หน่วยที่ 5 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Download Report

Transcript หน่วยที่ 5 - มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ความรู้
ความรู้ คือ สารสนเทศทีน่ าไปสู่การปฏิบตั ิ เป็ นเนื้ อหาข้อมูล ซึ่ง
ประกอบด้วยข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ทฤษฎี หลักการ รูปแบบ กรอบ
ความคิ ด หรือ ข้ อ มู ล อื่ น ๆ ที่ มีค วามจ าเป็ น และเป็ น กรอบของก าร
ผสมผสานระหว่างประสบการณ์ ค่านิยม ความรอบรูใ้ นบริบท สาหรับการ
ประเมินค่า และการนาเอาประสบการณ์ กบั สารสนเทศใหม่ ๆ มาผสม
รวมเข้าด้วยกัน
ชัน้ ของความรู้
1. ข้อมูล (Data) เป็ น ข้อมูลดิบทีย่ งั ไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล หรือ
เป็ นกลุม่ ของข้อมูลดิบทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ าน
2. สารสนเทศ (Information) เป็ น ข้อมูลทีผ่ า่ นกระบวนการประมวลผลโดย
รวบรวมและสังเคราะห์เอาเฉพาะข้อมูลทีม่ คี วามหมายและเป็ นประโยชน์ต่องานที่ทา
3. ความรู้ (Knowledge) เป็ น ผลจากการขัดเกลาและเลือกใช้สารสนเทศ โดย
มีการจัดระบบความคิด เสียใหม่ให้เป็ น “ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญเฉพาะเรือ่ ง”
4. ความเฉลียวฉลาด (Wisdom) เป็ นการนาเอาความรูต้ ่าง ๆ มาบูรณาการ
เข้าด้วยกันเพือ่ ใช้ให้เกิดเป็ นประโยชน์ต่อการทางานในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ
5. เชาวน์ ปัญญา (Intelligence) เป็ น ผลจากการปรุงแต่งและจดจาความรูแ้ ละ
ใช้ความเฉลียวฉลาดต่าง ๆในสมอง ทาให้เกิดความคิดทีร่ วดเร็วและฉับไว สามารถใช้
ความรูแ้ ละความเฉลียวฉลาดโดยใช้ชว่ งเวลาสัน้ กว่า
การสืบค้นและการแสวงหาความรู้
การสืบค้น คือ กระบวนการค้นหาสารสนเทศทีต่ อ้ งการโดยใช้เครื่องมือใน
การสืบค้นเพือ่ ให้ได้ความรูม้ า
การแสวงหาความรู้ คือ ทักษะในการค้นคว้า สิง่ ทีต่ อ้ งการและสนใจใคร่รู้
จากแหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ ต้องอาศัยการเรียนรูแ้ ละวิธกี ารฝึกฝนจนเกิดความชานาญ จะ
ช่วยทาให้เกิดแนวความคิดความเข้าใจทีถ่ ูกต้องและกว้างขวางยิง่ ขึน้ จนทาให้ทราบ
ข้อเท็จจริง และสามารถเปรียบเทียบข้อเท็จจริงทีไ่ ด้มาว่าควรเชื่อถือหรือไม่
การแสวงหาความรู้ จะเกิดขึน้ ได้ต้องส่งเสริม ทักษะการสังเกต การบันทึก
การนาเสนอ การฟงั การถาม การตัง้ สมมติฐานและตัง้ คาถาม การค้นหาคาตอบจาก
แหล่งการเรียนรูต้ ่าง ๆ
การพัฒนาทักษะการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง ต้องศึกษาหาความรู้ โดย
กาหนดประเด็นค้นคว้า การคาดคะเน การกาหนดวิธีค้นคว้าและการดาเนิ นการ
วิเคราะห์ผลการค้นคว้า การสรุปผลการค้นคว้า
การสืบค้นและการแสวงหาความรู้ (ต่อ)
การสืบค้นและการแสวงหาความรู้ คือ กระบวนการค้นหา
สารสนเทศทีต่ ้องการโดยใช้เครื่องมือในการสืบค้น เพื่อให้ไ ด้ความรูม้ า
โดยต้องอาศัยทักษะในการค้นคว้า การเรียนรูแ้ ละวิธกี ารฝึ กฝนจนเกิด
ความช านาญ เพื่อ ให้เ กิด แนวความคิด ความเข้า ใจที่ถู ก ต้ อ งแ ละ
กว้างขวาง จนทาให้ทราบข้อเท็จจริงข้อเท็จจริงทีน่ ่าเชื่อถือ
สารสนเทศและสารนิเทศ
ส า ร ส น เ ท ศ ห รื อ ส า ร นิ เ ท ศ เ ป็ น ศั พ ท์ บั ญ ญั ติ
ราชบัณฑิตยสถาน กาหนดให้ใช้ได้ทงั ้ สองคา ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า
Information ในวงการด้านคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และธุรกิจ นิย มใช้
