ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม - ครู สาย พิ น วง ษา รัตน์

Download Report

Transcript ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม - ครู สาย พิ น วง ษา รัตน์

ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม
สมาชิกกลุ่ม
•
•
•
•
•
•
•
1. ด.ช. คงศักดิ์ มีปราชญ์สม เลขที่ 1
2. ด.ช. ชัชพล สร้ อยกล่า
เลขที่ 2
3. ด.ช. ชัยกูล จันทร์ คามคา เลขที่ 3
4. ด.ช. ธนวิชญ์ บุณยเกษมโรจน์ เลขที่ 4
5. ด.ญ.การชนิตา จินนะสี
เลขที่ 20
6. ด.ญ. ณัฐาพร โอรัตนสถาพร เลขที่
7. ด.ญ. สมัชญา จันรักงาม
เลขที่
เสนอ
คุณครูสายพิน
วงษารัตน์
ม.2/5
ม. 2/5
ม. 2/5
ม. 2/5
ม. 2/5
ม. 2/5
ม. 2/5
ประชากร
จำนวนประชำกร
ทวีปยุโรปเป็ นทวีปที่มีประชากรมากเป็ นอันดับ 2 ของโลก
รองจากทวีปเอเซี ย (รวมประชาคมรัฐเอกราช) แต่ใน
ระยะเวลาที่ผา่ นมา ทวีปยุโรปมีอตั ราการเพิ่มประชากร อยูใ่ น
เกณฑ์ที่ต่ากว่าทวีปอื่นๆ ทั้งหมด คือเพียงร้อยละ 0.2 ต่อปี
จำนวนประชำกร
ทวีปยุโรปเป็ นทวีปที่มี
ประชากรมากเป็ นอันดับ 2
ของโลกรองจากทวีปเอเซี ย
(รวมประชาคมรัฐเอกราช) แต่
ในระยะเวลาที่ผา่ นมา ทวีป
ยุโรปมีอตั ราการเพิม่ ประชากร
อยูใ่ นเกณฑ์ที่ต่ากว่าทวีปอื่นๆ
ทั้งหมด คือเพียงร้อยละ 0.2
ต่อปี
• ในด้ านการกระจายของประชากร ทวีปยุโรปมีการเฉลี่ยจานวนประชากร
ไปอยูอาศัยตามภาคต่างๆ ของทวีปอย่างทัว่ ถึง ไม่คอ่ ยมีบริเวณที่มี
ประชากรหนาแน่นมาก หรื อเบาบางมากจนเห็นได้ ชดั เหมือนอย่างใน
ทวีปเอเซียและทวีปออสเตรเลีย ที่เป็ นเช่นนี ้เนื่องจากในทวีปยุโรปไม่มี
บริเวณที่มีภมู ิอากาศแห้ งแล้ งมากจนเป็ นทะเลทราย ทังบริ
้ เวณที่เป็ น
เทือกเขาสูงๆ ก็มีไม่มากนัก อุปสรรคในการตังถิ
้ ่นฐานมีเฉพาะบริเวณ
บางแห่งในภาคเหนือของทวีป ซึง่ มีภมู ิอากาศหนาวเย็น ได้ แก่ ใน
คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย และภาคเหนือของรัสเซีย แต่ก็มีอาณาบริเวณ
ไม่กว้ างขวางนัก
• อย่างไรก็ตาม มีบริเวณบางส่วนของทวีปที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่าง
หนาแน่นกว่าเขตอื่นๆ ของทวีป ได้ แก่ เขตที่ราบภาคตะวันตกและภาค
กลางของทวีป ในช่วงละติจดู ที่ 45-50 องศาเหนือ ซึง่ ได้ แก่
ภาคเหนือของฝรั่งเศส ภาคใต้ ของอังกฤษ เบลเยี่ยม เนเธอร์ แลนด์ ภาค
