Latituge & Climate II

Download Report

Transcript Latituge & Climate II

Slide 1

อาจารย์สอง
TAWEESAK GUNYOCHAI

การแบ่งซีกโลก
ตามเกณฑ์ทางภูมิศาสตร์


Slide 2

คาบสมุทร(Peninsula)
แหลม (Cape)
North

Europe

Asia

America

Africa
South
America
AustraliaOceania


Slide 3

คาบสมุทร(Peninsula)
แหลม (Cape)
North

Europe

Asia

America

South
America

00 Prime Meridian

Africa

00 Equator
AustraliaOceania


Slide 4

คาบสมุทร(Peninsula)
แหลม (Cape)
North

N,W

Europe

N,E
Asia

America

South
America

S,W

00 Prime Meridian

Africa

00 Equator

S,E

AustraliaOceania


Slide 5

ขัว้ โลกเหนื อ

N,W

N,E

S,W

Prime Meridian

Equator

ขัว้ โลกใต้

S,E


Slide 6

N,W

N,E

S,W

S,E


Slide 7

ขัว้ โลกเหนื อ
(North pole)

0
0

เส้ นลองจิจูด
เป็ นเส้นสมมติท่ลี าก
ในแนวเหนื อใต้
หรือ
ลากจาก
ขัว้ โลกเหนื อไปขัว้ โลกใต้

โดยเริ่มวัดจากเส้น

เมอริเดียนปฐม ซึ่งถือว่า 00
ขัว้ โลกใต้ (South Pole)


Slide 8

เส้ นละติจูด

มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่ น

Latitude
parallels

เส้นรุง้
เส้นขนาน


Slide 9

เส้ นละติจูด
600

เส้นละติจูดที่

0
0

300

เป็ นเส้นแบ่ง
ซีกโลกออกเป็ น 2 ส่วน
คือ
ซีกโลกเหนื อและซีกโลกใต้
เราเรียกเส้นว่า
“ เส้นศูนย์สูตร ”

ซีกโลกเหนือ
Northern Hemisphere
00 (เส้นศูนย์สูตร : Equator)

ซีกโลกใต้
Southern Hemisphere


Slide 10

เส้นลองติจูดที่

0
0

เป็ นเส้นแบ่ง
ซีกโลกออกเป็ น 2 ส่วน
คือ
ซีกโลกตะวันออก และ
ซีกโลกตะวันตก
เราเรียกเส้นว่า
“ เส้นเมอริเดียนปฐม ”

600
300

ซีกโลก
ตะวันตก
Western
Hemisphere

(เมอริเดียนปฐม : Prime Meridian)

เส้ นลองจิจูด

00

ซีกโลก
ตะวันออก
Eastern
Hemisphere


Slide 11

เส้ นลองจิจูด
มีชื่อเรียกหลายชื่อ

Longitude
Meridian

เส้นแวง


Slide 12

เส้ นละติจูด และลองจิจูด เมื่อลากลงบนแผนที่แล้วจะตัดกันเป็ น
ตารางคล้ายกับร่างแหคลุมผิวโลกทัง้ หมด ทัง้ นี้ มีเพือ่ เป็นพิกดั ภูมิศาสตร์เพือ่ ช่วยในการ

บอกตาแหน่ ง ต่างๆ บนพื้นโลก


Slide 13

การแบ่ งเขตภูมอิ ากาศของโลก
เขตละติจูดตา่ ( Low Latitude )
เขตร้ อน (อยู่ใกล้ เส้ นศูนย์ สูตร)

เขตละติจูดกลาง ( Middle Latitude )
เขตอบอุ่น

เขตละติจูดสู ง ( High Latitude )
เขตหนาว / เขตขั้วโลก (อยู่ใกล้ ข้วั โลก)