คาว่า “สารสนเทศ” ส่วนในวงการบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ
ศาสตร์ นิยมใช้คาว่า “สารนิเทศ” สารสนเทศ หรือสารนิเทศ หมายถึง
ความรู้ ความคิด เรื่องราว ข่าวสาร ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทีไ่ ด้มกี าร
สื่อสาร บันทึก หรือพิมพ์ออกเผยแพร่ทงั ้ ในรูปแบบของสื่อสิง่ พิมพ์ สื่อ
โสตทัศ น์ หรือ สื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ต่ า ง ๆ ตลอดจนการถ่ า ยทอดใน
รูปแบบอื่นซึ่งบุคคลสามารถรับรูไ้ ด้ด้วยวิธใี ดวิธหี นึ่ ง เพื่อนาไปใช้ให้
เป็ นประโยชน์ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ทัง้ ในส่วนบุคคลและสังคม
ประเภทสารสนเทศและสารนิเทศ
 1. ข้อความ (Text)
 2. ภาพวาด (Painting) ภาพเขียนหรือภาพลายเส้น (Drawing)
 3. ภาพไดอะแกรม(Diagram)
 4. ภาพถ่าย (Photograph)
 5. เสียง(Sound) เสียงสังเคราะห์ เช่น เสียงดนตรี(Midi) ภาพยนตร์(Movie)
6. ภาพเคลื่อนไหวอะนิเมชัน (Animation)
การเตรียมความพร้อมในการสืบค้นสารนิเทศและแสวงหาความรู้
ก่อนที่ผู้สบื ค้นจะสามารถสืบค้นสารสนเทศ ต้องมีการจัดเตรีย มอุปกรณ์
ดังต่อไปนี้ คือ
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มกี ารต่อเข้าอินเทอร์เน็ตหรือระบบเครือข่ายที่
ได้รบั การติดตัง้ ไว้แล้ว
2. ซอฟต์แวร์ เช่น การสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต นิยมใช้โปรแกรม Web
Browsers เช่น Internet Explorer แล้วเรียกใช้บริการ www ทีม่ ี Search Engine
ซึง่ มีอยูม่ ากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เช่น google.com หากเป็ นการสืบค้น
ข้อมูลภายในองค์กร องค์กรก็จะมีซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้เพื่อการสืบค้นสารสนเทศเตรียมไว้
ให้
3. ทักษะพื้นฐานในการใช้ งานคอมพิวเตอร์ (Computer Literacy)
ความรู้ภ าษาอัง กฤษเนื่ อ งจากข้อ มูล สารสนเทศส่ว นใหญ่ ใ นอิน เทอร์เ น็ ต เป็ น
ภาษาอังกฤษ และทักษะในการสืบค้น
การสืบค้นสารนิเทศและแสวงหาความรู้
แหล่งข้อมูลสารสนเทศปจั จุบนั จะอยู่บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็ นแหล่งข้อมูล
ทางอิเล็กทรอนิกส์ท่สี าคัญและใหญ่ท่สี ุด มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ต ลอดเวลาแทบทุก
วินาที ดังนัน้ ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศควรดาเนินการดังนี้
 1. ควรตัง้ วัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชดั เจน ทาให้สามารถกาหนด
ขอบเขตของแหล่งข้อมูลสารสนเทศทีจ่ ะสืบค้นให้แคบลง
 2. กาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบค้ น
ทางอินเทอร์เน็ต ทีเ่ รียกว่า Search Engine ให้เหมาะสม
 3. กาหนดช่ว งเวลาที่ข้อ มูล สารสนเทศถูก สร้า งขึ้น เช่น ช่ ว งปี ท่ี
ตีพมิ พ์ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์
ทัง้ นี้เพื่อให้ผลการสืบค้นมีปริมาณไม่มากเกินไป มีความตรง (Validity)
ตามวัตถุประสงค์ และมีความน่ าเชื่อถือ (Reliability) มากทีส่ ุด อีกทัง้ ยังสามารถ
สืบค้นได้ผลในเวลาอันรวดเร็ว
เทคนิคการสืบค้นสารนิเทศและแสวงหาความรู้
เพือ่ ประหยัดเวลาในการสืบค้น ได้ขอ้ มูลในปริมาณไม่มากเกินไป
และได้ผลการสืบค้นทีต่ รงตามประสงค์ของผูส้ บื ค้น สามารถใช้เทคนิค
เหล่านี้
 1. เลือกใช้เครือ่ งมือทีเ่ หมาะสมในการสืบค้น