กลางของเยอรมนี ภาคกลางของโปแลนด์และภาคกลางของรัสเซีย เขต
ดังกล่าวเป็ นเขตเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่สาคัญของทวีปยุโรป
ในด้ านการกระจายของประชากรในเขตเมืองและเขตชนบท ปรากฏว่า
ประชากรของทวีปยุโรปอาศัยอยูใ่ นเขตเมืองถึงร้ อยละ 74 ของ
ประชากรทังหมด
้
แสดงให้ เห็นถึงความเจริญก้ าวหน้ าทางด้ านการค้ า
และอุตสาหกรรม ซึง่ สนับสนุนให้ ประชากรเป็ นจานวนมากตังถิ
้ ่นฐานอยู่
ในบริเวณเขตเมือง มีเมืองขนาดใหญ่ที่มีประชากรตังแต่
้ 3 ล้ านคนขึ ้น
ไป ได้ แก่ มอสโก (รัสเซีย) ลอนดอน (สหราชอาณาจักร) ปารี ส
(ฝรั่งเศส)
ศำสนำ
• ประชากรส่วนใหญ่ของทวีปยุโรปนับถือคริสตศาสนา ซึง่ แบ่งออกได้ เป็ น
3 นิกายใหญ่ ๆ คือ
• 1.นิกายโรมันคาธอลิก
เป็ นนิกายที่นบั ถือแพร่หลายในยุโรปภาคใต้ และภาคตะวันออก คริสต์
ศาสนานิกายนี ้ถือว่า สันตปาปาแห่งนครรัฐวาติกนั เป็ นผู้นาสูงสุด
ของศาสนจักร
2.นิกายกรีกออร์ โธดอกซ์
เป็ นนิกายที่นบั ถือกันในคาบสมุทรบอลข่าน ได้ แก่ ประเทศกรีซ
ยูโกสลาเวียและบัลกาเรี ย ในรัสเซียเมื่อก่อนเป็ นสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
ก็นบั ถือคริสตศาสนานิกายนี ้เช่นกัน นิกายกรี กออร์ โธดอกซ์ เน้ น
ความสาคัญของพิธีกรรมทางศาสนา คล้ ายคลึงกับนิกายโรมันคาธอลิก
แต่ไม่ยอมอยูใ่ ต้ อานาจของพระสันตปาปาที่นครวาติกนั
• 3.นิกายโปรเตสแตนต์
เป็ นนิกายที่นบั ถือกันแพร่หลายในยุโรปภาคเหนือ และภาคตะวันตก
และแบ่งออกเป็ นนิกายย่อยๆ อีกมาก หลักการสาคัญของนิกายนี ้คือ
ถือปฏิบตั ติ ามพระคัมภีร์ไบเบิล แต่ไม่เน้ นพิธีกรรมทางศาสนามากนัก
และไม่ตกอยูใ่ ต้ อานาจของพระสันตปาปาที่นครวาติกนั เช่นเดียวกัน
นิกายกรี กออร์ โธดอกซ์
ภำษำ
• ภาษาที่ใช้ กนั ในยุโรป ส่วนใหญ่จดั อยูใ่ นตระกูลภาษาที่เรียกว่า อินโด ยุ
โรเปี ยน ซึง่ เป็ นตระกูลภาษาที่มีผ้ ใู ช้ กนั เป็ นจานวนมาก ถึงประมาณ
ครึ่งหนึง่ ของประชากรโลก สาหรับในทวีปยุโรป ตระกูลภาษาอินโด
ยูโรเปี ยน แบ่งออกเป็ นสาขาต่างๆ รวม 4 สาขา ดังนี ้คือ
• 1.สาขาภาษาเยอรมนิก หรือติวโตนิก ได้ แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษา
ดัตช์ ภาษาเฟลมมิส ภาษาเยอรมัน และภาษาสแกนดิเนเวีย ใช้ กนั มาก
ในยุโรปเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ
• 2.สาขาภาษาโรมานซ์ มีรากมาจากภาษาละติน ได้ แก่ ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกสและภาษาโรมาเนีย ใช้ กนั มาก
ในยุโรปภาคกลางและภาคใต้
• 3.สาขาบัลโต สลาวิก ได้ แก่ ภาษาบัลกาเรี ย ภาษาเช็ค ภาษาโปลช
ภาษาแลตเวีย ภาษาลิธวั เนีย ภาษารัสเซีย ใช้ กนั มากในยุโรปตะวันออก
และบางส่วนของยุโรปภาคใต้
• 4.สาขาภาษาอื่นๆ นอกจาก 3 สาขาภาษาแล้ ว ยังมีสาขาภาษาอื่นๆ
ที่พบอยูใ่ นบางท้ องถิ่นของทวีปยุโรป ได้ แก่ ภาษาเคลติก ซึง่ ใช้ พดู กันใน
สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์ แลนด์ของหมูเ่ กาะบริเตนใหญ่ ภาษากรีก
และภาษาอัลแบเนียในประเทศแอลบาเนีย เป็ นต้ น
การศึกษา
• ทวีปยุเป็ นทวีปที่มีประชากรได้ รับการศึกษาดีกว่าทวีปอืน่ ๆประชากรที่มี
อายุเกิน 15 ปี สาเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษาทุกคน และใน
การศึกษาระดับอุดมศึกษานันยุ
้ โรปได้ มีการพัฒนาการศึกษาอย่างเป็ น
ระบบมาประมาณ 400 ปี มาแล้ ว
การคมนาคม
• ทวีปยุโรปเป็ นทวีปที่มีการคมนาคมขนส่งเจริญก้ าวหน้ าทีส่ ดุ อีกทวีป
หนึง่ และมีประชากรอยูอ่ ย่างหนาแน่นในทางตอนกลางของทวีป ใน
แต่ละภูมิภาคของยุโรปจะสามารถเดินทางติดต่อและขนส่งสินค้ าไปได้
ทุกภูมิภาคด้ วยความสะดวกและรวดเร็ว ทังรถยนต์
้
รถไฟ เรื อ
และทางอากาศและเป็ นทวีปที่มีเส้ นทางการคมนาคมหนาแน่นทีส่ ดุ ใน
โลก การคมนาคมของยุโรปแบ่งออกได้ เป็ น 3 ทาง คือ
• 1.การคมนาคมทางบก แบ่งออกได้ เป็ น 2 ชนิด คือ
• 1.1การคมนาคมทางรถยนต์ ประเทศในยุโรปทุกประเทศมีทางหลวงที่มี
มาตรฐานสูงมีผิวจราจรเรี ยบและกว้ างขวางเชื่อมต่อระหว่างเมือง เขต
อุตสาหกรรม และประเทศต่างๆ ทาให้ สามารถเดินทางไปได้ ทวั่ ทังทวี
้ ป
เพื่อสาหรับใช้ ขนส่งสินค้ าและผ็โดยสาร มีทางรถยนต์ซงึ่ มีความยาว
รวมกันถึง 1 ใน 5 ของทางรถยนต์โลก
1.2 การคมนาคมทางรถไฟ ยุโรปเป็ นทวีปที่มีทางรถไฟยาวถึง 1 ใน 3
ของทางรถไฟในโลกและมีความยาวประมาณ 4000000 กิโลเมตร
ประเทศที่มีทางรถไฟยาวที่สดุ โดยเฉลี่ยต่อเนื ้อที่ประเทศมากที่สดุ คือ
เบลเยียม ทางรถไฟมีความสาคัญในการคมนาคมขนส่งกับประเทศใน
แถบยุโรปตะวันตกมากและทางรถไฟในยุโรปตะวันตกนันส่
้ วนใหญ่จะ
สร้ างทางขนาดมาตรฐานเท่านันท
้ าให้ รถไฟในยุโรปสามารถเดินทาง
