แนวทางและมาตรการในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดย

Download Report

Transcript แนวทางและมาตรการในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดย

แนวทางและมาตรการ
ในการจัดการพืน้ ทีค่ ุ้มครอง
ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าและเขตห้ ามล่ าสั ตว์ ป่า
นายณรงค์ มหรรณพ
ผู้อานวยการสานักอนุรักษ์ สัตว์ ป่า
ความหมายของพืน้ ทีค่ ุ้มครอง
(IUCN,2008)
• คืออาณาบริเวณพืน้ ผิวโลก ทั้งส่ วนพืน้ ดินและเหนือพืน้ ดินที่
– ควรค่ าแก่การสงวนและ
– การจัดการด้ วยวิธีการทางกฎหมายหรือวิธีการอืน่ ๆ
– เพือ่ ให้ สภาพดั้งเดิมได้ รับการอนุรักษ์ ไว้ ทยี่ นื ยาว ทีส่ อดประสานกับ
การให้ บริการของระบบนิเวศและคุณค่ าทางวัฒนธรรม
(ณ ปี พ.ศ. 2552 ทัว่ โลกมีพนื้ ทีค่ ้ ุมครองสภาพธรรมชาติ
มากกว่ า 114,000 แห่ ง
จุดประสงค์ ของการจัดตั้งพืน้ ทีค่ ุ้มครอง
(IUCN, 1994)
•
•
•
•
•
•
•
•
เพือ่ การวิจยั ทางวิทยาศาสตร์
เพือ่ การคุ้มครองป่ าเปลีย่ ว
เพือ่ การสงวนคุ้มครองความหลากหลายทางชนิดพันธุ์และความ
หลากหลายทางพันธุกรรม
เพือ่ ดารงรักษาไว้ ซึ่งการให้ บริการทางสิ่ งแวดล้ อม
เพือ่ การท่ องเที่ยวและนันทนาการ
เพือ่ การศึกษา
เพือ่ การใช้ ทรัพยากรจากระบบนิเวศธรรมชาติอย่ างยัง่ ยืน และ
เพือ่ รักษาไว้ ซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีการถือปฏิบัติต่าง ๆ
ประเภทของพืน้ ทีค่ ุ้มครอง
มี 6 ประเภท (IUCN ,2003)
I พืน้ ทีค่ ุ้มครองอย่ างเข้ มข้ น (Strict Protection)
• เช่ น พืน้ ทีส่ งวนชีวาลัย พืน้ ทีล่ ่ มุ นา้ ชั้น 1 เอ
II อุทยานแห่ งชาติ (National Park)
เป็ นพืน้ ทีท่ ี่ค่อนข้ างกว้ างขวาง มีสภาพธรรมชาติงดงามตระการตา มี
ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติทนี่ ่ าอัศจรรย์ น่ าสนใจเป็ นพิเศษ มีคุณค่ า
ทางประวัติศาสตร์ ศิลปะสั งคมวัฒนธรรม หรือมีพนั ธุ์สัตว์ พันธุ์พชื ที่
น่ าสนใจ ควรค่ าแก่การสงวนรักษาไว้ เพือ่ ประโยชน์ ด้านการอนุรักษ์
วิทยาศาสตร์ ศึกษา ค้ นคว้ า วิจัย และการพักผ่ อนหย่ อนใจ
III พืน้ ทีอ่ นุสรณ์ สถานทางธรรมชาติ
(Natural Monument)
• พืน้ ที่มรดกโลกทางวัฒนธรรม
IV พืน้ ทีท่ มี่ ีการจัดการเพือ่ เป็ นถิน่ ทีอ่ ยู่อาศัยหรือชนิดพันธุ์
(Habitat/Species Management Area)
• เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่า สวนพฤกษศาสตร์
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่า
• เป็ นพืน้ ทีท่ กี่ าหนดขึน้ เพือ่ ให้ เป็ นทีอ่ ยู่อาศัยของสั ตว์ ป่า
โดยปลอดภัย
• เพือ่ ว่ าสั ตว์ ป่าในพืน้ ทีด่ งั กล่ าวจะได้ มโี อกาสสื บพันธุ์และ
ขยายพันธุ์ตามธรรมชาติได้ มากขึน้
• ทาให้ สัตว์ ป่าบางส่ วนได้ มโี อกาสกระจายจานวนออกใน