 2. เลือกเว็บไซต์ทอ่ี ยูใ่ กล้และอยูใ่ นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม
 3. การเลือกใช้คาสาคัญ (Keyword) หรือหัวเรื่อง(Subject)
ทีต่ รงกับเรือ่ งทีต่ อ้ งการ
 4. กาหนดขอบเขตของคาค้นโดยอาจใช้ตวั เชื่อมบูลีน
(Boolean Operators) เช่น AND OR NOT NEAR BEFORE
เป็ นต้น หรือการค้นวลี (Phrase Searching) การตัดคา หรือการ
ใช้คาเหมือน
แหล่งในการสืบค้นสารนิเทศและแสวงหาความรู้
ฐานข้ อ มู ล (Database) เป็ น แหล่ ง ที่จ ัด เก็บ สารนิ เ ทศซึ่ง อยู่ ใ นรูป
แฟ้มข้อมูลที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ประมวลผลอื่นในการเรียกอ่าน
ข้อมูล ข้อมูลในฐานข้อมูลอาจจะข้อความ ตัวเลข ภาพ เสียง ที่จดั เก็ บเป็ น
รายการอ้ า งอิง ทาง บรรณานุ ก รม บทคัด ย่ อ ข้อ มู ล เต็ม รู ป ของบทความ
รายงานทางวิชาการ บทความในสารานุ กรม โดยทีฐ่ านข้อมูลอาจจัดเก็บไว้ บน
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวหรือหลายเครื่องที่มกี ารเชื่อมโยงกับไว้ทวโลก
ั่
ผ่านเครือข่ายอินเตอร์ สามารถแบ่งประเภทของฐานข้อมูลดังนี้
 ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog)
 ฐานข้อมูลซีดีรอม (Database on Disc)
 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book)
ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog)
ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog) เป็ น
ระบบงานหนึ่ ง ในระบบงานห้อ งสมุ ด อัต โนมัติ เป็ น เครื่อ งมือ ในการสื บ ค้น
ฐานข้อมูล ทรัพ ยากรสารนิ เทศของห้อ งสมุด คล้ายกับบัต รรายการ ซึ่ง ผู้ใ ช้
สามารถสืบค้นข้อมูลได้ผา่ นทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออินเทอร์เน็ตโดยไม่
จากัดว่าต้องเข้ามาสืบค้นทีห่ อ้ งสมุดเท่านัน้ ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถสืบค้นข้อมูลได้
อย่ า งสะดวกรวดเร็ว ยิ่ง ขึ้น โดยรายการที่ส ืบ ค้ น ได้ จ ะปรากฏในรู ป ขอ ง
บรรณานุ กรม และผูใ้ ช้สามารถสืบค้นได้หลายวิธี เช่น สืบค้นจากชื่ อผูแ้ ต่ง ชื่อ
เรือ่ ง หัวเรือ่ ง คาสาคัญหรือเลขหมู่ เป็ นต้น
ปจั จุบนั มีการพัฒนาโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัตอิ ยู่หลายระบบ
เช่น DYNIX, VTLS, INNOPAC, TINLIB, HORIZON และ Alice for
Windows เป็ นต้น
ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog)
ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog)
ฐานข้อมูล OPAC (Online Public Access Catalog)
ฐานข้อมูลซีดีรอม (Database on Disc)
ฐานข้อมูลซี ดีรอม (Database on Disc) เป็ นสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ที่จดั เก็บ ข้อมูล สารนิเทศ โดยจัดเก็บในรูปซีด-ี รอม
(CD-ROM) ซึ่ ง เป็ น สื่อ ผสมที่ส ามารถจัด เก็ บ ข้อ มู ล ได้ ท ั ้ง ตัว เลข
ตัวอักษร ภาพและเสียง สารนิเทศทีจ่ ดั เก็บ สารนิเทศทีจ่ ดั เก็บในซีด-ี
รอม เป็ นกษณะฐานข้อมูลสาเร็จรูปทีม่ เี นื้อหา เฉพาะหรือ ครอบคลุม
หลายสาขาวิชา ลักษณะของข้อมูลที่จดั เก็บมีแบบที่เป็ นฐานข้อมูล
แบบต้นแหล่ง (source database) เช่น พจนานุ กรมไทยฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน , World Reference Atlas เป็ นต้น และฐานข้อมูล
แบบบรรณานุ กรม (bibliographic database) เช่น ERIC, DAO ,
LISA, ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย
ฐานข้อมูลซีดีรอม (Database on Disc)
ฐานข้อมูลซีดีรอม (Database on Disc)