Slide 14


Slide 15

66 12

23 12

0

N

0

N

0

0

23 12
66 12

0

0

S
S


Slide 16

1. เขตละติจูดตา่ (Low Latitude)
0

เขตละติจูดตา่ จะอยู่ระหว่าง 0



23 12

0

เหนื อ และ ใต้

เส้นทรอปิ คออฟแคนเซอร์

ลักษณะภูมิอากาศ

อยู่ใน

เขตร้อน

00

เขตร้ อน
เส้นศูนย์สูตร

เขตร้ อน
เส้นทรอปิ คออฟแคปริคอร์น

23 12

N

0

00
23 12

0

S


Slide 17

2. เขตละติจูดกลาง (Middle Latitude)
จะอยู่เหนื อเส้น

ทรอปิ คออฟแคนเซอร์
จะอยู่ในเขตอบอุน่ เหนื อ
23 12 - 66 12 เหนื อ
0

เขตอบอุน่ เหนื อ

0

และอยู่ใต้เส้น

เส้นทรอปิ คออฟแคนเซอร์

00

ทรอปิ คออฟแคปริคอร์น
23 12 - 66 12 ใต้ จะอยู่ใน
0

เขตอบอุน่ ใต้

0

เส้นอาร์คติกเซอร์เคิล

เขตร้อน
เส้นศูนย์สูตร

23 12

N

0

00

เขตร้อน
เส้นทรอปิ คออฟแคปริคอร์น

เขตอบอุน่ ใต้
เส้นอาตาร์กติกเซอร์เคิล

23 12

0

S


Slide 18

3. เขตละติจูดสูง (High Latitude)
เหนื อเส้น
อาร์คติกเซอร์เคิล

เขตหนาวเหนื อ
เส้นอาร์คติกเซอร์เคิล

66 12 เหนื อ
0

0

จะอยู่ในเขตหนาวใต้

0

เส้นทรอปิ คออฟแคนเซอร์

00

N
23 12

เขตอบอุน่ เหนื อ

อยู่ในเขต หนาวเหนื อ

ใต้เส้น
แอนตาร์กติกเซอร์เคิล
66 12 ใต้

66 12

เขตร้อน

N

0

00

เส้นศูนย์สูตร

เขตร้อน

23 12

เส้นทรอปิ คออฟแคปริคอร์น

เขตอบอุน่ ใต้
เส้นอาร์คติกเซอร์เคิล

เขตหนาวใต้

66 12

0

S

0

S


Slide 19

เขตหนาวเหนื อ

Arctic Circle

เขตอบอุน่ เหนื อ

Tropic of Cancer

เขตร้อน
Equator

เขตร้อน
Tropic of Capricorn

เขตอบอุน่ ใต้
Antarctic Circle

เขตหนาวใต้


Slide 20

Polar

Arctic Circle

Temperate
Tropic of Cancer

Tropic
Equator

Tropic
Tropic of Capricorn

Temperate
Antarctic Circle

Polar


Slide 21

North Polar Zone
Arctic Circle

North Temperate Zone
Tropic of Cancer

Tropical Zone
Equator

Tropical Zone
Tropic of Capricorn

South Temperate Zone
Antarctic Circle

South Polar Zone


Slide 22


Slide 23

SUN’S
RAY


Slide 24


Slide 25

ฤดูกาล (Season)


Slide 26


Slide 27


Slide 28

ฤดูกาล Season


Slide 29

ฤดูกาล(Season)
ฤดูกาล(Season)
เกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยที่แกนของโลก
เอียง 23.5 องศา ในฤดูรอ้ นโลกเอียงขัว้ เหนื อเข้าหาดวง
อาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนื อกลายเป็ นฤดูรอ้ น และซีกโลกใต้
กลายเป็ นฤดูหนาว หกเดือนต่อมา โลกโคจรไปอยู่อกี ด้าน
หนึ่ งของวงโคจร โลกเอียงขัว้ ใต้เข้าหาดวงอาทิตย์ (แกนของ
โลกเอียง 23.5 องศา คงที่ตลอดปี ) ทาให้ซีกโลกใต้กลายเป็ น
ฤดูรอ้ น และซีกโลกเหนื อกลายเป็ นฤดูหนาว


Slide 30

ฤดูกาล(Season)
เกิดจากการที่โลกโคจรรอบดวง
อาทิตย์โดยที่แกนของโลกเอียง 23.5
องศา ในฤดูรอ้ นโลกเอียงขัว้ เหนื อเข้าหา
ดวงอาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนื อกลายเป็ น
ฤดูรอ้ น และซีกโลกใต้กลายเป็ นฤดู
หนาว หกเดือนต่อมา โลกโคจรไปอยูอ่ กี
ด้านหนึ่ งของวงโคจร โลกเอียงขัว้ ใต้เข้า
หาดวงอาทิตย์
( แกนของโลกเอียง 23.5 องศา คงที่ตลอดปี ) ทาให้ซีกโลกใต้กลายเป็ น
ฤดูรอ้ น และซีกโลกเหนื อกลายเป็ นฤดูหนาว