ท้ องทีอ่ นื่ ๆ ทีอ่ ยู่ใกล้ เคียงกับพืน้ ทีร่ ักษาพันธุ์สัตว์ ป่า
V พืน้ ทีค่ ุ้มครองภูมทิ ศั น์ ทางบก/ภูมทิ ศั น์ ทางทะเล
(Protected Landscape/Seascape)
VI พืน้ ทีค่ ุ้มครองเพือ่ การจัดการทรัพยากร
(Managed Resources Protected Area)
เช่ น เขตห้ ามล่ าสั ตว์ ป่า ป่ าชายเลนอนุรักษ์
แนวคิดเกีย่ วกับพืน้ ทีค่ ุ้มครองในยุคปัจจุบัน
(IUCN, 2003)
ด้ านวัตถุประสงค์
–เดิม
• เน้ นด้ านการอนุรักษ์
–ปัจจุบันให้ เพิม่
• ด้ านสั งคม
• เศรษฐกิจ และ
• จัดการร่ วมกับชุ มชนท้ องถิ่นมากกว่ ากล่าวอยู่ในความคิด
ด้ านผู้บริหาร
–เดิม
• ดาเนินการโดยรัฐบาลส่ วนกลาง
–ของใหม่
• ให้ ดาเนินการจากหลายภาคส่ วน และ
• ผู้มีส่วนได้ เสี ยได้ รับจัดสรรให้ เข้ ามามีส่วนร่ วมในการ
จัดการด้ วย
ด้ านชุมชนท้ องถิน่
• เดิม
– จะวางแผนและจัดการทีข่ ัดแย้งกับประชาชน ไม่ คานึงถึงหรือตระหนักถึง
ความคิดเห็นของชุ มชนท้ องถิ่น
• ใหม่
– ให้ ดาเนินการร่ วมและบางกรณีดาเนินการโดยชุมชนท้ องถิ่น และ
– จัดการทีม่ ีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ บรรลุความต้ องการของชุ มชนท้ องถิ่น
แนวคิดที่กว้ างจากเดิม
• เดิม
• แยกพัฒนาอย่ างโดดเดีย่ ว
• จัดการเป็ นอิสระ คล้ าย “เกาะ”
• แนวคิดใหม่
• การพัฒนาเป็ นแผนหนึ่งของการพัฒนาของประเทศ
ภูมิภาค และนานาชาติ
• พัฒนาให้ เป็ น “เครือข่ าย” (พืน้ ที่ห้วงห้ ามพิเศษ เขตกัน
ชน และการเชื่อมต่ อพืน้ ที่สีเขียว)
มุมมองด้ านการรับรู้
• เดิม
• มีมุมมองว่ า “เป็ นสมบัติของชาติ”
• เป็ นเรื่อง “ภายในประเทศ”
• แนวคิดใหม่
• ให้ มีมุมมองว่ า “เป็ นสมบัตขิ องชุมชนด้ วย”
• มองว่ าเป็ นเรื่อง “ระดับนานาชาติด้วย”
ด้ านเทคนิคในการจัดการ
• เดิม
•จัดการเพือ่ ตอบสนองในช่ วงเวลาสั้ นๆ
•จัดการโดยผู้เชี่ยวชาญและมีเทคนิคทีเ่ ฉพาะ
• แนวคิดใหม่
• จัดการโดยพิจารณาเหตุการณ์ ในระยะยาว และ
• จัดการร่ วมกับการพิจารณาแนวนโยบายแห่ งรัฐ
ด้ านการเงิน
• เดิม
–จ่ ายโดย “ผู้เสี ยภาษี”
• ใหม่
–จ่ ายโดย “แหล่ งเงินต่ าง ๆ
ความชานาญในการจัดการ
• เดิม
–จัดการโดย “นักวิทยาศาสตร์ หรือผู้เชี่ยวชาญด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติ”
• ใหม่
–จัดการโดย “ผู้ชานาญการในหลายๆ ด้ าน และ
–ดาเนินการอยู่บนพืน้ ฐาน “ความรู้ ของชุมชน”
แนวทางและมาตรการในการจัดการพืน้ ที่
คุ้มครองของไทย
กิจกรรมในการดาเนินการ
• จาแนกเป็ น 3 ด้ าน
–ด้ านการคุ้มครองดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
–ด้ านการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ
–ด้ านการบริหารจัดการพืน้ ทีค่ ุ้มครอง
ด้ านการคุ้มครองดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ
.
