การวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1 Operation Research Method in

Download Report

Transcript การวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1 Operation Research Method in

การวิจัยดาเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1
Operation Research Method in
Economic Analysis I
ภาคการศึกษา 1/2552
อ.นัทธปราชญ์ นันทิวฒ
ั น์ กลุ
บทเรี ยน
การกาหนดปัญหาและการจาลอง
เหตุการณ์ (Problem and
Simulation)
 ทฤษฎีการตัดสิ นใจ (Decision
Theory)
 ทฤษฎีเกม (Game Theory)
 ปั ญหาการจัดสรร (Assignment)
 โปรแกรมเชิงเส้น(Linear
Programming)

กระบวนการจานวนเต็ม
(Integration Problem)
 การควบคุมคลังสิ นค้า (Warehouse
Control)
 ปั ญหาการขนส่ ง (Transportation
Problem)
 ปั ญหาแถวคอย (Queue Problem)
 การวิเคราะห์ข่ายโครงการ
(PERT/CPM)
 สารสนเทศเพื่อการวิจยั ดาเนิ นงานฯ

การวัดผล ประเมินผล
ผ่านเกณฑ์ 50 %
 สอบ
90 % แยกเป็ น กลางภาค 45 %
ปลายภาค 45 %
 เก็บคะแนน 10 %

บทที่ 1 บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของการวิจยั ดาเนินงานฯ
 ความหมายการวิจยั ดาเนิ นงานฯ
 วิธีการศึกษาการวิจยั ดาเนิ นงานฯ
 ประโยชน์ของวิชาการวิจยั ดาเนิ นงานฯ

ความเป็ นมาและความสาคัญของการวิจยั ดาเนินงานฯ
ค.ศ. 1832 Charles Babbage นาหลักการทางคณิ ตศาสตร์เข้าแก้ไขปัญหาการ
ผลิตจากการใช้เครื่ องจักรและแรงงานให้เกิดประสิ ทธิภาพสูงสุ ด
 ค.ศ. 1886 Henry R.Towne เสนอวิธีการเทคนิ คการผลิตและการจัดการด้วย
วิศวกรรม อุตสาหการ และแนวคิดของ Towne ได้ทาให้ Taylor พัฒนา
แนวคิดการประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์กบั งานอุตสาหกรรม
 Henery L. Gantt นาเอาหลักการสร้างกราฟที่แสดงให้เห็นถึงสายงานการ
ผลิต
 Frank B. และ Lillian E. Gilbreth ขยายแนวทางการศึกษาของ Towne และ
Gantt เพื่อเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน

George Babcock ได้พฒั นาแนวคิดพื้นฐานเชิงปริ มาณเพิม่ เป็ นวิธีการนาไปสู่
การผลิตที่ประหยัด
 Thomas Edison นาหลักการวิจยั ดาเนิ นงานไปสู่ การหาเส้นทางการเดินเรื อ
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อย่างปลอดภัย จึงลดความเสี ยหายจากการ
ขนส่ งสิ นค้าได้มาก
 ค.ศ. 1937 Horace C.Levenson นาหลักการทางคณิ ตศาสตร์ ที่ซบ
ั ซ้อนมา
ประยุกต์กบั การแก้ไขปัญหาการผลิตจนประสพความสาเร็ จ
 ค.ศ. 1950 นาหลักการ Linear Programming เข้าแก้ปัญหาการจัดสรร
ทรัพยากร และหลักการ PERT ในการแก้ปัญหาการกาหนดงานและการ
บริ หารโครงการ

ความสาคัญของการวิจัยดาเนินงาน คือ
1) ...................
 2) ...................
 3) ...................

วิธีคิด
พิจารณาปัญหาที่กาหนดให้
 แยกประเด็นปั ญหาออกเป็ นส่ วนๆ
 ขมวดรวมปั ญหาแยกตามส่ วนๆ อย่างเป็ นระบบ

การคิด คือ กิจกรรมทางความคิดทีม่ ี
วัตถุประสงค์ เฉพาะเจาะจง เรารู้ ว่าเรา
กาลังคิด เพือ่ วัตถุประสงค์ อะไรบางอย่ าง
และสามารถควบคุมให้ คดิ จนบรรลุ
เป้ าหมายได้
เขามีส่วนเลวบ้ างช่ างหัวเขา
จงเลือกเอาส่ วนทีด่ ีเขามีอยู่
เป็ นประโยชน์ แก่โลกบ้ างยังน่ าดู ส่ วนทีช่ ั่วอย่ าไปรู้ของเขาเลย
จะหาคนมีดีเพียงส่ วนเดียว อย่ าไปเที่ยวค้ นหาสหายเอย
เหมือนเทีย่ วหาหนวดเต่ าตายเปล่าเอย ฝึ กให้ เคยมองแต่ ดีมีคุณจริง
พุทธทาสภิกขุ
ความสาคัญของการวิจัยดาเนินงาน คือ
ช่วยแก้ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ในระดับจุลภาคและระดับมหภาคได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
 ก่อให้เกิดแนวทาง วิธีการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
 ก่อให้เกิดการประหยัดภายในและภายนอกหน่ วยธุ รกิจ ตลอดจนระดับ
ภาครัฐบาล
 เพิม
่ ศักยภาพการแข่งขันของหน่วยธุรกิจ ตลอดจนระดับภาครัฐบาล

