจครู ในการทางานให้
บรรลุเป้าหมายและมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
การนิ เทศเพื่อการสร้างสรรค์ (Creation) เป็นการนิ เทศที่พยายามจะคิดสร้างสรรค์ใน
สิ่งใหม่ ๆ ให้เกิดมีข้ ึนในสถานศึกษา
 Page 12
6.หลักการนิเทศการศึกษา
 เบอร์ ตันและบรุคเนอร์
คือ
(Burton and Brueckner) ได้สรุ ปหลักการนิเทศการศึกษาไว้ 4 ประการ
 การนิเทศการศึกษาควรมีความถูกต้องตามหลักวิชา การนิเทศการศึกษาที่ดีควรจะเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ และนโยบายที่วางไว้
 การนิเทศการศึกษาควรเป็ นวิทยาศาสตร์ ควรเป็ นไปอย่างมีระเบียบมีการปรับปรุ งและ
ประเมินผล การนิเทศควรจะมาจากการรวบรวมข้อมูล และการสรุ ปผลอย่างมีประสิ ทธิภาพเป็ นที่
เชื่อถือได้
 การนิเทศการศึกษาควรเป็ นประชาธิปไตย การนิเทศการศึกษาจะต้องเคารพในความแตกต่างของ
บุคคล เน้นความร่ วมมือร่ วมใจกันในการดาเนินงาน และใช้ความรู้ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน
เพื่อให้งานนั้นไปสู่เป้ าหมายที่ตอ้ งการ
 การนิเทศการศึกษาควรจะเป็ นการสร้างสรรค์ การนิเทศการศึกษาควรเป็ นการแสวงหา
ความสามารถพิเศษของบุคคล แล้วเปิ ดโอกาสให้ได้แสดงออกและพัฒนาความสามารถเหล่านั้น
อย่างเต็มที่
 Page 13
7. กระบวนการนิเทศ
กระบวนการนิ เทศการศึกษา หมายถึงการดาเนิ นการในการนิ เทศให้ได้รบั ความสาเร็จ
แฮริส (Harris) ได้กาหนดขัน้ ตอนของกระบวนการนิ เทศการศึกษาไว้ดงั นี้
ขัน้ วางแผน (Planning) ได้แก่ การคิด การตัง้ วัตถุประสงค์ การคาดการณ์ลว่ งหน้าการกาหนดตาราง
งาน การค้นหาวิธปี ฏิบตั ิงาน และการวางโปรแกรมงาน
ขัน้ การจัดโครงการ (Organizing) ได้แก่ การตัง้ เกณฑ์มาตรฐาน การรวบรวมทรัพยากรที่มอี ยูท่ งั้ คน
และวัสดุอุปกรณ์ ความสัมพันธ์แต่ละขัน้ การมอบหมายงาน การประสานงาน การกระจายอานาจ
ตามหน้าที่ โครงสร้างขององค์การ และการพัฒนานโยบาย
ขัน้ การนาเข้าสู ก่ ารปฏิบตั ิ (Leading) ได้แก่ การตัดสินใจ การเลือกสรรบุคคล การเร้าจูงใจให้มกี าลังใจ
คิดริ เริ่ มอะไรใหม่ ๆ การสาธิต การจูงใจ และให้คาแนะนา การสื่อสาร การกระตุน้ ส่งเสริ ม
กาลังใจ การแนะนานวัตกรรมใหม่ ๆ และให้ความสะดวกในการทางาน
 Page 14
ขัน้ การควบคุม (Controlling) ได้แก่ การสั่งการ การให้รางวัล การลงโทษ
การให้โอกาสการตาหนิ การไล่ออก และการบังคับให้กระทาตาม
ขัน้ ประเมินผล (Appraising) ได้แก่ การตัดสินการปฏิบตั ิงาน การวิจยั
และการวัดผลการปฏิบตั งิ าน กิจกรรมที่สาคัญ คือพิจารณาผลงานในเชิง
ปฏิบตั วิ า่ ได้ผลมากน้อยเพียงใด และวัดผลด้วยการประเมินอย่างมีแบบ
แผน มีความเที่ยงตรง ทัง้ นี้ควรจะมีการวิจยั ด้วย
จะเห็นว่า
กระบวนการนิ เทศการศึกษาเป็ นการทางานอย่างมีแบบ
แผน โดยเริ่ มจากการวิเคราะห์งานการเรียนการสอนของครู เพื่อจะได้ทราบ
ปั ญหา ระบุปัญหาที่จะต้องรีบแก้ไขปรับปรุ งก่อนหลังแล้วจึงวางแผนที่จะ
ดาเนิ นการโดยหาทางเลือกที่จะแก้ปัญหาที่ดที ่ สี ุ ด ต่อจากนั้นก็ดาเนิ นการ
ตามแนวขัน้ ตอนตามลาดับจนถึงขัน้ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านแล้วจึง
นาผลการปฏิบตั ไิ ปปรับปรุ งแก้ไขต่อไป
 Page 15
8. ลักษณะงานนิเทศการศึกษา
 งานนิ เทศที่ปฏิบตั ิกนั อยู่มีดงั นี้
 งานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร (Developing Curriculums) ซึ่งเป็นงานเกี่ยวกับการ
จัดทาหลักสู ตรสถานศึกษา การพัฒนาหลักสู ตรท้องถิ่น การประเมินหลักสู ตร การ
ประกันคุณภาพหลักสู ตร การจัดทาแผนการเรียนรู ้
 การจัดกระบวนการเรียนการสอน (Organizing for Instruction) เป็นการจัดระบบการ
เรียนการสอนให้เหมาะสมกับการนาหลักสู ตรไปใช้ เช่น การจัดกลุม่ ผูเ้ รียน การจัดทา