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง 5 ฉบับ
• พ.ร.บ.ป่ าไม้ พุทธศักราช 2484 (เพื่อควบคุมการทาไม้ การนาไม้เคลื่อนที่ การค้า การ
ครอบครอง การแผ้วถางป่ า)
• พ.ร.บ.อุทยานแห่ งชาติ พ.ศ. 2504 (เพื่อคุม้ ครองพื้นที่โดดเด่นไว้และจัดตั้งใน
รู ปของอุทยานแห่งชาติ)
• พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่ งชาติ พ.ศ. 2507 (เพื่อสงวนรักษาพื้นที่ป่าไว้ให้เป็ นสมบัติ
ของชาติ ให้ได้ 50 %)
• พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสั ตว์ ป่า พ.ศ. 2535 (ปรับปรุง พ.ร.บ.สงวน
และคุม้ ครองสัตว์ป่า ปี 2503 เพิ่มส่งเสริ มการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า การนาเคลื่อนที่สตั ว์ป่าและซากสัตว์ป่า)
• พ.ร.บ.ส่ งเสริมละรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม พ.ศ.2535 (เพื่อ
จัดการคุณภาพสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน จะใช้หลักธรรมรัฐ หลักการมีส่วนร่ วม และหลักการกระจาย
อานาจ)
การบังคับใช้ กฎหมาย
• แนวเขต
– (ดูแลป้ าย หลักเขต ถนน แนวต้ นไม้ รั้ว)
• การดาเนินคดี
– การฟ้องคดี
• (ทุก พ.ร.บ.) คัดค้ านการประกันตัวและการคืนของกลาง
– การบังคับคดีตามคาพิพากษาหรือคาสั่ งศาล (กรณีมสี ิ่ งปลูกสร้ าง)
• (ป.วิแพ่ง ม 271กาหนดเมือ่ ศาลตัดสิ นแม้ คดียงั ไม่ ถึงทีส่ ุ ด ให้ ร้องขอให้ ศาลบังคับตามคา
พิพากษาได้ เราไม่ จาเป็ นต้ องดาเนินการตามมาตรา 22 ทีจ่ ะสุ่ มเสี่ ยงในหลาย ๆด้ าน แต่
ต้ องดูว่าจาเลยขอทุเลาการบังคับหรือไม่ )
– กรณีศาลยังไม่ สั่ง การดาเนินการทางปกครองโดยใช้ มาตรา 22 ต้ องรอบคอบ
–การฟ้ องเรียกค่ าเสี ยหายทางแพ่ง
การลาดตระเวนแบบคุณภาพ (Smart Patrol)
• ปัญหาที่พบคือ
• เครื่องมือ GPS (ไม่พอ เสีย ถ่ านหมด) แผนที่ 1:50,000 ไม่พอ
• การวิเคราะห์ ข้อมูล เพือ่ ประมวลผล
– ขาดเจ้ าหน้ าทีช่ านาญด้ านคอมพิวเตอร์
– ขาดการประชุ มวิเคราะห์ ข้อมูลร่ วมกัน)
• ผู้ปฏิบัตงิ าน ขาดขวัญกาลังใจ (ค่ าจ้ างตา่ ไม่ มีค่าเบีย้ เลีย้ ง)
• มาตรการ
• เครื่ องมือ
– ดูแลรักษาให้ดี ซื้อได้ซ้ือเลย
• ฝึ กเจ้าหน้าที่ดา้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลให้มาก
• ให้ความสนใจ ดูแลผูป้ ฏิบตั ิ
การฟื้ นฟูพนื้ ทีท่ ตี่ รวจยึด
• ปลูกฟื้ นฟูทนั ที่
• เขียนป้ ายแสดง
ด้ านการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ
• นักท่องเที่ยว
–ให้ความรู้ ปฏิบตั ิตามระเบียบ
• นักวิจยั
– ควบคุม
– จัดสัมมนานักวิจยั ทุกปี
• เจ้าหน้าที่
–ต้องเป็ นต้นแบบ (ขยะ แต่งตัว การไม่กินสัตว์ป่า)
ด้ านการใช้ ประโยชน์ พนื้ ทีค่ ุ้มครอง (ต่ อ)
• จาแนกเขตการจัดการ (ใช้ให้ถกู )
• การนาพืช และสัตว์ต่างถิ่นเข้าไป
• การจัดการขยะ
– ขนออก
– ลงทะเบียนขยะ
– มอบรางวัล
•
•
•
•
การจากัดจานวนนักท่องเที่ยว
การห้ามให้อาหารสัตว์ป่า
การควบคุมความเร็ วยานพาหนะ
การจัดรถบริ การ
ด้ านการบริหารจัดการพืน้ ทีค่ ุ้มครอง
• เจ้าหน้าที่
• คณะกรรมการที่ปรึ กษาพื้นที่คุม้ ครอง
– ใช้ประโยชน์ให้มาก
– งบค่าตอบแทนกรรมการ
• ชุมชน
การมีส่วนร่ วมของชุมชนในการจัดการพืน้ ที่
คุ้มครอง
• เพิม่ บทบาทของชุมชนท้ องถิน่ ให้ มสี ่ วนร่ วมในการจัดการให้ มากขึน้
– รับทราบ
– ให้ ข้อเสนอแนะ
– ให้ คาปรึกษา
– การสร้ างความร่ วมมือ และ
– รับทราบเหตุผลการตัดสิ นใจ)
• ตระหนักเสมอว่ าจะให้ พนื้ ทีค่ ุ้มครองคงอยู่ต้องอาศัยประชาชน
โดยเฉพาะชุมชนท้ องถิน่
แนวทางการดาเนินการ
• ต้ องกาหนดแนวทางการอนุรักษ์ ให้ เกิดประโยชน์ ต่อประชาชนในพืน้ ที่
ให้ มาก
• ทาให้ การอนุรักษ์ เป็ น “กระบวนการ” มิใช่ “โครงการ” คือ
– เน้ นงานการมีส่วนร่ วมที่เป็ นกระบวนการนาน ๆ
– ทาให้ เกิดการสั่ งสมความคิดไว้ ใต้ จิตสานึกของประชาชนทีล่ ะน้ อย
– มีหน่ วยงานรับผิดชอบที่ถาวรและต่ อเนื่อง
กิจกรรม
•
•
•
•
•
ประชุมร่ วมกับหน่วยงานในพื้นที่ (อบต.จังหวัด) ทุกครั้ง
การประชาสัมพันธ์ (บรรยายตามโรงเรี ยน ชุมชน)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน
การตั้งกลุ่ม ชมรม
การใช้สื่อมวลชน
.