แล่นผ่านพรมแดนประเทศต่างๆได้ และมีการสร้ างพร้ อมกับมีการขยาย
ทางรถไฟเข้ าไปยังพื ้นที่ที่เป็ นหุบเขาโดยการทาการสร้ างอุโมงค์ลอดใต้
ภูเขาและมีการปรับปรุงประสิทธิภาพของการเดินทาง มีการสร้ างรถไฟ
ที่มีความเร็วสูงซึง่ รถไฟของประเทศฝรั่งเศษสามารถวิ่งได้ ด้วยความเร็ว
ถึง 300 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ซึง่ ถึงว่าเป็ นรถไฟที่มีความเร็ วสุดในยุโรป
เมืองที่เป็ นศูนย์กลางการคมนาคมทางรถไฟที่สาคัญ ได้ แก่ ปารี ส
ลอนดอน เบอร์ ลนิ วอร์ ซอ และมอสโก
• 2.การคมนาคมทางน ้า การคมนาคมทางน ้าของยุโรปแบ่งออกได้ เป็ น
2 ลักษณะ คือ
• 2.1การคมนาคมขนส่งทางน ้าระหว่างทวีป โดยผ่านทางมหาสมุทร
แอตแลนติก และทะเลเมติเตอร์ เรเนียน มีเมืองท่าที่สาคัญ ได้ แก่
กาสโกว์ เซาท์แทมตัน เนเปิ ล มาร์ เซย์ บาร์ เซโลนา อัมสเตอร์ ดมั
รอสเตอร์ ดมั และโกเตนเบอร์ ก
• 2.2การคมนาคมขนส่งทางน ้าภายในทวีป ซึง่ จะปรากฏเด่นชัดใน
รูปแบบในการเดินเรื อในแม่น ้าและคลองที่ขดุ เพื่อเชื่อมระหว่างแม่น ้า
ทะเล ละทะเลสาบ ซึง่ จะใช้ ในการลาเลียงขนส่งสินค้ าและวัตถุดิบจาก
เมืองท่าชายฝั่ งไปยังแหล่งอุตสาหกรรมบริเวณดินแดนตอนในของ
ประเทศ ประเทศที่มีการขุดคลองเพื่อเชื่อมต่อน่านน ้าภายในประเทศ
ได้ แก่ เยอรมนี ฝรั่งเศส และแม่น ้าที่สาคัญๆ แม่น ้าโวลกา แม่น ้าโอเดอร์
ส่วนคลองที่สาคัญ เช่น คลองคีลซึง่ ขุดเชื่อมระหว่างทะเลบอลติกและ
ทะเลเหนือในประเทศเยอรมนี เป็ นต้ น
• สาหรับยานพาหนะที่ใช้ ในการคมนาคมทางน ้านอกจากเรื อเดินสมุทร
แล้ วยังมีเรื อโดยสารที่มี ความเร็วสูง ที่เรี ยกว่า ยานโอเวอร์ คราฟต์และ
ยานไฮโดรพอยส์ ซึง่ มีใช้ กนั หลายประเทศในยุโรป
• 3.การคมนาคมทางอากาศ เกือบทุกประเทศในทวีปยุโรปมีสายการบิน
ของตนเอง เพื่อความสะดวกในการติดต่อทังภายในประเทศระหว่
้
าง
ประเทศและประเทศระหว่างทวีป เป็ นการรับส่งผู้โดยสาร พัสดุ เป็ นต้ น
ศูนย์กลางการบินของทวีปยุโรป ส่วนใหญ่อยูใ่ นภูมิภาคยุโรปตะวันตก
ได้ แก่เมืองหลวงและเมืองใหญ่ๆที่สาคัญของแต่ละประเทศ เช่น
ลอนดอน โรม และมอสโก เป็ นต้ น
• นอกจากการคมนาคมทางบก น ้า และอากาศแล้ วยังมีการติดต่อกันทาง
โทรศัพท์และอีเมล์เป็ นต้ น
การท่องเที่ยว
Buckingham Palace
เป็ นพระราชวังที่สาคัญของอังกฤษที่สามารถ