แผนการพบกลุม่ การจัดกระบวนการเรียนรู แ้ บบ บูรณาการ
 การคัดเลือกบุคลากร (Staffing) โดยเลือกสรรให้เหมาะสมกับงาน มีการสรรหา
 Page 16
 การจัดสิ่งอานวยความสะดวก (Providing Facility) เช่นการออกแบบและจัดเตรียม
สิ่งอานวยความสะดวกให้กบั ผูส้ อน รวมถึงการจัดวางแผนอาคารเรียนที่ถูกต้อง
 จัดหาวัสดุอุปกรณ์การสอน (Providing Materials) ตรวจและเลือกวัสดุอุปกรณ์การ
สอนที่จะนามาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อการสอน
 จัดอบรมครู (Arranging for In-Service Education) เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูน
ความรู แ้ ก่ครู อันจะส่งผลให้ครู มคี วามก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพทางด้านวิชาการยิ่งขึ้น
 งานประเมินผล (Evaluation) จัดให้มกี ารประเมินผลทางการเรียนการสอน เพื่อหา
จุดอ่อนเพื่อนาไปปรับปรุ งกระบวนการเรียนการสอนให้ดยี ่ งิ ขึ้น ซึ่งหมายถึงการวางแผน
การสร้างเครื่ องมือ การจัดดาเนิ นการ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มู ล การแปรผล
และการตัดสินใจ เพื่อปรับปรุ งการเรียนการสอน
 Page 17
จัดปฐมนิ เทศครูใหม่ (Orienting New Staff Members) เพื่อให้ได้ทราบข้อมูลต่าง ๆ ให้
รู แ้ ละเข้าใจในสิ่งที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน เป็ นการลดอุปสรรคในการปฏิบตั ิงาน อันจะทา
ให้งานประสบสาเร็จมากขึ้น
การสร้างเสริมความสัมพันธ์กบั ชุมชน (Developing Public Relation) ในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การแจ้งข่าวความเคลื่อนไหวทางการศึกษาให้ชุมชนทราบ
แสวงหาความช่วยเหลือจากชุมชน ตลอดจนการเสริ มสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง
สถานศึกษากับชุมชน
 Page 18
9.วิธีการนิ เทศการศึกษา
สาย ภาณุรตั น์ ได้เสนอแนะเทคนิ คการนิ เทศไว้หลายอย่างดังนี้
เทคนิ คเสนอแนะ ผูน้ ิ เทศจะต้องหาทางเสนอแนะวิธกี ารต่าง ๆ เช่น วิธสี อน วิธี
แก้ปัญหาและแหล่งความรู ต้ า่ ง ๆ ให้แก่ครู เพื่อให้ครู ทราบและเลือกปฏิบตั ิได้ถูกต้อง
เทคนิ คสาธิต ผูน้ ิ เทศจะต้องลงมือปฏิบตั ิงานให้ครู ได้เห็นจริ ง อาจจะเป็ นการสาธิตการ
สอนการจัดทาอุปกรณ์การสอนเพื่อเป็ นแนวทางให้ครู ปฏิบตั ิตอ่ ไป
เทคนิ คกัยวิกยั ผูน้ ิ เทศจะต้องพยายามเปิ ดโอกาสให้ครู ได้แสดงความสามารถออกมาให้
เต็มที่แล้วช่วยเสริ มต่อหรื อตัดทอนบางสิ่งบางอย่างให้ในบางกรณีออกมาในรู ปของการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
 Page 19
เทคนิ คชวนพาที ผูน้ ิ เทศจะชักชวนพูดคุยเรื่ องวิชาการและหลักการ โดยไม่ให้ครู รูต้ วั ว่า
กาลังถูกนิ เทศ ในขณะเดียวกันก็สอดแทรกสิ่งที่ขาดตกบกพร่องให้
เทคนิ คแพร่พิมพ์ ผูน้ ิ เทศเสนอเทคนิ คและวิทยาการใหม่ ๆ ที่น่าสนใจให้แก่ครู อาจจะทา
ได้โดยการออกเอกสารทางวิชาการ หรื อไม่กอ็ อกไปนิ เทศกับครู โดยตรง
เทคนิ คปลุกมหานิ ยม ผูน้ ิ เทศจะใช้มนุ ษยสัมพันธ์ท่ ดี กี บั ครู ยิ้มแย้มแจ่มใส พูดคุยกันด้วย
ปั ญหาส่วนตัว และอื่น ๆ ในขณะเดียวกันก็สอดแทรกปั ญหาทางวิชาการเข้าไปด้วย
เทคนิ คป้อนขนมนมเนย ผูน้ ิ เทศจะค่อย ๆ หาทางฝึกครู ให้แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เองโดย
การป้อนปั ญหาจากง่ายไปหายาก ให้ครู ชว่ ยกันคิด ช่วยกันหาทางแก้ไขจนสามารถที่จะคิด
และแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
 Page 20
10. เทคนิคการนิเทศการศึกษาโดยทัว่ ไป
ก่อ สวัสดิพานิ ชย์ ได้เสนอเทคนิ คการนิ เทศการศึกษาทัว่ ไป แบ่งได้เป็น 7 แบบดังนี้
การนิ เทศโดยตรง ได้แก่การไปเยี่ยมสถานศึกษา ศึกษาปั ญหาที่สถานศึกษาและให้
ข้อคิดเห็น
การนิ เทศโดยการอบรม