ฐานข้อมูลซีดีรอม (Database on Disc)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online) เป็ นฐานข้อมูลสาหรับสืบค้น
สารนิเทศจากหน่ วยงานอื่นที่อยู่ห่างไกลจากสถานที่ท่ผี ู้ใช้บริการ เข้ารับบริการ
สารนิเทศของตนเอง โดยที่สถาบันบริการสารนิเทศจะต้องเสียค่าใช้จ่ายสาหรับซื้อ
สิทธิ ์ในการเข้าใช้บริการ ให้ผใู้ ช้ของสถาบันบริการสารนิเทศนัน้ สามารถเข้าสืบค้นได้
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ มลี กั ษณะคล้ายคลึงกับการเข้าใช้ งาน
อินเทอร์เน็ต เนื่องจากการใช้งานฐานข้อมูลในลักษณะนี้ ผู้ใช้บริการจะต้องใช้งาน
ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (web : www : World Wide Web) ข้อมูลทีไ่ ด้จาก
บริการนี้จะมีลกั ษณะเป็ นไฮเปอร์เท็กซ์ (hypertext) ซึ่งเป็ นเอกสารที่นาเสนอทาง
เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ขี อ้ มูลในเอกสารสามารถเชื่องโยงถึงกันได้ โดยเอกสารจะถูก
เขียนขึน้ ด้วยภาษาทางคอมพิวเตอร์ และมีโปรโตคอลพิเศษ HTTP (Hypertext
Transfer Protocol) ช่วยในการสือ่ สาร เชื่อมโยงข้อมูล ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสืบค้น จะ
มีหลากหลายรูปแบบ อาจเป็ นข้อมูลภาพ เสียงประกอบ หรือเป็ นข้อมูลตัวอั กษร
เพียงอย่างเดียว
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Database online)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book) E-book
หรือ electronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์มลี กั ษณะเป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติม ักจะเป็ น
แฟ้ มข้ อ มู ล ที่ ส ามารถอ่ า นได้ ด้ ว ยอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น
คอมพิว เตอร์ โทรศัพ ท์ มือ ถื อ และอุ ป กรณ์ อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อ่ื น ๆ
สามารถอ่านได้ทงั ้ ในระบบออนไลน์และออฟไลน์ ลักษณะพิเศษของ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์คอื ความสะดวก รวดเร็วในการค้นหา เนื้ อหาที่
ต้ อ งการ และการที่ผู้อ่ า นสามารถอ่ า นได้ พ ร้อ ม ๆ กัน หลายคน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book)
การสืบ ค้น หนั ง สือ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ ebook ของศู น ย์วิท ย
บริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิ ดการใช้งาน web browser
ได้ท่ี http://e-book.ssru.ac.th/ แล้ว enter จะปรากฎหน้าจอ และเลือก
เมนูเข้าสูร่ ะบบเพือ่ ทาการใส่ Username และ Password ดังภาพ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book)
การสืบค้นด้วย Search Engine
โปรแกรมสาหรับการสืบค้น (Search Engine) มีอยูม่ ากมายและมีให้บริการ
อยูต่ ามเว็บไซต์ต่างๆ ทีใ่ ช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะ การเลือกใช้นัน้ ขึน้ กับ
ประเภทของข้อมูลสารสนเทศทีต่ อ้ งการสืบค้น Search Engine ต่างๆ จะให้ขอ้ มูลทีม่ ี
ความลึกในแง่มมุ หรือศาสตร์ต่างๆ ไม่ เท่ากัน ตัวอย่าง Search Engine ทีน่ ิยมใช้มที งั ้
เว็บไซต์ทเ่ี ป็ นของต่างประเทศ และของไทยเอง ตัวอย่าง
เว็บไซต์ของต่างประเทศ ได้แก่
http://www.yahoo.com http://www.google.com http://www.infoseek.com
http://www.ultraseek.com http://www.lycos.com http://www.excite.com