เปิ ดให้ คนเข้ าชมได้ ซึ่งภายในพระราชวังจะมี
ห้ องต่ างๆ ที่น่าสนใจที่ดงึ ดูดนักท่ องเที่ยวได้
เป็ นอย่ างดี อาทิ ห้ องบังลังก์ ของกษัตริ ย์ ห้ อง
แกลลอรี่ ห้ องเสวยพระกระยาหาร ซึ่งห้ อง
ต่ างๆ เหล่ านี ้ ได้ รับการตกแต่ งอย่ างงดงาม
และอลังการ นอกจากนี ้ ภายในพระราชวังยังมี
สวนที่ได้ รับการตกแต่ งอย่ างดี เหมาะแก่ การ
เดินชมวิวเป็ นอย่ างยิ่ง ที่สาคัญ คือ การ
ผลัดเปลี่ยนเวร(Changing the Guard)
การผลัดเปลี่ยนเวรจะมีขนึ ้ ที่บริเวณ
พระราชวังบักกิง้ แฮม โดยจะเริ่มแสดง
เวลา 11.30 น . และจะใช้ เวลา
แสดงทัง้ หมด 40 นาที แต่ อาจจะ
เปลี่ยนแปลงได้ ในวันที่มีเหตุการณ์
สาคัญของเมือง การผลัดเปลี่ยนเวร
อาจจะงดได้ ในวันที่ฝนตก
* สถานีรถไฟใต้ ดนิ ที่ใกล้ : Green
Park , Victoria Station and
St. James Park , Hyde park
Coner Tube Station
• Bigben
• บิก๊ เบน ตึกสภา เวสต์มินสเตอร์ ทังหมดคื
้
อ สัญลักษณ์ของลอนดอนที่
ไม่เคยเสื่อมความสาคัญ ตัวบิก๊ เบนและอาคารรัฐสภาตังอยู
้ ร่ ิมแม่น ้า
เทมส์ ขณะนี ้กาลังขัดสีฉวีวรรณเป็ นการใหญ่จงึ เห็นเป็ นสีทองอร่าม ไม่
ดาหม่นมัวด้ วยคราบเขม่าควันและการเวลาเหมือนในอดีต มหาวิหาร
เวสต์มินสเตอร์ กาลังซ่อมแซมเช่นกัน เหมือนกับสะพานข้ ามแม่น ้าเทมส์
ในบริเวณใกล้ เคียงที่ทาให้ การเดินข้ ามถนนไปมาของนักท่องเที่ยวออก
จะ ลาบากไม่ใช่น้อยเลย
London Eye
บริติช แอร์ เวยส์ ลอนดอน อาย (British
Airways London Eye) กลายเป็ น
สัญลักษณ์ของประเทศอังกฤษไปซะแล้ ว
สาหรับบริติช แอร์ เวยส์ ลอนดอน อาย ที่สร้ าง
ขึ ้นเพื่อรับปี สหัสวรรษ 2000 โดยสายการบิ
นบริติช บริติช แอร์ เวยส์ ลอนดอน อาย เป็ นจุด
ชมวิว ที่มีลกั ษณะเป็ นกงล้ อหมุน มีความสูง
135 เมตร จุดชมวิวนี ้ สร้ างขึ ้นภายใต้
แนวความคิด อากาศ น ้า พื ้นโลก และเวลา
* ทัง้ สองทีใ่ กล้ สถานีรถไฟใต้ดิน :
Embankment Station Tube
station
สะพานทาวเวอร์ (Tower Bridge)
สร้ างขึ ้นเหนือแม่น ้าเทมส์ โดยสะพานแห่งนี ้ ไม่เพียงแต่เป็ นจุดชมวิว ที่มี
ความสูงถึง 140 ฟุต เท่านัน้ แต่ภายในของฐานสะพาน ที่ถกู สร้ างขึ ้นให้
มีลกั ษณะเป็ นหอสูง ยังเป็ นที่ที่จดั นิทรรศการ เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ
จนถึงมีจดั แสดงห้ องอบไอน ้าสมัยวิกตอเรี ยนด้ วย
* สถานีใต้ดินทีใ่ กล้ทีส่ ดุ : Tower Hill tube station
London Chaina Town (
SOHO )
เป็ นอีกสถานที่หนึง่ ที่ คนไทยในลอนดอน
ชอบไปเป็ นอย่างยิ่ง เพราะว่า อาหารจีน
เป็ นอาหารที่คนไทยชื่นชอบเป็ นอย่าง
มาก โดยเฉพาอย่างยิ่งมากกว่า อาหาร
ฝรั่ง เบอร์ เกอร์ แซนวิชเป็ นอย่างยิ่ง อีกทัง้
ยังมี ซุปเปอร์ มาเก็ตของคนจีน ที่นาเข้ า
ของชา ทัง้ ผัก ผลไม้ ม่าม่า และ ซอสปรุง
อาหาร แม้ กระทัง่ ปลาร้ า ก็มี ที่นาเข้ ามา
จากเมืองไทยทุกวันสดมาก เป็ นที่ ๆ
นักเรี ยนไทยในลอนดอนรู้จกั กันดี
Harrods
ห้ างแฮร็อดส์ (Harrods) อภิมหาเศรษฐี ชาวอียิปต์ชื่อ
อัลฟาเยด เป็ นเจ้ าของกิจการตังอยู
้ บ่ นบรอมตันแถวๆย่าน "
ไนท์บริดจ์ "(Knightsbridge) ที่ห้างแฮร็อดส์มีของ
ขายมากมายกว่า 300 แผนก อยากจะได้ อะไรข้ างในมี
หมด เพียงแต่วา่ จะตัดสินใจซื ้อกันหรื อเปล่าเทานัน้ เพราะ
ราคาข้ าวของแต่ละ่ อย่างแพงหูฉี่ ในห้ างมีร้านโดนัทชื่อดัง
อันดับ 1 ใน 10 ของโลกคือ Krispy Kream อร่อย
มากขอรับประกันคุณภาพหากหาซื ้ออะไรไม่ได้ ซื ้อถุงก๊ อป
แก๊ ปของห้ างมาเป็ นที่ระลึกก็ยงั ดี
• * สถานีรถไฟใต้ดินทีใ่ กล้ : Knightsbridge Tube Staiton
ดูที่ร้านแดงด้ านขวามือสุดสิ นัน่ แหละ ซุปเปอร์ มาร์ คเก็ตจีน ชื่อ
LOON MOON ที่มีของชาจากเมืองไทยเพียบ อยูใ่ จกลาง โซโฮ
เลยละ
• * สถานีรถไฟใต้ดินทีใ่ กล้ : Piccadilly Circus , Leicester
Square Tube Station
เบอร์ น เป็ นเมืองหลวงของ
ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ที่มี
ประชากรอาศัยมากเป็ นอันดับ
5 ของประเทศ โดยมีจานวน
ประชากรทังสิ
้ ้นราว
128,000 คน ใจกลางเมือง
นี ้ยังคงเอกลักษณ์ของการเป็ น
เมืองเก่าแก่และเต็มไปด้ วยส
ถาปั ตกรรมในยุคกลาง จึง
ได้ รับการขึ ้นทะเบียนเป็ น
มรดกโลกทางวัฒนธรรมจาก
องค์การยูเนสโก
• ที่สาคัญ เมืองเบอร์ นยังเป็ นสถานที่ซงึ่ อัลเบิร์ต ไอน์ไตน์ เคยเข้ ามา
อาศัยและทางานราวปี ค.ศ. 1903 (พ.ศ. 2446) ปั จจุบนั บ้ านของ
เขาซึง่ ตังอยู
้ ่ เลขที่ 49 ถนนแครมกาซเซ่ (Kramgasse) ได้
กลายเป็ น พิพิธภัณฑ์บ้านไอน์ไตน์ ที่มีนกั ท่องเที่ยวทัว่ โลกแวะมาเยี่ยม
ชมเป็ นจานวนมาก
แฟรงค์เฟิ ร์ต เป็ นศูนย์กลางทางการเงินที่ใหญ่สดุ ในกลุม่ สหภาพยุโรป ทังยั
้ งเป็ น
ที่ตงของธนาคารกลางยุ
ั้