Slide 31

ผลจาการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกจึงได้รบั มุมแสงที่แตกต่างกันไป
ส่งผลให้โลกมีอณ
ุ หภูมิแตกต่างกันอย่างชัดเจนตามช่วงระยะเวลาต่างๆ ของปี
โดยประเทศในเขตอบอุน่ คือ ซึ่งอยู่ในช่วงละติจูด 23.5 องศาเหนื อและใต้ จนถึงละติจูด 66.5
องศาเหนื อและใต้ แบ่งฤดูกาลออกเป็ น 4 ฤดู คือ


Slide 32


Slide 33


Slide 34

วันที่ 20 หรือ 21 มีนาคม ตาแหน่งแสงตัง้ ฉากของ
ดวงอาทิตย์อยู่ท่เี ส้นศูนย์สูตรจุดขัว้ โลกเหนื อกับขัว้ โลกใต้จะสว่าง
เรียกว่า วันวสันตวิษุวตั (Vernal Equinox) โลกจะมีกลางวันและ
กลางคืนเท่ากัน ช่วงละ 12 ชัว่ โมง


Slide 35

วันที่ 20 หรือ 21 มีนาคม
ตาแหน่ งแสงตัง้ ฉากของดวง
อาทิตย์อยู่ท่เี ส้นศูนย์สูตรจุดขัว้
โลกเหนื อกับขัว้ โลกใต้จะสว่าง
เรียกว่า วันวสันตวิษุวตั
(Vernal Equinox) โลกจะมี
กลางวันและกลางคืนเท่ากัน
ช่วงละ 12 ชัว่ โมง


Slide 36

วันที่ 20 - 22 มิถนุ ายน ที่เรียกว่า วันอุตรายันหรือครีษมายัน (Summer
Solstice) ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์จะอยู่เหนื อสุดที่เส้นทรอปิ กออฟแคน
เซอร์ (ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์ท่เี คลื่อนขึ้นมาอยู่ ณ เส้นทรอปิ กออฟแคน
เซอร์) ทาให้พ้ นื ที่ตง้ั แต่เส้นศูนย์สูตรไปทางขัว้ โลกเหนื อ เรียกว่า ซีกโลกเหนื อ
จะมีเวลาที่เป็ นกลางวันหรือสว่างมากกว่า 12 ชัว่ โมง ส่วนพื้นที่ท่อี ยู่ใต้
เส้นศูนย์สูตรลงไป เป็ นซีกโลกใต้ จะมีเวลากลางวันสัน้ กว่ากลางคืน


Slide 37

วันที่ 22 หรือ 23 กันยายน คือ “ วันศารทวิษุวตั " (Autumnal Equinox)
ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์ยา้ ยลงมาจากวันที่ 21 มิถนุ ายน วันละ 15 ลิปดาและมาตัง้ ฉากที่
เส้นศูนย์สูตรอีกครัง้ หนึ่ ง ทาให้ปรากฏการณ์ของซีกโลกเหนื อที่เคยได้รบั แสงอาทิตย์ยาวนาน
ค่อยๆลดลง และจะมีช่วงเวลาระหว่างกลางวันกับกลางคืนเท่ากันอีกครัง้ ในวันนี้ นับจากนี้ ต่อไป
ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์จะเลื่อนลงใต้เส้นศูนย์สูตร ทาให้ดินแดนทางซีกโลกใต้เริ่มมี
ช่วงเวลากลางวันยาวขึ้นและเวลากลางคืนสัน้ ลง