การจัดวัสดุและข่าวสารให้แก่ครู
การสาธิตการสอน
จัดประชุมปฏิบตั ิการ
จัดให้ไปศึกษา ดูงาน
การแสดงตัวอย่าง จัดนิ ทรรศการ
 Page 21
11. เทคนิคการนิเทศแบ่ งตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย
การนิ เทศเพื่อการพัฒนาผูร้ บั การนิ เทศเป็ นกลุ่ม ได้แก่
การจัดประชุมสัมมนา
การจัดประชุมปฏิบตั ิการ
การฝึกงาน
การศึกษากรณีตวั อย่าง
การสาธิต
การอภิปราย
การสนทนา
การจัดบรรยายหรื อฟังปาฐกถา
ทัศนศึกษา
การร่วมปฏิบตั ิงานในคณะทางาน คณะกรรมการ
 Page 22
การนิเทศเพือ่ การพัฒนาเป็ นรายบุคคล ได้แก่
การฝึ กงาน
การเรี ยนรู้จากผูม้ ีประสบการณ์
การเลือกวิชาเรี ยนในวิทยาลัยหรื อมหาวิทยาลัย
การเข้ารับการฝึ กอบรม
การศึกษาต่อ
การเป็ นสมาชิกของสมาคม
 Page 23
การทดลองปฏิบตั ิงาน
การอ่าน
การเขียน
การศึกษาและดูงาน
การจัดทาโครงการ
การเป็ นวิทยากร
การร่ วมเป็ นกรรมการ
 Page 24
การนิเทศ กศน.
 Page 25
1. ความหมาย
การนิเทศงาน กศน. หมายถึง กระบวนการทางานร่ วมกันของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุก
ระดับ เพื่อที่จะพัฒนาคุณภาพบุคลากรในหน่วยงานสถานศึกษา ให้มีศกั ยภาพในการคิด
การแก้ปัญหา และพัฒนางานด้วยความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ที่มีประสิ ทธิ ภาพ เป็ นไปตาม
โยบาย จุดหมาย แผนงาน หลักการที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ โดยผ่านกระบวนการสื่ อสารทั้ง
สองทาง บนรากฐานของมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
 Page 26
2. แนวคิดเกีย่ วกับการนิเทศงาน กศน.
แนวคิดเกี่ยวกับการนิ เทศงาน กศน. ตัง้ อยู่บนพื้นฐานแนวคิดต่อไปนี้
o
การนิ เทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการทางานร่วมกันของบุคลากรที่
เกี่ยวข้อง
o
การนิ เทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีความเชื่อมัน่ และศรัทธาในความเป็น
มนุ ษย์
o การนิ เทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริ มเจตคติและความเชื่อมัน่ ใน
ตนเอง
o
o
 Page 27
การนิ เทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จะทางานเป็นทีม
การนิ เทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จะไม่มผี ูใ้ ห้การนิ เทศและผูร้ ับการนิ เทศ
ที่ถาวร บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายจะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและบทบาทในการนิ เทศซึ่งกันและ
กัน
3. ความสาคัญของการนิเทศ กศน.
o การนิเทศเป็ นงานสาคัญที่จะต้องดาเนินควบคู่กบั การบริ หาร เพราะการนิเทศเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
บริ หาร
o องค์ประกอบของการบริ หารย่อมขึ้นอยูก่ บั คน เงิน วัสดุ และการจัดการ การบริ หารคนให้มี
ประสิ ทธิภาพในการทางาน จะต้องมีเทคนิคที่เหมาะสม เทคนิคในการบริ หารอย่างหนึ่ง คือ การนิเทศ
เพื่อส่ งเสริ มให้บุคลากรปฏิบตั ิงานอย่างมีคุณภาพ สามารถใช้เงิน วัสดุได้อย่างคุม้ ค่า
o มีหลักการจัดการที่จะควบคุมการปฏิบตั ิงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของหน่วยงานที่กาหนดไว้ ผูบ้ ริ หาร
ต้องใช้เทคนิคการบริ หารงานและการนิเทศควบคู่กนั
 Page 28
o การนิเทศการศึกษาเป็ นความพยายามในการแนะนา กระตุน้ ให้กาลังใจ ช่วยเหลือ เพื่อให้บุคลากร
สามารถจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้มีคุณภาพ หรื อปรับปรุ งกระบวนการจัดการศึกษาให้มี
ประสิ ทธิภาพสูง
o มีการจัดกิจกรรมการศึกษาที่หลากหลายให้บริ การแก่กลุ่มเป้ าหมายประเภทต่าง ๆ ทาให้มีอุปสรรค
ในการปฏิบตั ิงาน เพราะมีบุคลากรที่ปฏิบตั ิงานในสังกัด กศน. และไม่ได้สงั กัด สานักงาน กศน.