http://www.altavista.digital.com http://www.opentext.com http://www.hotbot.com
http://www.webcrawler.com http://www.dejanews.com http://www.elnet.net
เป็ นต้น สาหรับเว็บไซต์ของไทย ได้แก่
http://www.sanook.com http://www.siamguru.com เป็ นต้น
การสืบค้นด้วย Search Engine
เทคนิคการสืบค้นด้วย Search Engine
 1. การใช้ตวั เชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา
(Boolean Operators )
 1.1 AND หรือ เครื่องหมาย
+ ใช้เมือ่ ต้องการให้คน้ เอกสารทีม่ ี
คาทัง้ สองคาปรากฏ เช่น ค้นหา
คาว่า แต่งหน้า AND ผูช้ าย
ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ะ มี เ ฉ พ า ะ ค า ว่ า
แต่งหน้า และ ผูช้ าย อยู่ใน
นัน้
เทคนิคการสืบค้นด้วย Search Engine
 1.2 OR ใช้เมื่อต้องการค้น
หน้ า เอกสารที่ ม ี ค าใดค าหนึ่ ง
ปรากฏ เช่น แต่งหน้า OR ผูช้ าย
ข้อมูลที่ได้จะมีคาใดคาหนึ่งหรือ
มีทงั ้ สองคาปรากฏอยู่
เทคนิคการสืบค้นด้วย Search Engine
 1.3 NOT หรือเครือ่ งหมาย – ใช้เมือ่ ต้องการตัดคาทีไ่ ม่ตอ้ งการให้ค้นออก (คาหลัง
NOT หรือเครื่องหมาย -) เช่น Research NOT Thailand ข้อมูลทีไ่ ด้จะมีคาว่า
Research แต่จะไม่มคี าว่า Thailand อยูใ่ นเอกสาร
 1.4 NEAR ใช้เมือ่ ต้องการให้คาทีก่ าหนดอยู่หา่ งจากกันไม่เกิน 10 คา ในประโยค
เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (อยู่ดา้ นหน้าหรือหลังก็ได้) เช่น Research NEAR Thailand
ข้อมูลทีไ่ ด้จะมีคาว่า Research และ Thailand ทีห่ า่ งกันไม่เกิน 10 คา ตัวอย่างเช่น
Research on the Cost of Transportation in Thailand
 1.5 BEFORE ใช้เมื่อต้องการกาหนดให้คาแรกปรากฏอยู่ขา้ งหน้าคาหลั งใน
ระยะห่างไม่เกิน8 คา เช่น Research BEFORE Thailand
 1.6 AFTER ใช้เมือ่ ต้องการกาหนดให้คาแรกปรากฏอยูข่ า้ งหลังคาหลังในระยะห่าง
ไม่เกิน8 คา เช่น Research AFTER Thailand
 1.7 (parentheses) ใช้เมือ่ ต้องการกาหนดให้ทาตามคาสังภายในวงเล็
่
บก่อนคาสัง่
ภายนอกเช่น (Research OR Quantitative) and Thailand
เทคนิคการสืบค้นด้วย Search Engine
 2. การค้นวลี (Phrase searching) เป็ นการใช้เครื่องหมายอัญประกาศ
(“ ”) เมื่ อ ต้ อ งการก าหนดให้ ค้ น เฉพาะหน้ า เอกสารที่ มี ก ารเรี ย งล าดั บ ค า
ตามที่กาหนดเท่านัน้ เช่น “Methodology Research”
เทคนิคการสืบค้นด้วย Search Engine
 3. การตัดคา (Word stemming / Truncation) เป็ นการใช้เครื่องหมาย
asterisk (*) ตามท้ายคา 3 คาขึ้นไป เพื่อค้นหาคาที่ขึ้นต้นด้ว ยตัวอักษรที่
กาหนด เช่น Rese*
เทคนิคการสืบค้นด้วย Search Engine
 4. คาพ้องความหมาย (Synonym) เป็ นการใช้คาเหมือนที่ มีความหมาย
เดียวกันหรือใกล้เคียงกันเพื่อช่ วยให้ ค้นเรื่องที่ ครอบคลุม เช่ น Ocean Sea
Marine
 5. เขตข้อมูลเพื่อการค้น (Field Searching) เป็ นการกาหนดเขตข้อมูล
เพื่อการค้น เช่น ชนิดของข้อมูล หรือที่อยู่ของข้อมูล เป็ นต้น
เช่น text: “green tea” , url: NASA , filetype:ppt
 6. ตัวเล็กตัวใหญ่ถือว่าต่างกัน (Case sensitive) เป็ นการใช้ตวั อักษรใหญ่
กับตัวเล็กในความหมายที่ แตกต่างกัน เช่ นใช้ ตวั อักษรใหญ่ขึ้นต้นชื่อเฉพาะ
เช่น George W. Bush
 7.ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) เป็ นการสืบค้นจากคาถามที่เป็ น
ภาษาธรรมชาติ เช่ น ใช้ ค าถามภาษาอัง กฤษง่ า ยๆ ที่ ต้ อ งการให้ Search
Engine หาคาตอบให้ เช่น What is Research?