Slide 38

วันที่ 22 -23 กันยายน คือ “ วันศารทวิษุวตั "
(Autumnal Equinox) ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวง
อาทิตย์ยา้ ยลงมาจากวันที่ 21 มิถนุ ายน วันละ 15
ลิปดาและมาตัง้ ฉากที่เส้นศูนย์สูตรอีกครัง้ หนึ่ ง ทาให้
ปรากฏการณ์ของซีกโลกเหนื อที่เคยได้รบั แสงอาทิตย์
ยาวนานค่อยๆลดลง และจะมีช่วงเวลาระหว่างกลางวัน
กับกลางคืนเท่ากันอีกครัง้ ในวันนี้ นับจากนี้ ต่อไป
ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์จะเลื่อนลงใต้เส้นศูนย์
สูตร ทาให้ดินแดนทางซีกโลกใต้เริ่มมีช่วงเวลากลางวัน
ยาวขึ้นและเวลากลางคืนสัน้ ลง


Slide 39

Equinox ตาแหน่งตัง้ ฉากของ
ดวงอาทิตย์มาตัง้ ฉากที่เส้นศูนย์สูตร ทาให้
ช่วงเวลาระหว่างกลางวันกับกลางคืน


Slide 40

Equinox
ตาแหน่ งตัง้ ฉากของ
ดวงอาทิตย์มาตัง้
ฉากที่เส้นศูนย์สูตร
ทาให้ช่วงเวลา
ระหว่างกลางวันกับ
กลางคืน


Slide 41

วันที่ 21 -22 ธันวาคม คือ " วันทักษิณายันหรือเหมายัน " (Winter solstice)
ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์ลงไปใต้สุดที่เส้นทรอปิ กออฟแคปริคอร์น ทาให้พ้ นื ที่ซีกโลกใต้มี
เวลากลางวันยาวที่สดุ และที่ทวีปแอนตาร์กติกาจะได้เห็นปรากฏการณ์ "ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน
(Midnight Son)" เช่นกันสาหรับซีกโลกเหนื อในระยะนี้ จะได้รบั แสงอาทิตย์สน้ั ที่สุด จึงเป็ นช่วง
ฤดูหนาว ส่วนซีกโลกใต้กจ็ ะเข้าสูฤ่ ดูรอ้ น
ถัดจากวนที่ 21 ธันวาคมไป ตาแหน่ งตัง้ ฉากของดวงอาทิตย์จะขยับขึ้นไปที่เส้นศูนย์สูตร
และครบ 1 รอบในวันที่ 21 มีนาคม


Slide 42

On 21st or 22nd of June,
( Summer Solstice )

On 22nd or 23rd of September
( Autumnal Equinox )

On 21st or 22nd of March
( Spring(Vernal) Equinox )

On 21st or 22nd of December
( Winter solstice )


Slide 43

ผลจาการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกจึงได้รบั มุมแสงที่แตกต่างกันไป
ส่งผลให้โลกมีอณ
ุ หภูมิแตกต่างกันอย่างชัดเจนตามช่วงระยะเวลาต่างๆ ของปี
โดยประเทศในเขตอบอุน่ คือ ซึ่งอยู่ในช่วงละติจูด 23.5 องศาเหนื อและใต้ จนถึงละติจูด 66.5
องศาเหนื อและใต้ แบ่งฤดูกาลออกเป็ น 4 ฤดู คือ


Slide 44

ผลจาการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกจึงได้รบั มุมแสงที่แตกต่างกันไป
ส่งผลให้โลกมีอณ
ุ หภูมิแตกต่างกันอย่างชัดเจนตามช่วงระยะเวลาต่างๆ ของปี
โดยประเทศในเขตอบอุน่ คือ ซึ่งอยู่ในช่วงละติจูด 23.5 องศาเหนื อและใต้ จนถึง
ละติจูด 66.5 องศาเหนื อและใต้ แบ่งฤดูกาลออกเป็ น 4 ฤดู คือ


Slide 45


Slide 46

พระอาทิตย์เที่ยงคืน
MIDNIGHT SUN


Slide 47

พระอาทิตย์เที่ยงคืน MIDNIGHT SUN
พระอาทิตย์เที่ยงคืน เกิดขึ้นได้อย่างไร
พระอาทิตย์เที่ยงคืนเห็นได้บริเวณใดของโลก
พระอาทิตย์เที่ยงคืน จะเห็นได้ช่วงไหนของปี