จาเป็ นจะต้องนิเทศ เพื่อให้บุคลากรเข้าใจนโยบาย ปรัชญาการจัด กศน.
 Page 29
4. จุดมุ่งหมายการนิเทศ กศน.
o เพื่อพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้
และการวัดผลประเมินผลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
o เพื่อส่ งเสริ มสนับสนุนการจัดกิจกรรม กศน. ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน กศน.
o เพื่อส่ งเสริ มให้ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบตั ิงานได้ยา่ งมีประสิ ทธิ ภาพ
 Page 30
5. รูปแบบการนิเทศ กศน.
การนิเทศทัว่ ไป เป็ นการนิเทศโดยศึกษานิเทศก์ ร่ วมกับผูน้ ิเทศภายใน ดาเนินการ
นิเทศการจัดกิจกรรม กศน. ทุกกิจกรรม ในภาพรวมของการดาเนินกิจกรรม กศน. ใน
สถานศึกษานั้น ๆ ว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายหรื อไม่ เป็ นการนิเทศทั้งด้านปริ มาณและ
คุณภาพว่าเป็ นไปตามมาตรฐานที่ สานักงาน กศน. กาหนดหรื อไม่ ซึ่ งจะทาให้เห็น
สภาพปั ญหา แนวทางแก้ไขและการพัฒนาคุณภาพการจัด กศน.
 Page 31
5. รูปแบบการนิเทศ กศน.(ต่ อ)
นิ เทศเชิงวิจยั เป็นการนิ เทศโดยกาหนดจุดประสงค์ตามสภาพปั ญหา ความต้องการ
ความจาเป็ นของแต่ละสถานศึกษา แต่ละกิจกรรม กศน. ทัง้ นี้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการ
ดาเนิ นงาน บุคลากร ให้มคี วามรู ้ ทักษะ และเจตคติท่ ดี ตี อ่ การจัดการศึกษา
 Page 32
5. รูปแบบการนิเทศ กศน.(ต่ อ)
 นิเทศเชิงลึก เป็ นการนิเทศเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อให้ครู บุคลากรทางการ
ศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจและมีทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่าง
มีประสิ ทธิ ภาพ เช่น
 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 การเทียบระดับการศึกษา
 การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
 การวิจยั ชั้นเรี ยน
 Page 33
6. กระบวนการนิเทศ กศน.
กระบวนการนิ เทศ กศน. ได้นาแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการนิ เทศ PIDRE ของ ดร.สงัด
อุทรานันท์ (2527 ) มาประยุกต์ใช้ มีขนั้ ตอน ดังนี้
ขัน้ ที่ 1 การวางแผนการนิ เทศ (Planning-P)
ขัน้ ที่ 2 ให้ความรู ค้ วามเข้าใจในการทางาน (Informing-I)
ขัน้ ที่ 3 ลงมือปฏิบตั ิงาน (Doing-D)
ขัน้ ที่ 4 สร้างเสริ มกาลังใจ (Reinforcing-R)
ขัน้ ที่ 5 ประเมินการนิ เทศ (Evaluating-E)
 Page 34
ขัน้ ที่ 1 วางแผนการนิ เทศ (Planning-P) เป็นขัน้ ที่ผูบ้ ริ หารผูน้ ิ เทศและผูร้ ับการนิ เทศ
จะทาการประชุมปรึ กษาหารื อเพื่อให้ได้มาซึ่งปั ญหาและความต้องการจาเป็ นที่จะต้องมี
การนิ เทศ รวมทัง้ วางแผนถึงขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการนิ เทศที่จะจัดขึ้นอีกด้วย
ขัน้ ที่ 2 ให้ความรูใ้ นสิ่งที่จะทา (Informing-I) เป็นขัน้ ตอนของการให้ความรู ค้ วาม
เข้าใจถึงสิ่งที่จะดาเนิ นงานว่าจะต้องอาศัยความรู ค้ วามสามารถอย่างไรบ้าง จะมีขนั้ ตอน
ในการดาเนิ นการอย่างไร และจะทาอย่างไรจึงจะทาให้ได้ผลงานออกมาอย่างมีคุณภาพ
ขัน้ นี้จาเป็ นทุกครั้งสาหรับการเริ่ มการนิ เทศที่จดั ขึ้นใหม่ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องใดก็ตาม และก็มี
ความจาเป็ นสาหรับงานนิ เทศที่ยงั ไม่ได้ผล หรื อได้ผลไม่ถึงขัน้ ที่พอใจซึ่งจาเป็ นจะต้องทา
การทบทวนให้ความรู ใ้ นการปฏิบตั ิงานที่ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ ง
 Page 35
กระบวนการนิเทศ PIDRE (ต่ อ)
 ขัน้ ที่ 3 การปฏิบตั ิงาน (Doing -D) ประกอบด้วยงานใน 3 ลักษณะคือ
oการปฏิบตั ิงานของผูร้ ับนิ เทศเป็ นขัน้ ที่ผูร้ ับการนิ เทศลงมือปฏิบตั ิงานตามความรู ้
ความสามารถที่ได้รับมาจากดาเนิ นการในขัน้ ที่ 2
oการปฏิบตั ิงานของผูใ้ ห้การนิ เทศ ขัน้ นี้ผูใ้ ห้การนิ เทศจะทาการนิ เทศและควบคุม
คุณภาพให้งานสาเร็จออกมาทันตามกาหนดเวลาและมีคุณภาพสู ง
oการปฏิบตั ิงานของผูส้ นับสนุ นการนิ เทศ ผูบ้ ริ หารก็จะให้บริ การสนับสนุ นในเรื่ อง
วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเครื่ องใช้ตา่ ง ๆ ที่จะช่วยให้การปฏิบตั งิ านเป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
 Page 36
กระบวนการนิเทศ PIDRE (ต่ อ)
 ขัน้ ที่ 4 การสร้างขวัญและกาลังใจ (Reinforcing-R)
ขัน้ นี้เป็ นขัน้ ของการเสริ ม
กาลังใจของผูบ้ ริ หารเพื่อให้ผูร้ ับการนิ เทศมีความมัน่ ใจ
 ขัน้ ที่ 5 ประเมินผลผลิตของการดาเนิ นงาน (Evaluating-E) เป็นขัน้ ที่ผูน้ ิ เทศทาการ
ประเมินผลการดาเนิ นการซึ่งผ่านไปแล้วว่าเป็ นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิ เทศ
หากพบว่ามีปัญหาหรื ออุปสรรคอย่างหนึ่ งอย่างใดที่ทาให้การดาเนิ นงานไม่ได้ผลก็สมควร
จะต้องทาการปรับปรุ งแก้ไข ซึ่งการปรับปรุ งแก้ไขอาจจะทาได้โดยการให้ความรู ใ้ นสิ่งที่
ทาใหม่อกี ครั้งหนึ่ งสาหรับกรณีท่ ผี ลงาน ออกมายังไม่ถึงขัน้ ที่พอใจ หรื อดาเนิ นการ
ปรับปรุ งการดาเนิ นงานทัง้ หมดสาหรับกรณีการดาเนิ นงานเป็ นไปไม่ได้ผลและ ถ้าหากการ
ประเมินผลได้พบว่าประสบผลสาเร็จตามที่ได้ตงั้ ไว้หากจะได้ดาเนิ นการนิ เทศต่อไปก็
สามารถทาไปได้เลยโดยไม่ตอ้ งให้ความรู ใ้ นเรื่ องนั้นอีก
 Page 37
7. แนวทางในการนิ เทศของสานักงาน กศน. จังหวัด
1. การวางแผนการนิ เทศ
o ศึกษาสภาพ ปั ญหาการนิ เทศ ปี ท่ ผี า่ นมา
o วิเคราะห์นโยบาย จุดเน้น ของสานักงาน กศน./กศน.จังหวัด
o ศึกษา สภาพปั ญหาของการจัดกิจกรรม กศน. และความต้องการของผูร้ ับการนิ เทศ
o กาหนดทิศทางในการนิ เทศ(วิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย และตัวชี้วดั
ความสาเร็จ)
o จัดทาแผนงาน/โครงการนิ เทศ
 Page 38
7.แนวทางในการนิ เทศของสานักงาน กศน. จังหวัด (ต่อ)
2. พัฒนาบุคลากรผูท้ าหน้าที่นิเทศ
o ศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความรู แ้ ละทักษะที่สาคัญที่จะต้องใช้ ในการปฏิบตั ิการ
นิ เทศ
o
สารวจความรู แ้ ละทักษะที่มอี ยูข่ องบุคลากรผูท้ าหน้าที่นิเทศ
o
จัดทาหลักสู ตรเพื่อพัฒนาบุคลากรผูท้ าหน้าที่นิเทศ
o
จัดทาแผนพัฒนาบุคลาการ
o
ดาเนิ นการพัฒนาบุคลากร
o
ติดตามและประเมินผลการพัฒนาบุคลากร
 Page 39
7. แนวทางในการนิ เทศ ของสานักงาน กศน. จังหวัด (ต่อ)
3. เตรียมความพร้อมการนิ เทศ
o คน
o งบประมาณ
o ยานพาหนะ
o สื่อ/เครื่ องมือนิ เทศ
o ประสานแผนนิ เทศ
 Page 40
7. แนวทางในการนิ เทศ ของสานักงาน กศน. จังหวัด (ต่อ)
4. การปฏิบตั ิการนิ เทศตามแผนที่กาหนด
o
ให้ความรู ้ความเข้าใจในการทางานแก่ผรู ้ ับการนิเทศ (Informing-I)
o
ลงมือปฏิบตั ิงาน (Doing-D)
o
สร้างเสริ มกาลังใจ (Reinforcing-R)
 Page 41
7.แนวทางในการนิ เทศของสานักงาน กศน. จังหวัด (ต่อ)
5.การประเมินผลนิเทศ
ตัวอย่าง กรอบในการประเมิน
 ความพึงพอใจต่อกระบวนการนิ เทศ
o
การวางแผนนิเทศ ชัดเจน มีความเป็ นไปได้
o
การประสานแผนนิเทศชัดเจนปฏิบตั ิได้
o
วิธีการนิเทศเหมาะสมกับกิจกรรม กศน. และผูร้ ับการนิเทศ
o
การเสริ มสร้างกาลังใจให้กบั ผูร้ ับการนิเทศ
o
การประเมินผลการนิ เทศ มีการประเมินอย่างต่อเนื่อง
 Page 42
ความพึงพอใจต่อการนิ เทศการจัดกิจกรรม กศน. ตามนโยบายของสานักงาน
กศน. ปี งบประมาณ 2555
o
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา
o
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
o การเทียบโอนความรู แ้ ละประสบการณ์
o การเทียบระดับการศึกษา
o
การส่งเสริ มการรู ห้ นังสือ
o
การส่งเสริ มการอ่าน
 Page 43
ความพึงพอใจต่อการนิ เทศการจัดกิจกรรม กศน.
o ห้องสมุดประชาชน
o การประกันคุณภาพการศึกษา
 Page 44
แนวทางในการการนิ เทศ ของสานักงาน กศน. จังหวัด (ต่อ)
ความพึงพอใจต่อผูน้ ิ เทศ
o มีบุคลิกภาพดี.
o มีมนุ ษยสัมพันธ์ดี
o มีความรู ค้ วามสามารถในเรื่ องที่นิเทศ.
o มีเทคนิ คการนิ เทศที่เหมาะสมกับเรื่ องที่นิเทศ
o สร้างขวัญ กาลังใจแก่ผูร้ ับการนิ เทศ
 Page 45
ความพึงพอใจต่อสื่อ/เอกสารประกอบการนิ เทศ
o
คูม่ ือการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา
o
คูม่ ือการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
o คูม่ ือการเทียบโอนความรู แ้ ละประสบการณ์
o คูม่ ือการเทียบระดับการศึกษา
 Page 46
o
คูม่ ือการจัดการส่งเสริ มการรู ห้ นังสือ
o
คูม่ ือการจัดกิจกรรมการส่งเสริ มการอ่าน
o คูม่ ือดาเนิ นงานห้องสมุดประชาชน
o คูม่ ือดาเนิ นการประกันคุณภาพการศึกษา
 Page 47
แนวทางในการการนิ เทศ (ต่อ)
ความพึงพอใจต่อคุณภาพการนิ เทศ
o ได้รับการนิ เทศตรงกับความต้องการ
o ได้รับการนิ เทศที่ ถูกต้อง เหมาะสม
ความพึงพอใจต่อประโยชน์ท่ ไี ด้รับจากการนิ เทศ
o กิจกรรม กศน. มีคุณภาพเป็ นไปตามมาตรฐาน กศน.
o ผูร้ ับการนิ เทศ มีความรู ้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน
o ผูร้ ับการนิ เทศมีขวัญ กาลังใจในการปฏิบตั ิงาน
 Page 48
แนวคิด : ระบบการนิเทศ กศน. จังหวัด
 Page 49
แนวคิดเชิงระบบ (system concept)
การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆนั้น จะประกอบด้วยส่วนสาคัญๆ ที่มีความสัมพันธ์กนั อย่าง
น้อย 3 ส่ วน ดังนี้
1. องค์ประกอบของสิ่ งต่าง ๆ
2. การกระทาต่อกันขององค์ประกอบ
3. จุดหมายปลายทางของการกระทา
 Page 50
จึงอาจสรุ ปได้วา่ ระบบประกอบด้วย
 ปัจจัยป้ อน (Input) คือส่วนประกอบของกระบวนการดาเนินการ(Process) ซึ่งเป็ น
การนาส่ วนประกอบมาปฏิสัมพันธ์กนั (Interaction) และเกิดผลผลิต(Output) ที่เป็ น
จุดหมายปลายทางของระบบ
 Page 51
แผนภูมิองค์ ประกอบเบือ้ งต้ นของระบบ
ปัจจัยป้ อน
 Page 52
กระบวนการ
ดาเนินงาน
ผลผลิต
จากแนวคิดของระบบดังกล่าว เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกับการนิเทศงาน กศน. อาจกล่าว
ได้วา่ องค์ประกอบของการนิเทศ มี 3 องค์ประกอบ ดังนี้
1. ปัจจัยดาเนินการนิเทศ
2. กระบวนการดาเนินการนิเทศ
3. ผลของการนิเทศ
 Page 53
แผนภูมิแสดงองค์ ประกอบของระบบ
ระบบ
1
ปัจจัยป้ อน
INPUT
2
กระบวนการ
Process
ผลย้อนกลับ
FEED BACK
 Page 54
3
ผลผลิต
OUT PUT
4
ผลกระทบ
IMPACT
องค์ประกอบระบบระบบการนิเทศ เมื่อพิจารณาทั้งระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยป้ อน
กระบวนการ ผลผลิต และผลกระทบที่เกิดขึ้น หากองค์ประกอบของระบบมี
ข้อบกพร่ อง จะต้องมีผลย้อนกลับเพื่อตรวจสอบ ปั จจัยป้ อน กระบวนการ และผลผลิต
ปัจจัยป้ อน หมายถึง งบประมาณ บุคลากร สื่ อวัสดุ อุปกรณ์
กระบวนการ หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการดาเนินการนิเทศ เช่น กระบวนการ
PIDRE
ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นหลังจากนิเทศ เช่น ครู มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการ
เรี ยนการสอน และมีทกั ษะในการจัดการเรี ยน
 Page 55
ผลกระทบ หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากผลผลิต เช่นผูเ้ รี ยนมีผลสัมรฤธิ์ทางการ
เรี ยนสู งขึ้น
ข้อมูลย้อนกลับ หมายถึง ข้อมูลจากการประเมินการดาเนินการนิเทศ ซึ่งเป็ นข้อมูล
ด้านปัจจัย กระบวนการ และผลผลิต
 Page 56
ระบบนิเทศการศึกษานอกโรงเรียนของสถานศึกษา
ปัจจัยป้ อน
-ผูน้ ิ เทศ
-งบประมาณ
-วัสดุ อุปกรณ์
-สื่อ/เครื่องมือ
นิเทศ
-ระยะเวลา
 Page 57
กระบวนการ
-การวางแผน
- การให้ความรู้
ผูร้ บั การนิเทศ
-สร้างขวัญ กาลังใจ
-ประเมินผลการ
นิเทศ
ผลผลิต
-ครูมีความรู้
ความเข้าใจ
-ครูมีทกั ษะ
-ครูมีเจตคติ
-ครูเปลี่ยน
แปลง
พฤติกรรม
ผลกระทบ
- ผูเ้ รียนมีผล
สัมรฤธ์ทาง
การเรียนสูงขึน้
- ผูเ้ รียนมีอาชีพ/
มีรายได้
อานาจหน้ าที่ กศน. จังหวัด
มีอานาจหน้าที่บริ หารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้
มาตรา 18 ให้สถานศึกษาทาหน้าที่ส่งเสริ ม สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยร่ วมกับภาคีเครื อข่าย การดาเนินงานของ
สถานศึกษา อาจจัดให้มีศนู ย์การเรี ยนชุมชนเป็ นหน่วยจัดกิจกรรมและสร้าง
กระบวนการเรี ยนรู ้ของชุมชนก็ได้
การจัดตั้ง ยุบ เลิก รวม การกาหนดบทบาท อานาจหน้าที่ของสถานศึกษาให้เป็ นไป
ตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด
 Page 58
มาตรา 19 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งมีคณะกรรมการสถานศึกษา
มาตรา 20ให้สานักงาน จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบซึ่ งเป็ น
ระบบประกันคุณภาพภายในสาหรับสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับ
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่ งชาติ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้
สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยได้รับความ
ร่ วมมือ ส่ งเสริ มสนับและสนุนจากภาคีเครื อข่าย และสานักงาน ระบบหลักเกณฑ์และ
วิธีประกันคุณภาพภายในให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
 Page 59
อานาจหน้ าที่บริหารจัดการ กศน. ของสานักงาน กศน.จังหวัด
จัดทายุทธศาสตร์แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยในจังหวัด/กรุ งเทพมหานคร ให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา
แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและความ
ต้องการของท้องถิ่นและชุมชน
 Page 60
 2.ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย
3.วิเคราะห์ จัดตั้ง จัดสรร เงินงบประมาณให้แก่สถานศึกษาและภาคีเครื อข่ายที่
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
4.ประสาน ส่ งเสริ ม สนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยของสถานศึกษาและภาคีเครื อข่าย
 Page 61
 5.จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบตามที่กฎหมายกาหนด
6.ส่ งเสริ มสนับสนุนการเทียบโอนผลการเรี ยนการเทียบโอนความรู ้และ
ประสบการณ์และการเทียบระดับการศึกษา
7.ส่ งเสริ มและพัฒนาหลักสู ตร สื่ อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
ร่ วมกับสถานศึกษาและภาคีเครื อข่าย
 Page 62
7.ส่งเสริ มและพัฒนาหลักสูตร สื่ อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาร่ วมกับ
สถานศึกษาและภาคีเครื อข่าย
8. ระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อการมีส่วนร่ วมในการ
ส่ งเสริ ม สนับสนุนการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
9.ส่ งเสริ มสนับสนุนการวิจยั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
 Page 63
 11.ส่งเสริ มสนับสนุนติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการอัน
เนื่องมาจาก
พระราชดาริ งานนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริ มสร้างความมัน่ คงของชาติ
12.กากับดูแลนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาและภาคีเครื อข่าย
13.ปฏิบตั ิงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย
 Page 64
โครงสร้ างการบริหารงาน กศน.จังหวัด
กลุ่มอานวยการ
กลุ่มยุทธศาสตร์และการพัฒนา
กลุ่มส่งเสริ มการศึกษานอกระบบ
กลุ่มส่งเสริ มการศึกษาตามอัธยาศัย
กลุ่มส่งเสริ มภาคีเครื อข่ายและกิจการพิเศษ
กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
กลุ่มตรวจสอบภายใน
 Page 65
กลุ่มอานวยการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งาน
การเงินบัญชีและพัสดุ งานอาคาสถานที่และยานพาหนะ งานเกี่ยวกับสวัสดิการ งาน
ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้บริ การข่าวสารข้อมูล งานควบคุมภายใน งานบุคลากร งาน
นิติการ และงานศูนย์ราชการใสสะอาด
 Page 66
กลุ่มยุทธศาสตร์และการพัฒนา มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทา
ข้อเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ จัดทาแผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี
วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายแผนงาน/โครงการ จัดทาและเสนอขอจัดตั้ง จัดสรรงบประมาณ
ประจาปี จัดทาระบบและฐานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน สนับสนุนการตรวจราชการ
ของกระทรวงศึกษาธิ การ งานเลขานุการคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด / กรุ งเทพมหานคร
 Page 67
กลุ่มส่งเสริ มการศึกษาตามอัธยาศัย มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการส่ งเสริ ม
และพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญา การพัฒนาห้องสมุดประชาชน การศึกษาทาง
สื่ อสารมวลชน ศูนย์การเรี ยนชุมชน และการจัดนิทรรศการและเผยแพร่
 Page 68
กลุ่มส่งเสริ มภาคีเครื อข่ายและกิจการพิเศษ มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการ
ส่ งเสริ มสนับสนุนภาคีเครื อข่าย โดยระดมสรรพกาลังจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน ให้ทุกภาคส่ วนของสังคมเป็ นเครื อข่ายร่ วมจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย สนับสนุนโครงการพิเศษต่าง ๆ เช่น โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ งานป้ องกัน และแก้ไขปั ญหายาเสพติด โรคเอดส์ กิจกรรมประชาธิ ปไตย
งานลูกเสื อและยุวกาชาด งานกองทุนกูย้ มื เพื่อการศึกษา งานการศึกษาเพื่อความมัน่ คง
ของชาติ และส่ งเสริ มสนับสนุนนโยบายของจังหวัด / กระทรวงศึกษา
 Page 69
กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา มีหน้าที่และความรับผิดชอบ
เกี่ยวกับการนิเทศติดตามและประเมินผลการบริ หารและการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส่ งเสริ มระบบประกันคุณภาพ
การศึกษา งานพัฒนาทรัพยากรบุคคลและเครื อข่ายเพื่อเสริ มสร้างประสบการณ์
การปฏฺบตั ิงาน งานส่ งเสริ มและพัฒนาหลักสู ตร สื่ อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา การวัดผลและประเมินผลการศึกษา
 Page 70
กลุ่มตรวจสอบภายใน มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบการบริ หาร
งบประมาณ การเงิน การบัญชี การพัสดุ การสอบทาน การควบคุมภายใน และ
ตรวจสอบการดาเนิ นงานของสถานศึกษาในสังกัด
 Page 71
อานาจหน้ าที่ กศน. อาเภอ
มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
 ส่งเสริ ม สนับสนุน และประสานภาคีเครื อข่าย เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย
 ดาเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริ มสร้างความมัน่ คงของชาติ
 Page 72
 จัด ส่งเสริ ม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ ในพื้นที่
 จัด ส่งเสริ ม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 วิจยั และพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่ อ กระบวนการเรี ยนรู้ และมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบ
 Page 73
 จัด ส่งเสริ ม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ ในพื้นที่
 จัด ส่งเสริ ม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 วิจยั และพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่ อ กระบวนการเรี ยนรู้ และมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบ
 Page 74
โครงสร้ างการบริหารงานของ กศน. อาเภอ ประกอบด้ วย 3 กลุ่มงาน
ดังต่ อไปนี้
กลุ่มงานอานวยการ งานธุรการ และสารบรรณ งานการเงินและบัญชี งาน
งบประมาณและระดมทรัพยากร งานพัสดุ งานบุคลากร งานอาคารสถานที่และยานพา
หน งานแผนงานและโครงการ งานประชาสัมพันธ์ งานสวัสดิการ งานข้อมูล
สารสนเทศและการรายงาน ศูนย์ราชการใสสะอาด งานควบคุมภายใน งานนิเทศ
ภายใน ติดตามประเมินผล งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา งานประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
 Page 75
กลุ่มงานภาคีเครือข่ ายและกิจการพิเศษ งานส่งเสริ มสนับสนุนภาคีเครื อข่าย งาน
กิจการพิเศษ งานป้ องกัน แก้ไขปั ญหายาเสพติด /โรคเอดส์ งานส่ งเสริ มกิจกรรม
ประชาธิ ปไตย งานสนับสนุน ส่ งเสริ มนโยบายจังหวัด/อาเภอ งานกิจการลูกเสื อและ
ยุวกาชาด งานอื่น ๆ
 Page 76
ระบบนิเทศ กศน. จังหวัด
กศน.อาเภอ
กศน.อาเภอ
ตาบล
ตาบล
 Page 77
ตาบล
ตาบล
ตาบล
กศน.อาเภอ
ตาบล
ตาบล
ตาบล
กศน.อาเภอ
ตาบล
ตาบล
ตาบล
ตาบล
สวัสดี
 Page 78