 ลดรายจ่าย
เพิ่มรายได้
 สามารถควบคุมการทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
 มีการจัดการทรัพยากรในองค์กรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ความหมายการวิจยั ดาเนินงานฯ
Morss และ Kimball(P.M. Morss and G.E. Kimball, 1951; P.1) การวิจยั
ดาเนินงาน หมายถึง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ทางด้านเชิงปริ มาณพื้นฐานที่
ช่วยฝ่ ายบริ หารในการตัดสิ นใจ บริ หาร ควบคุมงานที่รับผิดชอบ

Miller และ Starr(D.W. Miller and M.K. Starr, 1960; P.104) การวิจยั
ดาเนินงาน หมายถึง การประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์
หรื อตรรกศาสตร์ ที่ครอบคลุมการแก้ไขปัญหาการตัดสิ นใจ อย่าง
สมเหตุสมผลของฝ่ ายบริ หาร

Richmond(Samuel B. Richmond, 1968) การวิจยั ดาเนินงาน หมายถึง
วิธีการที่นาไปสู่การตัดสิ นใจ จากประเด็นปัญหา เป้ าหมาย วัตถุประสงค์
เฉพาะ ซึ่งวิธีการเหล่านั้นจะอาศัยหลักการทางสถิติเพื่อแสดงความสัมพันธ์
ของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

Wagner(H.M. Wagner, 1969; P.4) การวิจยั ดาเนินงาน หมายถึง หลัก
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหาในการตัดสิ นใจ

บุญสม ศิริโสภณา(บุญสม ศิริโสภณา, 2539; 14) การวิจยั ดาเนินงาน
หมายถึง ระเบียบวิธีการอย่างมีหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ เข้าประยุกต์ใช้
หลักการของสาขาวิชาการอื่นๆ เพื่อช่วยในการวิเคราะห์แนวทางการ
ตัดสิ นใจเลือกดาเนินงานให้เป็ นไปตามเป้ าหมายของหน่วยงาน

ความสาคัญของการวิจัยดาเนินงาน คือ
...............................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
.....................................................................................................................
การคิดแบบบูรณาการ (Integration Thinking)

การคิดนาสิ่ งหนึ่งเข้ามารวมกันกับอีกสิ่ งหนึ่ง เพื่อทาให้มีสิ่งใหม่ เพิ่มพูน
เกิดความสมบูรณ์มากกว่านี้ โดยการเอื้อประโยชน์ต่อกัน
วิธีการศึกษาการวิจยั ดาเนินงานฯ

กระบวนการวิจัยดาเนินงาน


มี 8 ขั้นตอน
วิธีการวิจัยดาเนินงาน
 แยกเป็ น
2 ส่ วน ได้แก่
ส่ วนของหลักการวิจยั
 เทคนิ ควิธีการทางคณิ ตศาสตร์ เข้ามาประยุกต์ใช้

กระบวนการวิจยั
ประเมินผล
ลัพธ์
ตัดสินใจ
เลือกทางแก้ปัญหา
ส่ วน
คณิตศา
สตร์
ส่ วนของหลักการวิจัย
กาหนดปัญหา
กาหนดกรอบ
ปัญหา
กระแสวิธี
การวิจัยดาเนินงานฯ
กาหนดวิธีการ
ศึกษาปัญหา
เก็บข้ อมูล
ทดสอบผล
ลัพธ์
วิเคราะห์ ข้อมูล
ประโยชน์ของวิชาการวิจยั ดาเนินงานฯ




ช่วยในการวิเคราะห์ทางเลือกของปัญหา อันนาไปสู่การตัดสิ นใจในการ
บริ หารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
เป็ นวิธีการวิเคราะห์ที่นาเอาแขนงวิชาต่างเข้ามาประสานรวมกันในการ
วิเคราะห์แก้ไขอย่างเป็ นระบบตามหลักการวิจยั ทาให้ผลลัพธ์ที่ได้
สมบูรณ์แบบที่สุด
ช่วยในการบริ หารงานในด้านต่างๆ ให้เกิดประสิ ทธิภาพสูงสุ ดไม่วา่ จะ
เป็ นต้นทุน เวลา แรงงาน พื้นที่ หรื อระยะทาง เป็ นต้น
...................................
ง