Slide 48

ปรากฏการณ์ในซีกโลกเหนื อ วันที่ 21 มิถนุ ายน (Summer Solstice) ตาแหน่ งตัง้ ฉาก
ของดวงอาทิตย์ท่เี คลื่อนขึ้นมาอยู่ ณ เส้นทรอปิ กออฟแคนเซอร์น้นั ทาให้ทกุ พื้นที่ท่อี ยู่เหนื อ
เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล มีช่วงการรับแสงจากดวงอาทิตย์ยาวนานที่สุดถึง 24 ชัว่ โมง
( ที่ซีกโลกใต้พ้ นื ที่ตง้ั แต่เส้นแอนตาร์กติดเซอร์เคิลไปถึงขัว้ โลกใต้กจ็ ะมืด 24 ชัว่ โมง เช่นกัน )
Arctic Circle

Tropic of Cancer
Equator

Tropic of Capricorn
Antarctic Circle
มืด (ช่วงกลางคืน) ยาวนาน 24 ชัว่ โมง


Slide 49

ในซีกโลกเหนื อ วันที่ 21 มิถนุ ายน (Summer Solstice) ทาให้ทกุ พื้นที่ท่อี ยู่เหนื อเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล มีช่วงการรับ
แสงจากดวงอาทิตย์ยาวนานที่สดุ ถึง 24 ชัว่ โมง ( ที่ซีกโลกใต้พ้ นื ที่ตง้ั แต่เส้นแอนตาร์กติดเซอร์เคิลไปถึงขัว้ โลกใต้กจ็ ะมืด
สว่าง (ช่วงกลางวัน) ยาวนาน 24 ชัว่ โมง
24 ชัว่ โมง เช่นกัน )

Arctic Circle

Tropic of Cancer
Equator

Tropic of Capricorn
Antarctic Circle

เที่ยงคืน มืด (ช่วงกลางคืน) ยาวนาน 24 ชัว่ โมง

เที่ยงวัน


Slide 50

ปรากฏการณ์ในซีกโลกเหนื อ วันที่ 21 มิถนุ ายน (Summer Solstice) ตาแหน่ งตัง้ ฉากของ
ดวงอาทิตย์ท่เี คลือ่ นขึ้นมาอยู่ ณ เส้นทรอปิ กออฟแคนเซอร์น้นั ทาให้ทกุ พื้นที่ท่อี ยู่เหนื อ
เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล มีช่วงการรับแสงจากดวงอาทิตย์ยาวนานที่สดุ ถึง 24 ชัว่ โมง
( ที่ซีกโลกใต้พ้ นื ที่ตง้ั แต่เส้นแอนตาร์กติดเซอร์เคิลไปถึงขัว้ โลกใต้กจ็ ะมืด 24 ชัว่ โมง เช่นกัน )
สว่าง (ช่วงกลางวัน)
ยาวนาน 24 ชัว่ โมง

มืด (ช่วงกลางคืน)
ยาวนาน 24 ชัว่ โมง


Slide 51

ในซีกโลกเหนื อในช่วง
เดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม
ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้น
อาร์กติกเซอร์เคิล ได้แก่ ตอน
เหนื อของ นอร์เวย์ ฟิ นแลนด์
สวีเดน แคนาดา รัสเซียรัฐอะ
ลาสก้าของสหรัฐอเมริกา และ
ตอนเหนื อของเกาะกรีนแลนด์
สามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24
ชัว่ โมง หรือที่เรียกว่า
พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ
(Midnight Sun)

Arctic Circle


Slide 52

ในซีกโลกเหนื อในช่วง
เดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม
ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้น
อาร์กติกเซอร์เคิล ได้แก่
ตอนเหนื อของ นอร์เวย์
ฟิ นแลนด์ สวีเดน แคนาดา
รัสเซียรัฐอะลาสก้าของ
สหรัฐอเมริกา และตอนเหนื อ
ของเกาะกรีนแลนด์ สามารถ
เห็นแสงอาทิตย์ได้ 24
ชัว่ โมง หรือที่เรียกว่า
พระอาทิตย์เที่ยงคืน
( Midnight Sun )

Arctic Circle


Slide 53

ประเทศที่สามารถเห็น
พระอาทิตย์เที่ยงคืน
หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั
ขอบฟ้ า (Midnight
Sun) ในช่วงฤดูรอ้ น
ตอนเหนื อของ นอร์เวย์
ฟิ นแลนด์ สวีเดน
แคนาดา รัสเซีย
มลรัฐอะลาสก้าของ
สหรัฐอเมริกา และตอน
เหนื อของเกาะกรีนแลนด์
ในช่วงเดือนมิถนุ ายน กรกฎาคม


Slide 54

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง สาหรับในซีกโลก
เหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้นอารกติกเซอร์เคิล สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้ ในช่วง
เดือน มิถนุ ายน - กรกฎาคม

12.00 น.