โรป ตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิ ร์ต และ German
Federal Bank มีประชากรราว 5 ล้ านคน นอกจากความมัง่ คัง่ ทางการเงิน
แล้ ว เมืองนี ้ยังมีเอกลักษณ์อนั โดดเด่นอยูท่ ี่วิหารแบบโกธิค สมัยศตวรรษที่ 14
ขณะเดียวกันก็มีตกึ ระฟ้ารูปทรงทันสมัยและสวยงามตังตระหง่
้
านบริเวณใจกลาง
เมืองอีกด้ วย
มิวนิค เป็ นเมืองที่ใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของประเทศ
เยอรมนี และเป็ นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรี ย มี
ประชากรราว 1.36 ล้ านคน แม้ จะเป็ นเมืองที่
เจริญและมัง่ คัง่ ที่สดุ แห่งหนึง่ ในยุโรป แต่เมืองนี ้
ยังคงอนุรักษ์ โบราณสถานและสถาปั ตยกรรมอัน
เก่าแก่แบบโกธิคเอาไว้ ได้ เป็ นอย่างดี
หลังถูกระเบิดโจมตีอย่างหนักถึง 71 ครัง้ ในช่วง 5 ปี สมัย
สงครามโลกครังที่ 2 เมืองมิวนิคก็ได้ รับการฟื น้ ฟูขึ ้นใหม่อย่าง
รวดเร็ว และได้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ ก ในปี ค.ศ.
1972 (พ.ศ. 2515)
การเมืองการปกครอง
• ประเทศในทวีปยุโรปมีรูปแบบการปกครองที่แตกต่างกันดังนี ้
• 1.การปกครองระบอบประชาธิปไตรที่มีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข
ได้ แก่ กลุม่ ประเทศในยุโรปเหนือ ยุโรปกลาง และยุโรปตะวันตก เช่น
อังกฤษ สวีเดน เบลเยียม สเปน เดนมาร์ ก เป็ นต้ น
• 2.การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข
ได้ แก่ ประเทศในยุโรปกลาง ยุโรปตะวันตก และยุโรปใต้ เช่น
เยอรมนี ฝรั่งเศส โรมาเนีย เป็ นต้ น
• 3.ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ที่มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข ส่วนใหญ่
เป็ นประเทศในยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย มอลโดวา ลิทวั เนีย
เป็ นต้ น
• 4.การปกครองระบอบพิเศษ ได้ แก่ นครรัฐวาติกนั ที่ตงอยู
ั ้ ท่ ี่กรุงโรม
ประเทศอิตาลีมีสนั ตะปาปาเป็ นประมุข
บรรณนุกรม
• ออนไลน์เข้ าถึงจาก
• http://writer.dek-d.com/jd_8030/story/viewlongc.php?id=243319&chapter=14
•
•
•
http://writer.dek-d.com/jd_8030/story/viewlongc.php?id=243319&chapter=13
http://www.studysquares.com/study/2/9/19/16/0.html
http://www.kullawat.net/europe/pop.htm
• และใบงานของคุณครูสายพิน
วงษารัตน์