24.00 น.


Slide 55

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง สาหรับในซีกโลก
เหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้นอารกติกเซอร์เคิล สามารถเห็นปรากฎการณ์น้ ี ได้
ในช่วงเดือน มิถนุ ายน - กรกฎาคม

12.00 น.

24.00 น.


Slide 56

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง สาหรับในซีกโลก
เหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้น
อาร์กตกเซอร์เคิล สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้
ในช่วงเดือน มิถนุ ายน - กรกฎาคม

12.00 น.

24.00 น.

12.00 น.


Slide 57

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง สาหรับในซีกโลก
เหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้นอารกติกเซอร์เคิล สามารถเห็นปรากฎการณ์น้ ี ได้
ในช่วงเดือน มิถนุ ายน - กรกฎาคม


Slide 58

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง
ซึ่งสามารเห็นได้ทง้ั ซีกโลกเหนื อ และ ในซีกโลกใต้
สาหรับในซีกโลกเหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้นอารกตกเซอร์เคิล สามารถเห็น
ปรากฏการณ์น้ ี ได้
ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม

12.00 น.

24.00 น.


Slide 59

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า
( Midnight

Sun )

เป็ นปรากฏการณ์ท่ีสามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง
ซึ่งสามารเห็นได้ทง้ั ซีกโลกเหนื อ และ ในซีกโลกใต้โดยจะเห็นได้ใน
บริเวณที่อยู่เหนื อเส้นละติจูดที่ 66 องศา ขึ้นไป


Slide 60

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง
ซึ่งสามารเห็นได้ทง้ั ซีกโลกเหนื อ ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม
และ ในซีกโลกใต้ ในช่วงเดือนธันวาคม - มกราคม
สาหรับในซีกโลกเหนื อ
ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้น Arctic Circle สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้
สาหรับในซีกโลกใต้
ดินแดนที่อยู่ใต้เส้น
Antarctic Circle สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้


Slide 61

พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือ ดวงอาทิตย์ไม่ลบั ขอบฟ้ า ( Midnight Sun )
เป็ นปรากฏการณ์ท่สี ามารถเห็นแสงอาทิตย์ได้ 24 ชัว่ โมง
ซึ่งสามารเห็นได้ทง้ั ซีกโลกเหนื อ ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม
และ ในซีกโลกใต้ ในช่วงเดือนธันวาคม - มกราคม
สาหรับในซีกโลกเหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้น
Arctic Circle สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้
สาหรับในซีกโลกใต้ ดินแดนที่อยู่ใต้เส้น
Antarctic Circle สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้


Slide 62

พระอาทิตย์เที่ยงคืน ( Midnight Sun )
สาหรับในซีกโลกเหนื อ ดินแดนที่อยู่เหนื อเส้น
Arctic Circle สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้
สาหรับในซีกโลกใต้ ดินแดนที่อยู่ใต้เส้น
Antarctic Circle สามารถเห็นปรากฏการณ์น้ ี ได้


Slide 63

แหลมนอร์ทเคป (North Cape) ของ นอร์เวย์ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญและมีช่ือเสียง
ในเรื่องการดู พระอาทิตย์เที่ยงคืน(Midnight Sun) ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม


Slide 64

แหลมนอร์ทเคป (Nordkapp / North Cape) ของ นอร์เวย์ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว
สาคัญและมีช่ือเสียง ในเรื่องการดูพระอาทิตย์เที่ยงคืน (Midnight Sun)
ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม


Slide 65

แหลมนอร์ทเคป (Nordkapp / North Cape) ของ นอร์เวย์ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว
สาคัญและมีช่ือเสียง ในเรื่องการดูพระอาทิตย์เที่ยงคืน(Midnight Sun)
ในช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม