กฎหมายล้ มละลาย มาตรา 1-90 โดย ดร.กนก จุลมนต์ ผู้พพิ ากษาศาลชั้นต้ นประจากองผู้ช่วยผู้พพิ ากษาศาลฎีกา ตารางการบรรยาย 1.

Download Report

Transcript กฎหมายล้ มละลาย มาตรา 1-90 โดย ดร.กนก จุลมนต์ ผู้พพิ ากษาศาลชั้นต้ นประจากองผู้ช่วยผู้พพิ ากษาศาลฎีกา ตารางการบรรยาย 1.

กฎหมายล้ มละลาย มาตรา 1-90
โดย ดร.กนก จุลมนต์
ผู้พพิ ากษาศาลชั้นต้ นประจากองผู้ช่วยผู้พพิ ากษาศาลฎีกา
1
ตารางการบรรยาย
1. วันที่ 28 ธันวาคม 2557 เวลา 13.00 น.
2. วันที่ 18 มกราคม 2558 เวลา 8.00 น.
3. วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 15.00 น.
2
ความหมายของกฎหมายล้มละลาย
กฎหมายที่วา่ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหนี้กบั ลูกหนี้ โดยเป็ น
กระบวนการรวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้เพื่อแบ่งชาระหนี้
ให้แก่เจ้าหนี้ท้ งั หลายตามสิ ทธิของเจ้าหนี้แต่ละรายอย่างเป็ น
ระบบ และให้ลูกหนี้หลุดพ้นจากภาระหนี้ที่มีอยูก่ ่อนเริ่ มต้นคดี
3
เป้ าหมาย (Goals) หรือนโยบาย (Policies)
ของกม.ล้มละลาย
1. เพื่อแก้ไขปั ญหาการที่เจ้าหนี้(หลายราย) ของลูกหนี้ประสงค์จะ
ได้รับชาระหนี้จากทรัพย์สินของลูกหนี้ที่มีอยูอ่ ย่างไม่พอเพียง
โดยรวบรวมทรัพย์สินที่มีอยูอ่ ย่างจากัดของลูกหนี้เพื่อชาระหนี้
แก่เจ้าหนี้ท้ งั หลายตามสิ ทธิอย่างเป็ นระบบ (a compulsory
collective action/Facilitate creditor collection of debt and
prevent debtor fraud)
Maximize value + Save costs + Fairer Distribution
4
หากให้เจ้าหนี้แย่งกันจะเกิดความไม่มีประสิ ทธิภาพทางเศรษฐกิจ
(economically inefficient) ทาให้มูลค่าของทรัพย์สินลดลง (destroy
value) และอาจจะทาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย ทั้งที่อาจจะฟื้ นฟูกิจการได้
5
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๙๔/๒๕๔๙
• การฟ้ องคดีลม้ ละลายมิใช่การฟ้ องเพื่อบังคับเอาทรัพย์สิน
ของลูกหนี้ไปชาระหนี้แก่เจ้าหนี้ดงั เช่นคดีแพ่งทัว่ ไป
แต่เป็ นการฟ้ องเพือ่ จัดการทรัพย์ สินของลูกหนีต้ าม
กระบวนการที่กฎหมายกาหนดเพือ่ ประโยชน์ สูงสุ ดแก่
เจ้ าหนีท้ ้ งั หลาย
6
เป้ าหมายหรือนโยบายของกม.ล้มละลาย
2. ให้ลูกหนี้หลุดพ้นจากภาระหนี้สิน
(The debtor’s “fresh start”): provide the honest but
unfortunate debtor a fresh start
3. สังคม (The community/society)
7
ภาพรวมกระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
การเริ่มต้ นของคดีล้มละลาย
๑. การยืน่ ฟ้ องคดีล้มละลาย (หมวด ๑ กระบวนพิจารณาตั้งแต่ขอให้
ล้มละลายจนถึงปลดล้มละลาย)
๑.๑ เจ้าหนี้ไม่มีประกัน (มาตรา ๙)
๑.๒ เจ้าหนี้มีประกัน (มาตรา ๙ ประกอบมาตรา ๑๐)
๒. วิธีฟ้องขอให้ จดั การมรดกของลูกหนีท้ ตี่ ายตามกฎหมาย
ล้ มละลาย (มาตรา ๘๒ ถึง ๘๗)
(หมวด ๒ กระบวนพิจารณาในกรณี ที่ลูกหนี้ตาย)
8
๓. ผู้ชาระบัญชียนื่ คาร้ องขอต่ อศาลขอให้ สั่งให้ นติ บิ ุคคลนั้น
ล้ มละลาย (มาตรา ๘๘)
(หมวด ๓ กระบวนพิจารณาในกรณี ที่ลูกหนี้เป็ นห้างหุน้ ส่ วนสามัญ
ห้างหุน้ ส่ วนจากัด บริ ษทั จากัดหรื อนิติบุคคลอืน่ )
๓.๑ เจ้าหนี้ผเู ้ ป็ นโจทก์หรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีคาขอโดย
ทาเป็ นคาร้องให้หุน้ ส่ วนจาพวกไม่จากัดความรับผิดในห้าง
หุน้ ส่ วนล้มละลาย (มาตรา ๘๙)
9
กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
เจ้าหนี้ยนื่ ฟ้ อง (ม. ๙ หรื อ ม. ๙ ประกอบ ๑๐)
ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดหรื อยกฟ้ อง (ม. ๑๔)
วันตรวจคาขอรับชาระหนี้ (ม. ๑๐๔)
10
การประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก (ม. ๓๑)
การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย(ม.๔๕)
วันนัดไต่สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผย (ม. ๔๒)
คาพิพากษาให้ลม้ ละลาย (ม. ๖๑)
11
กรณีทที่ าให้ บุคคลล้ มละลาย
หลุดพ้นจากการล้มละลาย
๑. การประนอมหนี้ภายหลังล้มละลาย (ม. ๖๓)
๒. การปลดจากล้มละลาย (ม. ๖๗/๑)
๒.๑ ศาลได้มีคาสัง่ ปลดจากล้มละลายตาม ม. ๗๑
๒.๒ พ้นกาหนดระยะเวลาตาม ม.๘๑/๑
๓. การยกเลิกการล้มละลาย (ม. ๑๓๕)
12
กฎหมายและข้ อกาหนดที่เกีย่ วข้ อง
๑. พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๗)
๒. พ.ร.บ.จัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีลม้ ละลาย
พ.ศ. ๒๕๔๒ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘)
๓. ข้อกาหนดตามมาตรา ๑๙
๔. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
๕. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
๖. กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาล
แขวง
13
การขอให้ ล้มละลายตามกฎหมายอืน่ ๆ
๑. พระราชกาหนดการกูย้ มื เงินที่เป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ.
๒๕๒๗
๒. พระราชกาหนดบรรษัทบริ หารสิ นทรัพย์ไทย พ.ศ. ๒๕๔๔
บุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องในคดีล้มละลาย
๑. ลูกหนี้ (The debtor) ได้ แก่ บุคคลธรรมดาและนิตบิ ุคคล
๒. เจ้ าหนี้ (The creditor) ได้ แก่
เจ้ าหนีม้ ีประกัน (Secured creditor) และ
เจ้ าหนีไ้ ม่ มีประกัน/ธรรมดา/ทั่วไป (Unsecured creditor)
๓. เจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์ ม. ๖ ประกอบ ม. ๑๓๙
(Official Receiver/((Bankruptcy) Trustee)
๔. ศาล (The Central Bankruptcy Court)
15
ผลของการเป็ นเจ้ าหนีม้ ีประกัน
และเจ้ าหนีไ้ ม่ มีประกัน
๑. หลักเกณฑ์ ในการฟ้องคดีล้มละลายแตกต่ างกัน
(เจ้าหนี้ไม่มีประกัน ดู ม. ๙
ส่ วนเจ้าหนี้มีประกัน ดู ม. ๙ ประกอบ ม. ๑๐)
๒. หลักเกณฑ์ ในการยืน่ คาขอรับชาระหนีต้ ่ างกัน
(เจ้าหนี้ไม่มีประกัน ดู ม. ๙๑, ๙๔
ส่ วนเจ้าหนี้มีประกัน ดู ม. ๙๑, ๙๔, ๙๕, ๙๖)
16
มาตรา ๖ เจ้ าหนีม้ ีประกัน
• ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๒ อันว่าจานองนั้นคือ สัญญาซึ่งบุคคลคน
หนึ่งเรี ยกว่าผู้จานอง เอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง
เรี ยกว่า ผู้รับจานอง เป็ นการประกันการชาระหนี้ โดยไม่ส่งมอบ
ทรัพย์สินนั้นให้แก่ผรู้ ับจานอง
17
มาตรา ๗๐๓
อันอสังหาริ มทรัพย์น้ นั อาจจานองได้ไม่วา่ ประเภทใดๆ
สังหาริ มทรัพย์อนั จะกล่าวต่อไปนี้กอ็ าจจานองได้ดุจกัน หากว่าได้
จดทะเบียนไว้แล้วตามกฎหมาย คือ
(๑) เรื อมีระวางตั้งแต่หา้ ตันขึ้นไป
(๒) แพ
(๓) สัตว์พาหนะ
18
(๔) สังหาริ มทรัพย์อื่นๆ ซึ่งกฎหมายหากบัญญัติไว้ให้จดทะเบียน
เฉพาะการ ขณะนี้มีอยู่ ๒ อย่างคือ เครื่องจักรตาม
พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ.๒๕๑๔ และ
เครื่องบินตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.๒๔๙๗
ทรัพย์สินทั้งสองสิ่ งนี้ถา้ จดทะเบียนแล้วก็จานองได้ ถ้ายังไม่ได้
จดทะเบียนจะนาไปจานองไม่ได้
19
มาตรา ๗๑๔ อันสัญญาจานองนั้น ท่านว่าต้ องทาเป็ นหนังสื อและ
จดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่
มาตรา ๗๐๙ บุคคลหนึ่งจะจานองทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกัน
หนี้อนั บุคคลอื่นจะต้องชาระ ก็ให้ทาได้
20
ตัวอย่ างที่ ๑
• การที่ลูกหนี้ได้มอบโฉนดให้เจ้าหนี้ยดึ ถือไว้เป็ นประกัน
ไม่ถือว่าเจ้าหนี้ดงั กล่าวเป็ นเจ้าหนี้มีประกัน เพราะ ป.พ.พ.
มาตรา ๗๑๔ อันสัญญาจานองนั้น ท่านว่าต้องทาเป็ นหนังสื อ
และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (ฎ. ๕๔๕/๒๕๐๔)
21
ตัวอย่ างที่ ๒
22
ตัวอย่ างที่ ๓
นาย ก. (ลูกหนีช้ ้ันต้ น)
ธนาคารกรุงไทย
นาย ข. (ผู้จานอง)
23
หลักกฎหมาย
• หากบุคคลอื่นนาทรัพย์สินมาจานองประกันหนี้ลูกหนี้ช้ นั ต้น
เจ้าหนี้ผรู ้ ับจานองดังกล่าวไม่ใช่เจ้าหนี้มีประกัน ตามนิยามของ
มาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
(ฎ.๑๕๕๐/๒๕๑๓)
24
จานา
• ป.พ.พ. มาตรา ๗๔๗ อันว่าจานานั้นคือ สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง
เรี ยกว่าผู้จานา ส่ งมอบสังหาริ มทรัพย์สิ่งหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคน
หนึ่งเรี ยกว่าผู้รับจานา เพื่อเป็ นประกันการชาระหนี้
25
สิ ทธิยดึ หน่ วง
• บรรพ ๒ ส่ วนที่ ๕
• มาตรา ๒๔๑ ผูใ้ ดเป็ นผูค้ รองทรัพย์สินของผูอ้ ื่น และมีหนี้อนั
เป็ นคุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่ งครองนั้นไซร้ ท่าน
ว่าผูน้ ้ นั จะยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้ชาระหนี้กไ็ ด้ แต่
ความที่กล่าวนี้ท่านมิให้ใช้บงั คับ เมื่อหนี้น้ นั ยังไม่ถึงกาหนด
26
มาตรา ๒๖๖
• ผู้ให้ เช่ าอสั งหาริมทรัพย์ หรือเจ้ าสานักโรงแรม โฮเต็ล หรือ
สถานทีเ่ ช่ นนั้น จะใช้บุริมสิ ทธิของตนบังคับทานองเดียวกับผูร้ ับ
จานาก็ได้ บทบัญญัติท้ งั หลายแห่งประมวลกฎหมายนี้วา่ ด้วยการ
บังคับจานานั้น ท่านให้นามาใช้บงั คับด้วยโดยอนุโลม
27
ข้ อสอบผู้ช่วยผู้พพิ ากษา (สนามใหญ่ )
วันที่ ๑๕ มิ.ย.๕๖
การทีจ่ ะพิจารณาว่ าโจทก์ มีฐานะเป็ นเจ้ าหนีม้ ีประกันหรือไม่
จะต้ องพิจารณาในวันที่โจทก์ ยนื่ ฟ้องคดีล้มละลายต่ อศาล เมื่อ
ปรากฏว่าก่อนที่โจทก์จะยืน่ ฟ้ องคดีน้ ี โจทก์ได้ดาเนินการบังคับ
คดีแพ่งโดยนาจบค.ยึดทรัพย์จานองที่ดินของจาเลยออกขาย
ทอดตลาดแล้ว เมื่อมีการขายทอดตลาดทรัพย์จานองเนื่องจาก
การฟ้ องบังคับจานองแล้ว จานองย่อมระงับไปตาม ป.พ.พ. ม.
๗๔๔ ดังนั้น ในวันที่โจทก์ยนื่ ฟ้ อง โจทก์จึงมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้
ไม่มีประกัน ไม่จาต้องปฏิบตั ิตาม พรบ.ล้มฯ ม. ๑๐ แต่อย่างใด
แม้ต่อมาภายหลังจากที่โจทก์ยนื่ ฟ้ องคดีน้ ี ศาลแพ่งกรุ งเทพใต้จะมี
คาสัง่ ให้เพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย์ดงั กล่าว ก็หาทาให้
โจทก์มีฐานะเป็ นเจ้าหนี้มีประกันในวันที่โจทก์ยนื่ ฟ้ องคดี
ล้มละลายแต่อย่างใด (ฎ. ๕๖๐๒/๒๕๕๒)
หมวด ๑
ส่ วนที่ ๑ การขอให้ ล้มละลายและการสั่ งพิทักษ์ ทรัพย์
• มาตรา ๗, มาตรา ๙
• มาตรา ๙ (๑) ประกอบมาตรา ๘
• มาตรา ๘ (๕), (๙) , ประเด็นเรื่องการสื บทรัพย์
การพิจารณาถึงฐานะหรือข้ อเท็จจริงอันเป็ นข้ อสั นนิษฐานว่ ามี
หนีส้ ิ นล้ นพ้นตัวตามมาตรา ๘ จะต้ องเป็ นข้ อเท็จจริงต่ างๆ ทีม่ ีอยู่
แล้ วในเวลาที่โจทก์ ฟ้องคดีล้มละลาย (ฎ.๗๙๘/๒๕๕๓)
30
กรณี ที่เจ้าหน้าที่ไปรษณี ยไ์ ม่สามารถส่ งหนังสื อทวงหนี้ให้แก่
ลูกหนี้ได้เพราะลูกหนี้หลีกเลี่ยงไม่ไปรับหนังสื อดังกล่าวภายใน
กาหนดก็ดี หรื อมีผรู้ ับหนังสื อทวงถามไว้แทนลูกหนี้กด็ ี ถือได้
ว่าลูกหนี้ได้รับหนังสื อทวงถามตามความหมายของมาตรา ๘(๙)
แล้ว (ฎ.๗๙๙๔/๒๕๕๓)
ม. ๘(๙) (ฎ.๗๙๐/๒๕๑๐)
“ซึ่งมีระยะเวลาห่างกันไม่นอ้ ยกว่าสามสิ บวัน”
32
มาตรา ๙(๒) ในกรณีทเี่ ป็ นลูกหนีร้ ่ วม
นาย ก. (ลูกหนีช้ ้ันต้ น)
ธนาคารกรุงไทย
นาย ข. (ลูกหนีร้ ่ วมหรือผู้คา้ ประกัน)
33
มาตรา ๙(๒) ในกรณีทเี่ ป็ นลูกหนีร้ ่ วม + ม. ๑๔
• ป.พ.พ.มาตรา ๒๙๑
• ถ้าบุคคลหลายคนจะต้องทาการชาระหนี้โดยทานองซึ่ งแต่ละคน
จาต้องชาระหนี้สิ้นเชิงไซร้ แม้ถึงว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะได้รับชาระ
หนี้ได้แต่เพียงครั้งเดียว (กล่าวคือ ลูกหนี้ร่วมกัน) ก็ดี
เจ้ าหนีจ้ ะเรียกชาระหนีจ้ ากลูกหนีแ้ ต่ คนใดคนหนึง่ สิ้นเชิงหรือ
แต่ โดยส่ วนก็ได้ ตามแต่ จะเลือก แต่ ลูกหนีท้ ้งั ปวงก็ยงั คงต้ องผูก
ผันอยู่ทวั่ ทุกคนจนกว่ าหนีน้ ้ันจะได้ ชาระเสร็จสิน้ เชิง
34
ป.พ.พ.ม.๒๙๖
• ในระหว่างลูกหนีร้ ่ วมกันทั้งหลายนั้น ท่านว่า
ต่ างคนต่ างต้ องรับผิดเป็ นส่ วนเท่ าๆ กัน เว้นแต่
จะได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น
35
หลักกฎหมายจาก
ฎ. ๕๘๒๒/๔๖, ๔๒๘๗/๔๓,๓๗๗๘/๔๒
• กรณีเป็ นลูกหนีร้ ่ วม การพิจารณาว่าลูกหนี้ร่วมคนใดมีหนี้สินล้น
พ้นตัวไม่สามารถชาระหนี้ได้หรื อไม่น้ นั เป็ นเรื่ องเฉพาะตัวของ
ลูกหนีร้ ่ วมแต่ ละคน จึงต้องพิจารณาเฉพาะตัวลูกหนี้ร่วมผูน้ ้ นั ว่า
มีหนี้สินล้นพ้นตัวหรื อไม่เท่านั้น ไม่เกี่ยวกับลูกหนี้ร่วมคนอื่น
36
อย่ างไรก็ตาม (ฎ.๑๕๙๓/๒๕๔๘)
• หนี้ที่สามีภริ ยาเป็ นลูกหนี้ร่วมกัน ตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๔๙๐ (๑) - (๔)
ให้ชาระหนี้น้ นั จากสิ นสมรสและสิ นส่ วนตัวของทั้งสองฝ่ าย
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๘๙
• เมื่อหนี้ตามคาพิพากษาเป็ นหนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากกิจการค้าอันเป็ นการ
งานที่จาเลยทั้งสองทาด้วยกันระหว่างสมรส แม้มีชื่อจาเลยที่ ๑ เป็ น
ผูถ้ ือกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินและเป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาเพียงลาพังก็ตาม
แต่กเ็ ป็ นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างการสมรสของจาเลยทั้งสอง จึงเป็ น
สิ นสมรสของจาเลยทั้งสอง ที่ยงั ไม่มีการแบ่งแยกและต้องนามาชาระหนี้
ที่โจทก์นามาเป็ นมูลฟ้ องคดีน้ ีตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๘๙, ๑๔๙๐(๓)
37
มาตรา ๙(๓)
• หนี้น้ นั อาจกาหนดจานวนได้โดยแน่นอน ไม่วา่ หนี้น้ นั จะถึง
กาหนดชาระโดยพลันหรื อในอนาคตก็ตาม เช่น หนี้ตามสัญญากู้
เงิน/กูเ้ บิกเงินเกินบัญชี/ตัว๋ เงิน
• หนีต้ ามคาพิพากษา แม้คาพิพากษาจะยังไม่ถึงที่สุด แต่คู่ความก็
ต้องผูกผันในผลของคาพิพากษาจนกว่าคาพิพากษานั้นจะถูก
เปลี่ยนแปลง แก้ไข กลับ หรื องดเสี ย ตาม ป.วิ.พ. ม. ๑๔๕ วรรค
หนึ่ง จึงถือว่าเป็ นหนี้ที่กาหนดจานวนได้โดยแน่นอน (๒๔/๓๖)
• ตัวอย่ าง หนี้ค่าปรับ (ฎ.๒๖๕๓/๒๕๒๖)
• หนี้ภาษีอากรที่ยงั ไม่ได้แจ้งผูร้ ับประเมิน (ฎ.๑๕๓๒/๓๗, ๒๔๕๙/๔๔)
38
หลักเกณฑ์ การฟ้ องล้มละลายของเจ้ าหนีม้ ีประกัน
• มาตรา ๑๐ (๑)
• มาตรา ๑๐ (๒)
39
• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
• มาตรา ๒๑๔ ภายใต้บงั คับบทบัญญัติแห่งมาตรา ๗๓๓
เจ้ าหนีม้ สี ิ ทธิทจี่ ะให้ ชาระหนีข้ องตนจากทรัพย์ สินของ
ลูกหนีจ้ ากทรัพย์ สินของลูกหนีจ้ นสิ้นเชิง รวมทั้งเงินและ
ทรัพย์สินอื่นๆ ซึ่ งบุคคลภายนอกค้างชาระแก่ลูกหนี้ดว้ ย
40
มาตรา ๗๓๓
• ถ้าเอาทรัพย์จานองหลุดและราคาทรัพย์สินนั้นมี
ประมาณต่ากว่าจานวนเงินที่คา้ งชาระกันอยูก่ ด็ ี หรื อ
ถ้ าเอาทรัพย์ สินซึ่งจานองออกขายทอดตลาดใช้ หนี้
ได้ เงินจานวนสุ ทธิน้อยกว่ าจานวนเงินทีค่ ้ างชาระกัน
อยู่กด็ ี เงินยังขาดจานวนอยู่เท่ าใดลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับ
ผิดในเงินนั้น
41
มาตรา ๗๖๗
• เมือ่ บังคับจานาได้ เงินจานวนสุ ทธิเท่ าใด ท่านว่าผูร้ ับจานา
ต้องจัดสรรชาระหนี้และอุปกรณ์เพื่อให้เสร็ จสิ้ นไปและถ้า
ยังมีเงินเหลือก็ตอ้ งส่ งคืนให้แก่ผจู ้ านาหรื อแก่บุคคลผูค้ วร
จะได้เงินนั้น
• ถ้ าได้ เงินน้ อยกว่ าจานวนค้ างชาระ ท่ านว่ าลูกหนีก้ ย็ งั คง
ต้ องรับใช้ ในส่ วนทีข่ าดอยู่น้ัน
42
มาตรา ๑๑ การถอนฟ้อง
๑. ถอนฟ้ องได้เฉพาะในศาลชั้นต้นเท่านั้น (ฎ.๑๖๓๖/๒๕๓๒)
๒. เมื่อศาลชั้นต้นมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาดแล้ว
โจทก์จะขอถอนฟ้ องจาเลยไม่ได้ เพราะศาลได้มีคาสัง่ วินิจฉัย
ประเด็นแห่งคดีแล้ว (ฎ.๓๒๘๖/๒๕๓๐)
• มาตรา ๑๒ การรวมพิจารณา
43
มาตรา ๑๓ การพิจารณาพิพากษา
• คดีลม้ ละลายจาเลยจะยืน่ คาให้การหรื อไม่ยนื่ ก็ได้ ไม่ มีกรณีที่จะ
ถือว่ าจาเลยขาดนัดยืน่ คาให้ การ
• แต่หากจาเลยประสงค์จะยืน่ คาให้การ จะต้องยืน่ ก่อนวัน
พิจารณา การที่จาเลยมายืน่ คาให้การภายหลังสื บพยานโจทก์
เสร็ จแล้ว ศาลชั้นต้นชอบที่จะไม่อนุญาตให้จาเลยยืน่ คาให้การ
(ฎ.๕๙๗/๒๕๒๓, ๓๐๒๖/๒๕๕๑)
• แต่หากจาเลยไม่มาศาลในวันนัดพิจารณา ศาลจะสัง่ ว่าจาเลยขาด
นัดพิจารณาตาม ป.วิ.พ. ม.๒๐๐ ประกอบพรบ.จัดตั้งฯ ม. ๑๔
44
มาตรา ๑๔ คาสั่ งพิทกั ษ์ ทรัพย์ ของลูกหนีเ้ ด็ดขาดหรือ
คาพิพากษายกฟ้ อง
เหตุอนื่ ทีไ่ ม่ ควรให้ ลูกหนีล้ ้มละลาย เช่ น
๑. หนีต้ ามฟ้ องโจทก์ ขาดอายุความ จึงเป็ นหนี้ที่เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิ ที่
จะได้รับชาระหนี้ตามมาตรา ๙๔(๑) (ฎ.๗๑/๒๒, ๕๓๕๕/๓๐,
๘๗๑๖/๕๐)
แม้ จาเลยจะมิได้ ยกข้ อต่ อสู้ ว่าฟ้ องโจทก์ ขาดอายุความ เมื่อทาง
พิจารณาได้ความหนี้ตามฟ้ องโจทก์ขาดอายุความ จึงเป็ นหนี้ที่
เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิที่จะได้รับชาระหนี้ตามมาตรา ๙๔(๑) ศาลย่อม
พิพากษายกฟ้ องโจทก์เสี ยได้
45
อายุความ
• มาตรา ๑๙๓/๙ สิ ทธิเรี ยกร้องใดๆ ถ้ ามิได้ ใช้ บังคับภายใน
ระยะเวลาทีก่ ฎหมายกาหนด สิ ทธิ เรี ยกร้องนั้นเป็ นอันขาด
อายุความ
• มาตรา ๑๙๓/๑๐ สิ ทธิเรี ยกร้องที่ขาดอายุความ ลูกหนีม้ ี
สิ ทธิทจี่ ะปฏิเสธการชาระหนีต้ ามสิ ทธิเรี ยกร้องนั้นได้
46
อายุความ (ต่ อ)
• มาตรา ๑๙๓/๑๒ อายุความให้ เริ่มนับแต่ ขณะทีอ่ าจบังคับสิ ทธิ
เรียกร้ องได้ เป็ นต้ นไป ถ้าเป็ นสิ ทธิเรี ยกร้องให้งดเว้นกระทาการ
อย่างใด ให้เริ่ มนับแต่เวลาแรกที่ฝ่าฝื นกระทาการนั้น
• มาตรา ๑๙๓/๒๙ เมื่อไม่ ได้ ยกอายุความขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ ศาลจะ
อ้ างเอาอายุความมาเป็ นเหตุยกฟ้ องไม่ ได้
• มาตรา ๑๙๓/๓๐ อายุความนั้น ถ้าประมวลกฎหมายนี้หรื อ
กฎหมายอื่นมิได้บญั ญัติไว้โดยเฉพาะ ให้ มีกาหนดสิ บปี
47
เหตุอนื่ ทีไ่ ม่ ควรให้ ลูกหนีล้ ้ มละลาย (ต่ อ)
๒. สิ ทธิเรี ยกร้องตามคาพิพากษาที่ล่วงเลยระยะเวลาในการบังคับ
คดีตาม ป.วิ.พ. ม.๒๗๑ ไม่อาจนามาฟ้ องลูกหนี้ตามคาพิพากษา
ได้ (ฎ.๒๙๐๐/๒๕๔๓, ๗๒๕๘/๒๕๔๐)
๓. ความสามารถของลูกหนี้ในการชาระหนี้ เช่น จาเลยเป็ น
ข้าราชการ อยูใ่ นฐานะที่สามารถชาระหนี้โจทก์ได้ (ฎ.๒๒๖๐/
๒๕๑๙)
48
คาถาม
• ฟ้ องแพ่งแล้วจนเป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา แต่บงั คับชาระหนี้ยงั
ได้ไม่ครบจานวนมาฟ้ องล้มฯ เป็ นฟ้ องซ้ าหรื อไม่
49
ป.วิ.พ.ม.๑๔๘
• คดีที่ได้มีคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ถึงทีส่ ุ ดแล้ว ห้าม
มิให้คู่ความเดียวกันรื้ อร้องฟ้ องกันอีก
ในประเด็นทีไ่ ด้ วนิ ิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่ าง
เดียวกัน เว้นแต่…
50
คาตอบ
• การที่โจทก์นามูลหนี้ที่เคยฟ้ องลูกหนี้เป็ นคดีแพ่งและคดีถึงที่สุด
แล้วมาฟ้ องเป็ นคดีลม้ ละลาย ไม่เป็ นฟ้ องซ้ า เพราะคดีแพ่งซึ่งถึง
ที่สุดแล้วนั้น เป็ นเรื่ องชี้ขาดว่ า จาเลยเป็ นลูกหนีโ้ จทก์ หรือไม่
ส่ วนคดีล้มละลายมีประเด็นว่ า เมื่อจาเลยเป็ นลูกหนี้โจทก์ตามคา
พิพากษาแล้ว จาเลยเป็ นบุคคลมีหนีส้ ิ นล้ นพ้นตัว ควรตกเป็ น
บุคคลล้ มละลายหรือไม่ การวินิจฉัยคดีท้ งั สองนี้มิได้อาศัยเหตุ
อย่างเดียวกัน (ฎ. ๙๑/๒๕๐๗)
51
ป.วิ.พ.ม.๑๔๔
• เมื่อศาลใดมีคาพิพากษา หรือคาสั่ งวินิจฉัยชี้ขาดคดี
หรือในประเด็นข้ อใดแห่ งคดีแล้ ว ห้ ามมิให้ ดาเนิน
กระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกีย่ วกับคดีหรือ
ประเด็นที่ได้ วนิ ิจฉัยชี้ขาดแล้ วนั้น…
52
คาถาม
• การที่โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาให้จาเลยเป็ นบุคคลล้มละลาย
แล้ว ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เป็ นการนอกเหนือจากคา
ขอตามฟ้ องตามปวิพ. ม. ๑๔๒ หรื อไม่
53
ป.วิ.พ.ม. ๑๔๒
• คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลที่ช้ ีขาดคดีตอ้ งตัดสิ น
ตามข้อหาในคาฟ้ องทุกข้อ แต่ห้ามมิให้ พพิ ากษาหรือ
ทาคาสั่ งให้ สิ่งใดๆ เกินไปกว่ าหรือนอกจากที่ปรากฏ
ในคาฟ้ อง เว้นแต่…
54
คาตอบ
• ไม่เป็ นการนอกเหนือ เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาตาม
ขั้นตอนของกฎหมายล้มละลาย (ฎ. ๒๖๖๐/๒๕๓๑)
55
ข้ อสั งเกต
• พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ เป็ นกฎหมายที่เกีย่ ว
ด้ วยความสงบเรียบร้ อยของประชาชนเพราะมีผลในทางตัดสิ ทธิ
และเสรี ภาพของผูท้ ี่ถูกศาลมีคาสั่งพิทกั ษ์ทรัพย์และพิพากษาให้
ล้มละลาย ดังนั้น ศาลจะไม่เคร่ งครัดในการนาสื บพยานหลักฐาน
ของฝ่ ายลูกหนี้หรื อจาเลย แม้วา่ จะฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติแห่ง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งบ้างก็ตาม ถ้าศาลเห็นว่า
เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม เพื่อให้ได้ความจริ งตามม. ๙
หรื อ ม. ๑๐ หรื อว่ามีเหตุอื่นอันควรให้ลูกหนี้ลม้ ละลายหรื อไม่
ตามม. ๑๔ ศาลก็มีอานาจรับฟังพยานหลักฐานเช่นว่านั้นได้
56
ป.วิ.พ.ม.๘๗
ห้ ามมิให้ ศาลรับฟังพยานหลักฐานใด เว้ นแต่
(๑) พยานหลักฐานนั้นเกี่ยวถึงข้อเท็จจริ งที่คู่ความฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใด
ในคดีจะต้องนาสื บ และ
(๒) คู่ความฝ่ ายทีอ่ ้ างพยานหลักฐานได้ แสดงความจานงทีจ่ ะอ้ าง
พยานหลักฐานนั้นดังทีบ่ ัญญัติไว้ ในมาตรา ๘๘ และ ๙๐ แต่ถา้
ศาลเห็นว่า เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม จาเป็ นจะต้องสื บ
พยานหลักฐานอันสาคัญซึ่งเกี่ยวกับประเด็นข้อสาคัญในคดี โดย
ฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติของอนุมาตรานี้ ให้ศาลมีอานาจรับฟัง
พยานหลักฐานเช่นว่านั้นได้
57
ป.วิ.พ.ม.๘๘
• เมื่อคู่ความฝ่ ายใดมีความจานงที่จะอ้างอิงเอกสารฉบับใดหรื อคา
เบิกความของพยานคนใด หรื อมีความจานงที่จะให้ศาลตรวจ
บุคคล วัตถุ สถานที่ หรื ออ้างอิงความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญที่ศาล
ตั้งหรื อความเห็นของผูม้ ีความรู้เชี่ยวชาญ เพื่อเป็ น
พยานหลักฐานสนับสนุนข้ออ้างหรื อข้อเถียงของตน
ให้ คู่ความฝ่ ายนั้นยืน่ บัญชีระบุพยานต่ อศาลก่ อนวันสื บพยาน
ไม่ น้อยกว่ าเจ็ดวัน…
58
ป.วิ.พ.ม.๙๔
เมื่อใดมีกฎหมายบังคับให้ ต้องมีพยานเอกสารมาแสดง ห้ามมิให้
ศาลยอมรับฟังพยานบุคคลในกรณี อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
แม้ถึงว่าคู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้ยนิ ยอมก็ดี
(ก) ขอนาสื บพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไม่สามารถนา
เอกสารมาแสดง
(ข) ขอสื บพยานบุคคลประกอบข้ออ้างอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อได้นา
เอกสารมาแสดงแล้วว่า ยังมีขอ้ ความเพิ่มเติม ตัดทอน หรื อ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในเอกสารนั้นอยูอ่ ีก…
59
หลักกฎหมาย
จากฎีกาที่ ๘๕๐/๒๕๓๔, ๙๒๓๗/๒๕๓๙
• แม้ จาเลยจะมิได้ ยนื่ บัญชีพยานได้ ไว้ ซึ่งขัดต่ อป.วิ.พ. มาตรา
๘๘ หรือ การทีจ่ าเลยจะนาพยานบุคคลมาสื บเปลีย่ นแปลงแก้ ไข
พยานเอกสาร ซึ่งขัดต่ อ ป.วิ.พ. มาตรา ๙๔ ศาลมีอานาจรับฟัง
พยานหลักฐานเช่นว่านั้นได้ เพราะพ.ร.บ.ล้มละลายเป็ นกฎหมาย
ที่เกี่ยวด้วยความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน มีผลในทางตัด
สิ ทธิและเสรี ภาพของผูท้ ี่ถูกพิพากษาให้ลม้ ละลาย ศาลต้ อง
พิจารณาเอาความจริงตามมาตรา ๑๔ ว่ ามีเหตุอนั สมควรให้
ลูกหนีล้ ้ มละลายหรือไม่ และจาเลยมีหนีส้ ิ นล้ นพ้นตัวหรือไม่
60
ข้ อสั งเกต (ต่ อ)
• กรณี จาเลยยืน่ บัญชีระบุพยานเพิม่ เติมล่วงเลยระยะเวลาที่
กฎหมายกาหนด (ฎ.๓๖๐๖/๓๒, ๗๘๒๓/๓๘)
• กรณี จาเลยมิได้ส่งสาเนาเอกสารให้อีกฝ่ ายหนึ่งภายในกาหนดที่
กฎหมายกาหนด (ฎ.๑๘๐๔/๓๒)
• นอกจากนี้ ข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายที่จาเลยจะยกขึ้นอ้างใน
ชั้นอุทธรณ์ แม้ ว่าจะมิได้ ยกขึน้ ว่ ากันมาแล้ วโดยชอบในศาล
ชั้นต้ นก็ไม่ ต้องห้ าม (ฎ.๔๗๑/๒๕๔๒, ๗๖๑/๒๕๔๔)
61
คาถาม
• เมื่อศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด จาเลยจะขอทุเลาการ
บังคับตามคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดตาม ปวิพ.ม. ๒๓๑
ได้หรื อไม่?
62
ป.วิ.พ.ม.๒๓๑
• การยืน่ อุทธรณ์ ย่อมไม่ เป็ นการทุเลาการบังคับตามคา
พิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลชั้นต้น แต่คู่ความที่ยนื่ อุทธรณ์
อาจยืน่ คาขอต่อศาลอุทธรณ์ไม่วา่ เวลาใดๆ ก่อนพิพากษา
โดยทาเป็ นคาร้ องชี้แจงเหตุผลอันสมควรแห่งการ
ขอให้ ศาลอุทธรณ์ ทุเลาการบังคับไว้
63
คาตอบ
• ไม่ได้ เมื่อมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ย่อมเป็ นอานาจของเจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ในการที่จะเข้าจัดกิจการและทรัพย์สินของ
จาเลย ประกอบกับกระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลาย จะต้องดาเนิน
เป็ นการด่วนตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา ๑๓ (ฎ.๔๐/๒๕๔๓)
64
ม. ๑๗ คาสั่ งพิทักษ์ ทรัพย์ ชั่วคราว + ม. ๒๔, ๑๙
• การพิทกั ษ์ ทรัพย์ ชั่วคราว จะต้ องขอก่ อนศาลชั้นต้ น มีคาสั่ ง
พิทกั ษ์ ทรัพย์ เด็ดขาดเท่ านั้น เพราะโดยกฎหมายบัญญัติให้ศาล
ทาการไต่สวนฟังว่าคดีของโจทก์มีมูลหรื อไม่เสี ยก่อนที่จะสัง่
พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ชวั่ คราว เพราะถ้ าได้ ผ่านการพิจารณา
ของศาลชั้นต้ นไปจนศาลชั้นต้ นมีคาสั่ งพิทกั ษ์ ทรัพย์ เด็ดขาด
หรือมีคาพิพากษาแล้ ว กรณีกไ็ ม่ จาเป็ นต้ องทาการไต่ สวนฟังว่ า
มีมูลอีกหรือไม่ อกี ฉะนั้นไม่มีบทบัญญัติให้เจ้าหนี้ผเู้ ป็ นโจทก์
ร้องขอให้พิทกั ษ์ทรัพย์ชวั่ คราวในระหว่างฎีกาได้
(ฎ. ๒๑๔๒/๒๕๑๗)
65
• โจทก์จะขอให้ศาลมีคาสัง่ ยึดหรื ออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ไว้
ชัว่ คราวตามป.วิ.พ.มาตรา ๒๕๔ ไม่ได้ เพราะมีพระราชบัญญัติ
ลัมละลาย มาตรา ๑๗ บัญญัติไว้โดยเฉพาะแล้ว
(๓๗๒๑/๒๕๓๕)
• ภาค ๔ วิธีการชั่วคราวก่ อนพิพากษา และการบังคับตามคา
พิพากษาหรือคาสั่ ง
• ลักษณะ ๑ วิธีการชั่วคราวก่ อนพิพากษา
66
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๒๕๔
• ...โจทก์ชอบที่จะยืน่ ต่อศาลพร้อมคาฟ้ อง หรื อในเวลาใดๆ ก่อน
พิพากษา ซึ่ งคาขอฝ่ ายเดียว ร้องขอให้ศาลมีคาสัง่ ภายในบังคับ
แห่งเงื่อนไข ซึ่ งจะกล่าวต่อไป เพื่อจัดให้มีวธิ ีคมุ ้ ครองใดๆ
ดังต่อไปนี้
(๑) ให้ยดึ หรื ออายัดทรัพย์สินที่พิพาทหรื อทรัพย์สินของจาเลย
ทั้งหมดหรื อบางส่ วนไว้ก่อนพิพากษา รวมทั้งจานวนเงินหรื อ
ทรัพย์สินของบุคคลภายนอกซึ่ งถึงกาหนดชาระแก่จาเลย
67
อย่ างไรก็ตาม
กรณี โจทก์ขอให้ศาลกาหนดวิธีการเพื่อคุม้ ครองประโยชน์ใน
ระหว่างการพิจารณาคดีลม้ ละลาย ตาม ป.วิ.พ. ม. ๒๖๔ ศาลฎีกา
วินิจฉัยว่าโจทก์ขอได้ (คาสัง่ คาร้องศาลฎีกาที่ ๑๔/๒๕๐๖,
๑๗๖๖/๒๕๓๑) (ข้อสอบเนติบณ
ั ฑิตไทย สมัยที่ ๖๕ สอบวันที่
๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖)
ป.วิ.พ. ม.๒๖๔
...คู่ความชอบที่จะยืน่ คาขอต่อศาล เพื่อให้มีคาสัง่ กาหนดวิธีการเพื่อ
คุม้ ครองประโยชน์ของผูข้ อในระหว่างการพิจารณาหรื อเพื่อ
บังคับตามคาพิพากษา เช่น ให้นาทรัพย์สินหรื อเงินที่พิพาทมา
วางต่อศาลหรื อต่อบุคคลภายนอกหรื อให้ต้ งั ผูจ้ ดั การทรัพย์หรื อ
ผูร้ ักษาทรัพย์สินของห้างร้านที่ทาการค้าที่พิพาท...
คาสั่ งคาร้ องศาลฎีกาที่ ๑๔/๒๕๐๖
ข้อเท็จจริ ง ศาลชั้นต้นยกฟ้ องจาเลยที่ ๑ และมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์
ของจาเลยที่ ๒ โจทก์นายึดทรัพย์ของจาเลยที่ ๒ ไว้ ต่อมาศาล
อุทธรณ์พิพากษาแก้ให้ยกฟ้ องจาเลยที่ ๒ ด้วย โจทก์ฎีกาและยืน่
คาร้องว่า เพื่อป้ องกันความเสี ยหายของโจทก์ ขอให้งดการปล่อย
ทรัพย์ของจาเลยที่ ๒ ที่โจทก์นายึดไว้ก่อน ศาลฎีกามีคาสัง่ ว่า ถ้า
โจทก์หาประกันค่าเสี ยหายแก่จาเลยมาให้เป็ นที่พอใจศาลชั้นต้น
ภายในกาหนดที่ศาลชั้นต้นเห็นสมควร ก็ให้ คงยึดทรัพย์ ของ
จาเลยไว้ ต่อไปตามทีข่ อ มิฉะนั้นให้ยกคาร้อง
คาสั่ งคาร้ องศาลฎีกาที่ ๑๗๖๖/๒๕๓๑
ข้อเท็จจริ ง ศาลชั้นต้นมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของจาเลยเด็ดขาด โจทก์
ขออายัดทรัพย์สินของจาเลยไว้ ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับให้ยก
ฟ้ อง โจทก์ฎีกาและยืน่ คาร้องว่า หากจาเลยได้รับทรัพย์สินคืน
ไป จาเลยอาจยักย้ายทรัพย์สินไปให้พน้ อานาจศาล ขอให้งดการ
ถอนการอายัดไว้ก่อน
ศาลฎีกามีคาสัง่ ว่า คาร้องของโจทก์พอแปลได้วา่ โจทก์ขอคุม้ ครอง
ประโยชน์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา ๒๖๔ พิเคราะห์แล้ว เห็นเป็ นการ
สมควร จึงให้ งดการถอนการอายัดทรัพย์ สินของจาเลยไว้
ระหว่ างฎีกา
๒. ผลของคาสั่ งพิทักษ์ ทรัพย์ เด็ดขาด
๑. มาตรา ๒๗, ๙๑, ๙๔ (การยืน่ คาขอรับชาระหนี้ของเจ้าหนี้)
๒. มาตรา ๑๕, ๒๖ (กระทบสิ ทธิในการฟ้ องคดีลม้ ละลายและคดี
แพ่งของเจ้าหนี้)
๓. มาตรา ๑๙, ๒๐, ๑๐๙, ๑๒๓, ๑๔๕(๒), ๔๑ (อานาจ จ.พ.ท.)
๔. มาตรา ๒๔, ๒๒, ๖๑, ๑๑๗ ถึง ๑๒๑ (กระทบอานาจลูกหนี้ใน
การกระทาการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินและเกี่ยวกับอานาจ
จ.พ.ท.)
72
๕. มาตรา ๒๕ (อานาจ จ.พ.ท. เกี่ยวกับคดีแพ่งของลูกหนี้ที่คา้ ง
พิจารณา)
๖. มาตรา ๒๓, ๑๐๙ (กองทรัพย์สินของลูกหนี้)
73
๑. พ.ร.บ.ล้ มฯ ม. ๒๗ ประกอบ ๙๑ ประกอบ ๙๔
• ผลของการที่เจ้ าหนีไ้ ม่ ยนื่ คาขอรับชาระหนี้ภายในกาหนด
• ทาให้เจ้าหนี้รายนั้นไม่ มสี ิ ทธิได้ รับชาระหนีจ้ ากกอง
ทรัพย์สินของลูกหนี้ในระหว่างลูกหนี้อยูภ่ ายใต้ กระบวน
พิจารณาคดีลม้ ละลายและภายหลังหลุดพ้นจากการ
ล้มละลายแล้ว
74
เจ้ าหนีไ้ ม่ มีสิทธิได้ รับชาระหนี้
ในมูลหนีท้ ตี่ นไม่ ได้ ยนื่ คาขอรับชาระหนี้
๑. ลูกหนี้ได้รับการปลดจากล้มละลายเมื่อครบกาหนดสามปี เจ้าหนี้
ไม่มีสิทธิได้รับชาระหนี้ (ม.๗๗)
๒. หากมีการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายหรื อหลังล้มละลายสาเร็ จ
และลูกหนี้ปฏิบตั ิตามคาขอประนอมหนี้ครบถ้วน เจ้าหนี้ไม่มี
สิ ทธิได้รับชาระหนี้ (ม. ๕๙ และม. ๖๓ ประกอบม. ๕๙)
๓. เมื่อมีการยกเลิกการล้มละลายตามม.๑๓๕(๓)(๔) เจ้าหนี้ไม่มี
สิ ทธิได้รับชาระหนี้ (ม.๑๓๖)
75
• เจ้าหนี้รายนั้นไม่มีอานาจฟ้ อง (ฎ.๘๐๖/๒๕๓๘)
• เจ้าหนี้ยอ่ มหมดสิ ทธิ ที่จะบังคับชาระหนี้ตามคาพิพากษา
อีกต่อไป (ฎ.๖๖๒๑/๒๕๓๘)
76
ข้ อยกเว้ นของข้ อยกเว้ น
๑. ม.๗๗ (๑)(๒)
๒. ม.๑๓๖ ประกอบ ม.๑๓๕(๑)(๒)
77
๓. กฎหมายล้ มละลายมีผลเฉพาะต่ อตัวลูกหนีท้ ถี่ ูกฟ้องเป็ นคดี
ล้ มละลายเท่ านั้น หากมีผคู้ ้ าประกันหรื อลูกหนี้ร่วมที่ไม่ได้ถูก
ฟ้ องล้มละลายมาด้วย เจ้าหนี้สามารถฟ้ องบังคับคดีผคู้ ้ าประกัน
หรื อลูกหนี้ร่วมนั้นได้ การที่เจ้าหนี้ไม่ได้ยนื่ คาขอรับชาระหนี้
ทาให้เจ้าหนี้หมดสิ ทธิที่จะเรี ยกร้องให้ลูกหนี้ชาระหนี้เท่านั้น
ส่ วนผูค้ ้ าประกันของลูกนี้ยงั คงต้องรับผิดอยู่ เพราะหนี้ยงั ไม่
ระงับ (ฎ.๑๘๐๘/๒๕๑๒)
78
ป.พ.พ.ม.๖๘๘
• เมื่อเจ้าหนี้ทวงให้ผคู้ ้ าประกันชาระหนี้ ผูค้ ้ าประกันจะขอให้เรี ยก
ลูกหนี้ชาระหนี้ก่อนก็ได้ เว้นแต่ลูกหนี้จะถูกศาลพิพากษาให้เป็ น
คนล้มละลายเสี ยแล้วหรื อไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ไปอยูแ่ ห่งใดใน
พระราชอาณาเขต
• ม.๖๙๘ อันผูค้ ้ าประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดในขณะเมื่อ
หนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้ นไปไม่วา่ เพราะเหตุใดๆ
79
๒.๑ มาตรา ๑๕
๒.๒ มาตรา ๒๖
หนีท้ ี่อาจขอรับชาระหนีใ้ นคดีล้มละลายได้
(โดยยืน่ คาขอรับชาระหนี้ตามม. ๒๗ ประกอบม. ๙๑)
๑) เฉพาะหนี้เงินเท่านั้น ไม่ใช่หนี้กระทาการ
๒) ที่มูลแห่งหนี้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด
ตามมาตรา ๙๔
80
• หากเป็ นหนี้กระทาการ หรื องดเว้นกระทาการ ยืน่ คาขอรับชาระ
หนี้ไม่ได้ เช่น ลูกหนี้ทาสัญญายอมโอนที่ดินให้แก่โจทก์ในคดี
แพ่ง ศาลพิพากษาตามยอมก่อนศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด
โจทก์ในคดีแพ่งมีสิทธิขอให้จพท. ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาตาม
ยอม ตามม. ๒๒(๑), ๑๒๒ ได้ (ฎ. ๑๕๑๗/๒๕, ฎ. ๙๙๐/๐๙)
• ตัวอย่างอื่นๆ เช่น หนี้ตามสัญญาจะซื้อจะขาย หนี้ตามสัญญาเช่า
ซื้ อ สัญญาจ้างทาของ เป็ นต้น
81
ข้ อสอบเนติบัณฑิตไทยสมัย ๖๑ (พ.ศ. ๒๕๕๒)
๑.ในคดีลม้ ละลายเรื่ องหนึ่ง เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๐ ศาล
ล้มละลายกลางมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของนายหมีลูกหนี้เด็ดขาด
ต่อมาวันที่ ๑ สิ งหาคม ๒๕๕๐ เจ้าหนี้รายหนึ่งของลูกหนี้เป็ น
โจทก์ยนื่ ฟ้ องลูกหนี้เป็ นจาเลยต่อศาลจังหวัดสงขลาเป็ นคดีแพ่ง
เรื่ องสัญญาเช่าซื้อว่า เมื่อศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์
ของลูกหนี้เด็ดขาดถือว่าลูกหนี้ผดิ สัญญาเช่าซื้อที่ทาไว้กบั เจ้าหนี้
เจ้ าหนีจ้ งึ ขอบอกเลิกสั ญญาเช่ าซื้อและขอให้ บังคับให้ ลูกหนีส้ ่ ง
มอบรถยนต์ ทเี่ ช่ าซื้อแก่ เจ้ าหนีใ้ นสภาพทีเ่ รียบร้ อยใช้ การได้ ดี
82
ศาลจังหวัดสงขลามีคาสัง่ ว่า พิเคราะห์แล้วข้อเท็จจริ งฟังเป็ นยุติ
ตามที่เจ้าหนี้ฟ้องว่าก่อนฟ้ องคดีน้ ี ศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่
พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด กรณี จึงเป็ นไปตามมาตรา ๒๒,
๒๔ และ ๒๖ แห่งพระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓
ดังนั้น เจ้าหนี้ซ่ ึ งเป็ นโจทก์จึงไม่อาจฟ้ องลูกหนี้ซ่ ึงเป็ นจาเลยคดี
นี้ได้ จึงมีคาสัง่ ไม่รับฟ้ อง จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ คืน
ค่าขึ้นศาลให้โจทก์ท้ งั หมด
ให้ วนิ ิจฉัยว่ า คาสัง่ ไม่รับฟ้ องของศาลจังหวัดสงขลาชอบด้วย
กฎหมายหรื อไม่ เพราะเหตุใด
83
ธงคาตอบ
(คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๖๕๐/๒๕๕๐)
๑. เมื่อเจ้าหนี้เป็ นโจทก์ฟ้องลูกหนี้เป็ นจาเลยว่าผิดสัญญาเช่าซื้อ
โดยโจทก์บอกเลิกสัญญาและเรี ยกให้จาเลยส่ งมอบรถยนต์ที่เช่า
ซื้อคืนแก่โจทก์ ถือว่ าจาเลยโต้ แย้ งสิ ทธิของโจทก์ แล้ ว โจทก์ยอ่ ม
มีอานาจฟ้องจาเลยต่อศาลที่มีเขตอานาจเพื่อติดตามทรัพย์สิน
ของโจทก์คืนได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตา ๕๕ แม้พระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา
๒๒ และ ๒๔ จะบัญญัติวา่ เมื่อศาลสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้
แล้ว เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แต่เพียงผูเ้ ดียวมี
84
• อานาจจัดการและจาหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี้ ฟ้ องร้องหรื อ
ต่อสู้คดีใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ และห้ามมิให้ลูกหนี้
กระทาการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินหรื อกิจการของตนดังที่ศาล
ชั้นต้นวินิจฉัยก็ตาม แต่ มาตรา ๒๖ แห่ งพระราชบัญญัติดงั กล่ าว
ก็บัญญัติว่า “ตราบใดทีศ่ าลยังมิได้ สั่งพิทักษ์ ทรัพย์ ของลูกหนี้
เด็ดขาด เจ้ าหนีจ้ ะฟ้ องคดีแพ่งอันเกีย่ วกับหนีซ้ ึ่งอาจขอรับชาระ
ได้ ตามพระราชบัญญัติหนีก้ ไ็ ด้...” ดังนี้ จะเห็นได้วา่ บทบัญญัติ
ดังกล่าวห้ามมิให้เจ้าหนี้ฟ้องลูกหนี้ที่ถูกพิทกั ษ์ทรัพย์
85
เด็ดขาดเป็ นคดีเฉพาะหนี้ที่อาจขอรับชาระหนี้ในคดีลม้ ละลาย
เท่านั้น เมื่อเจ้ าหนีฟ้ ้ องขอให้ บงั คับให้ ลูกหนีส้ ่ งมอบรถยนต์ ที่เช่ า
ซื้อซึ่งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ของเจ้ าหนีค้ นื โดยมิได้ เรียกร้ องค่ าเสี ยหาย
อืน่ จากลูกหนี้ เป็ นการขอให้ บังคับลูกหนีช้ าระหนีส้ ่ งมอบทรัพย์
เฉพาะสิ่ งและเป็ นการใช้ สิทธิติดตามเอาทรัพย์ ของเจ้ าหนีค้ นื เป็ น
หนีท้ มี่ ิอาจขอรับชาระหนีใ้ นคดีล้มละลายได้ เจ้าหนี้รายดังกล่าว
ย่อมมีอานาจฟ้ องลูกหนี้เป็ นคดีต่อศาลได้ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณา
86
ความแพ่งมาตรา ๕๕ ประกอบพระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ.
๒๔๘๓ มาตรา ๒๖
คาสัง่ ไม่รับฟ้ องของศาลจังหวัดสงขลาจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย
87
๓. มาตรา ๑๙
• มาตรา ๑๙ ว.หนึ่ง เปรี ยบเทียบ ปวิพ.ม. ๒๗๘ ม. ๑๙ ว.สอง
เปรี ยบเทียบ ป.วิ.พ.ม.๒๗๙ ว.สอง
• ป.วิ.พ.ม.๒๗๘...ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอานาจในฐานะเป็ น
ผูแ้ ทนเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาในอันที่จะรับชาระหนี้หรื อ
ทรัพย์สินที่ลูกหนี้นามาวางและออกใบรับให้กบั มีอานาจที่จะยึด
หรื ออายัดและยึดถือทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคาพิพากษาไว้และ
มีอานาจที่จะเอาทรัพย์สินเช่นว่านี้ออกขายทอดตลาด ทั้งมี
อานาจที่จะจาหน่ายทรัพย์สินหรื อเงินรายได้จากการนั้น...
88
ป.วิ.พ.ม.๒๗๙
• วรรคสอง ในการที่จะดาเนินการบังคับคดี
เจ้าพนักงานบังคับคดียอ่ มมีอานาจเท่าทีม่ ีความ
จาเป็ นเพื่อที่จะค้นสถานที่ใดๆ อันเป็ นของลูกหนี้
ตามคาพิพากษาหรื อที่ลกู หนี้ตามคาพิพากษาได้
ปกครองอยู.่ ..
89
คาถาม คาว่ า ยึด รวมถึงอายัดด้ วยหรือไม่ ?
• คาตอบ อานาจในการยึดทรัพย์ ของลูกหนีต้ ามาตรา ๑๙ นี้
รวมถึงการอายัดสิ ทธิเรียกร้ องของลูกหนีด้ ้ วย (ฎ.๕๙๓/๒๕๐๙)
• ยึด: อสั งหาริมทรัพย์ และ สั งหาริมทรัพย์
• อายัด: สิ ทธิเรียกร้ อง เช่ น เงินเดือน เงินในบัญชีเงินฝากธนาคาร
สิ ทธิเรียกร้ องทีล่ ูกหนีม้ ีสิทธิเรียกให้ บุคคลภายนอกชาระหนีห้ รือ
ส่ งมอบทรัพย์ สิน เป็ นต้ น
90
๔. ผลตามมาตรา ๒๒ และ ๒๔
• หากลูกหนีก้ ระทาการใดๆ เช่น ซื้อขาย สัง่ จ่ายเช็ค จานอง
โดยฝ่ าฝื นบทบัญญัติ ม. ๒๒, ๒๔ การกระทาดังกล่าวไม่
ก่อให้เกิดผลบังคับ ตกเป็ นโมฆะ ไม่มีผลบังคับ คู่กรณี ตอ้ ง
กลับคืนสู่ฐานะเดิม โดยผลของกฎหมาย (ฎ.๑๘๙๗/๒๕๓๐,
๖๐๖๖/๒๕๓๙, ๔๘๕๑/๒๕๔๕)
• อย่ างไรก็ตาม บทบัญญัติมาตรา ๒๔ ไม่ได้หา้ มลูกหนี้ที่ถูก
พิทกั ษ์ทรัพย์จดั การทรัพย์สินของผูอ้ ื่นหรื อกระทากิจการแทน
ผูอ้ ื่น เช่น กระทาในฐานะผูแ้ ทนของนิติบุคคล
(ฎ.๔๘๕๖/๒๕๓๓)
91
พ.ร.บ.ล้ มฯ ม. ๒๔
• ป.พ.พ.ม.๑๗๒ โมฆะกรรมนั้นไม่อาจให้สตั ยาบันแก่กนั ได้และ
ผูม้ ีส่วนได้เสี ยคนหนึ่งคนใดจะยกความเสี ยเปล่าแห่งโมฆะกรรม
ขึ้นกล่าวอ้างก็ได้
• ถ้าจะต้องคืนทรัพย์อนั เกิดจากโมฆะกรรม ให้นาบทบัญญัติวา่
ด้วยลาภมิควรได้แห่งประมวลกฎหมายนี้มาใช้บงั คับ
92
ป.พ.พ.
• ม.๔๑๒ ถ้าทรัพย์สินซึ่งได้รับไว้เป็ นลาภมิควรได้น้ นั เป็ นเงิน
จานวนหนึ่ง ท่านว่าต้องคืนเต็มจานวนนั้น เว้นแต่เมื่อบุคคล
ได้รับไว้โดยสุ จริ ต จึงต้องคืนลาภมิควรได้เพียงส่ วนที่ยงั มีอยู่
ในขณะเมื่อเรี ยกคืน
• ม.๔๑๓ ถ้าเป็ นทรัพย์สินอย่างอื่นนอกจากเงิน หากสุ จริ ต คืน
เพียงตามสภาพที่เป็ นอยู่ และมิตอ้ งรับผิดชอบในการทีท่ รัพย์สิน
นั้นสูญหายหรื อบุบสลาย แต่หากได้ค่าสิ นไหมทดแทนเพือ่ การ
นั้น ต้องให้ไปด้วย หากทุจริ ต ต้องรับผิดในการสูญหายหรื อบุบ
สลายเต็มภูมิ แม้จากเหตุสุดวิสยั
93
มาตรา ๒๒
• อานาจเกิดขึ้นทันทีโดยผลของกฎหมาย จะขอทุเลาการบังคับไว้
ไม่ได้ (ฎ. ๗๖๐/๒๕๓๐)
• มาตรา ๒๒(๑) ต้ องอ่ าน ม. ๑๒๐ ประกอบ
• ถ้าลักษณะแห่งธุรกิจของลูกหนี้มีเหตุอนั สมควรทีจ่ ะดาเนิน
ต่อไป เมื่อได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมเจ้าหนี้แล้ว จพท.
จะดาเนินธุรกิจของลูกหนี้น้ นั เอง เพื่อชาระสะสางธุรกิจนั้นให้
เสร็ จไป หรื อจะตั้งบุคคลใดหรื อลูกหนี้เป็ นผูจ้ ดั การโดยกาหนด
อานาจหน้าที่ไว้กไ็ ด้
94
ตัวอย่ าง ตามมาตรา ๒๒ (๑) (ฎ.๔๑๑๔/๒๕๒๘)
• ประเด็นในการพิจารณา
๑. เมื่อนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชย
๒. เมื่อลูกจ้างมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้จึงต้องยืน่ คาขอรับชาระหนี้ตามม.
๙๑ ประกอบม.๙๔?
๓. หากลูกหนี้ฟ้องเรี ยกค่าชดเชยจะเป็ นการฟ้ องคดีแพ่งอันเกี่ยวกับ
หนี้ซ่ ึงอาจขอรับชาระได้ตอ้ งห้ามตามม.๒๖ หรื อไม่?
๔. หากฟ้ องได้จะฟ้ องใครเป็ นจาเลย ลูกหนี้หรื อจ.พ.ท.ของลูกหนี้
95
ผลตามพ.ร.บ.ล้มฯ ม. ๒๒ (๑)
• “ค่ าชดเชย” หมายความว่า เงินที่นายจ้ างจ่ ายให้แก่ลูกจ้าง
เมือ่ เลิกจ้ าง นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่งนายจ้างตกลง
จ่ายให้แก่ลูกจ้าง
• มาตรา ๑๑๘ ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึ่ งเลิก
จ้างดังต่อไปนี้
96
• การเลิกจ้ างตามมาตรานี้ หมายความว่า การกระทาใดที่
นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทางานต่อไปและไม่จ่ายค่าจ้างให้ ไม่
ว่าจะเป็ นเพราะเหตุสิ้นสุ ดสัญญาจ้างหรื อเหตุอนื่ ใด และ
หมายความรวมถึงกรณี ที่ลกู จ้างไม่ได้ทางานและไม่ได้รับ
ค่าจ้างเพราะเหตุที่นายจ้างไม่สามารถดาเนินกิจการต่อไป
97
มาตรา ๒๒(๒)
• เครื่องมือตามมาตรา ๑๑๗, ๑๑๘, ๑๑๙, ๑๒๑
98
มาตรา ๒๒(๓)
ฟ้ องร้ องหรือต่ อสู้ คดีใดๆ เกีย่ วกับทรัพย์ สินของลูกหนี้
• กรณี การอุทธรณ์พิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลล้มละลาย
ตามม.๒๔ วรรคสอง (๑)-(๕) พ.ร.บ.จัดตั้งศาลล้มละลาย
และวิธีพิจารณาคดีลม้ ละลาย พ.ศ.๒๕๔๒ ลูกหนี้สามารถ
ยืน่ อุทธรณ์ได้ดว้ ยตนเอง ไม่ตอ้ งให้จ.พ.ท. กระทาการให้
• (เดิมมี ฎ. ๒๒๘๖/๒๕๓๖, ๑๕๖๑-๑๕๖๔/๒๕๐๙,
๑๐๖๕/๒๔๙๙ พิพากษาเป็ นกรณี ๆ ไป แต่ปัจจุบนั ดูตาม
ม. ๒๔ วรรคสอง (๑)-(๕))
99
• คดีใดๆ หมายถึง เฉพาะแต่การฟ้ องร้องหรื อต่อสู ้คดีแพ่งที่
เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้เท่านั้น ไม่ รวมไปถึงการ
ฟ้ องร้ องหรือต่ อสู้ คดีอาญาด้ วย (ฎ. ๓๑๐๓/๒๕๔๙)
100
มาตรา ๒๒(๓)
ฟ้ องร้ องหรือต่ อสู้ คดีใดๆ เกีย่ วกับทรัพย์ สินของลูกหนี้
• กรณี ที่ลูกหนี้มีที่ดิน หลังจากศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของ
ลูกหนี้เด็ดขาดแล้ว มีบุคคลภายนอกเข้ามาบุกรุ ก ปั ญหาว่า
ลูกหนี้จะฟ้ องเป็ นคดีอาญาข้อหาบุกรุ ก โดยมิได้ มคี าขอ
บังคับในส่ วนแพ่งให้ จาเลยชดใช้ ค่าเสี ยหายหรือขับไล่
จาเลยออกจากทีด่ นิ ของโจทก์ ดว้ ยตนเองได้หรื อไม่หรื อ
ต้องให้จ.พ.ท.เป็ นผูฟ้ ้ องคดีแทน
• คาตอบ ไม่เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ ลูกหนี้ฟ้องคดีได้
เอง (ฎ. ๓๙๐๒/๒๕๔๙, ๗๑๒๘-๒๙/๒๕๕๒)
101
• ตามบทบัญญัติของมาตรา ๒๒(๓), ๒๔ และ ๒๕ เมื่อ
ลูกหนี้ถูกพิทกั ษ์ทรัพย์แล้ว ลูกหนี้ไม่มอี านาจต่อสู ้คดีใดๆ
ไม่ ว่าในชั้นพิจารณาหรือชั้นบังคับคดี รวมทั้งไม่มีอานาจ
กระทาการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินหรื อกิจการของตน
• การยืน่ คาขอให้ พจิ ารณาคดีใหม่ ในคดีแพ่งที่คา้ งพิจารณา
อยูภ่ ายหลังจาเลยถูกพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว เป็ นการ
ต่อสู ้คดีเกี่ยวกับทรัพย์สินของจาเลย
(๕๐๑๖/๓๓,๖๔๔๑/๔๓)
102
ฎีกาที่ ๗๔๐๙/๒๕๕๕
ก่อนที่จาเลยจะยืน่ คาร้ องขอให้ เพิกถอนการบังคับคดี (อ้างว่า
จบค. ฝ่ าฝื นป.วิ.พ.ม.๒๙๖ ในการออกหนังสื อโอนกรรมสิ ทธิ์
ให้แก่ผซู ้ ้ื อทรัพย์จากการขายทอดตลาด) จาเลยถูกศาลสัง่ พิทกั ษ์
ทรัพย์เด็ดขาด เมื่อการร้องขอให้เพิกถอนการบังคับคดีเป็ นการ
ต่อสู้คดีใดๆ หรื อการกระทาใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
เป็ นอานาจของจพท.แต่ผเู้ ดียว จาเลยจึงไม่มีอานาจยืน่ คาร้อง
ขอให้เพิกถอนการบังคับคดีได้
การร้ องขอให้ งดการบังคับคดีเป็ นการต่ อสู้ คดีใดๆ เกีย่ วกับ
ทรัพย์ สินของลูกหนีอ้ ย่ างหนึ่งอันเป็ นอานาจของเจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนี้จึงไม่มีสิทธิ ยนื่ คาร้อง
(ฏ. ๒๒๑๙๔/๒๕๕๕)
• การร้ องคัดค้ านการขายทอดตลาดทรัพย์ สินในคดีแพ่งเป็ นการ
ต่อสู้คดีใดๆ หรื อกระทาการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
อย่างหนึ่งอันเป็ นอานาจของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ จาเลยจึง
ไม่ มีอานาจร้ องคัดค้ านการขายทอดตลาด (ฎ.๕๒๖๘/๒๕๕๑,
๕๑๑๕/๒๕๕๔)
105
แต่ ฎ.๓๙๙๔/๒๕๓๖
• เจ้ าพนักงานพิทกั ษ์ ทรัพย์ นาทรัพย์ ของลูกหนีไ้ ปขาย
ทอดตลาดหรื อมอบหมายให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขาย
ทอดตลาดแทน ลูกหนีร้ ้ องคัดค้ านว่ าการขายทอดตลาดไม่
ชอบด้ วยกฎหมาย ลูกหนี้ร้องคัดค้านได้ เพราะเป็ นการ
คัดค้ านการกระทาหรือคาวินิจฉัยของจ.พ.ท. ในคดี
ล้ มละลายตามมาตรา ๑๔๖ ไม่นามาตรา ๒๒ มาใช้ใน
กรณี น้ ี
106
ป.วิ.พ.ม.๓๐๙ ทวิ ว.สอง
• เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาหรื อลูกหนี้ตามคาพิพากษาหรื อบุคคลผูม้ ี
ส่ วนได้เสี ยในการบังคับคดี เห็นว่า ๑. ราคาที่ได้จากการขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินมีจานวนต่าเกินสมควร และ ๒. การขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินในราคาที่ต่าเกินสมควรนั้น เกิดจากการคบ
คิดกันฉ้อฉลในระหว่างผูท้ ี่เกี่ยวข้อง หรือ ความประมาทเลิ่นเล่อ
อย่างร้ายแรงของเจ้าพนักงานบังคับคดีในการปฏิบตั ิหน้าที่
• บุคคลดังกล่าวอาจยืน่ คาร้องต่อศาลเพื่อขอให้มีคาสั่งเพิกถอน
การขายทอดตลาดทรัพย์สิน
107
๕. มาตรา ๒๕
๑. จ.พ.ท. ต้องเข้าว่าคดีทุกคดีหรื อไม่ (ฎ. ๕๔๔๐/๒๕๓๗)?
มาตรา ๒๕ มิใช่บทบังคับ หากจพท. เห็นว่าไม่จาเป็ น
หรื อไม่เป็ นประโยชน์แก่กองทรัพย์สินของลูกหนี้ จพท.
จะไม่เข้าว่าคดีน้ นั และขอให้ศาลจาหน่ายคดีดงั กล่าวก็ได้
(อธิบายทางปฏิบัติ)
108
ฎ.๕๔๔๐/๒๕๓๗
• แม้เป็ นเจ้าหนี้ที่ได้ฟ้องคดีแพ่งไว้แล้ว คดีอยูใ่ นระหว่างการ
พิจารณาก็ตาม ก็ตอ้ งยืน่ คาขอรับชาระหนี้ โจทก์ ไม่ ยนื่ คาขอ
ภายในกาหนด โจทก์ ย่อมหมดสิ ทธิทจี่ ะได้ รับชาระหนี้ เกิดจาก
ความผิดของโจทก์เอง การที่จ.พ.ท.ไม่ขอเข้าว่าคดีแพ่ง ขอให้
จาหน่ายคดี ศาลสัง่ จาหน่ายคดี คาสัง่ ดังกล่าวไม่ถือว่าเป็ นการตัด
สิ ทธิโจทก์ที่จะยืน่ คาขอรับชาระหนี้ตามพ.ร.บ.ล้มฯ ม. ๙๓
109
๒. ไม่วา่ จ.พ.ท.จะเข้าว่าหรื อไม่เข้าว่า ศาลมีดุลยพินิจเป็ นอย่างอื่น
ได้หรื อไม่ (ฎ. ๙๓๙/๒๕๓๐)
หากจ.พ.ท.ยืน่ คาร้องต่อศาลขอให้ศาลมีคาสัง่ จาหน่ายคดี แต่ศาล
มีคาสัง่ ว่าให้พิจารณาคดีต่อไป ผลจะเป็ นอย่างไร (ดูม.๙๓
ประกอบ)
110
ฎ.๑๙๑๖/๒๕๓๔
• ศาลมีคาสัง่ ให้ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป ย่อมมีผลเท่ากับ
ศาลไม่อนุญาตตามคาแถลงของจ.พ.ท. ถือว่า จ.พ.ท. ทราบคาสัง่
แล้ว แม้ในวันนัดต่อๆ มา จ.พ.ท. จะมิได้มาศาล ศาลก็ได้
ประกาศแจ้งวันนัดให้จ.พ.ท. ทราบที่หน้าศาลทุกครั้ง ย่อมถือว่า
จ.พ.ท.ได้เข้าว่าคดีแทน จาเลยแล้ว
• เมื่อศาลพิพากษาให้จาเลยแพ้คดี ผูร้ ้องย่อมมีสิทธิยนื่ คาขอรับ
ชาระหนี้ในคดีลม้ ละลายภายในกาหนด ๒ เดือน นับแต่วนั ที่คดี
แพ่งดังกล่าวถึงที่สุด ตามพ.ร.บ.ล้มฯ ม. ๙๓
111
• จ.พ.ท. ซึ่งถูกศาลเรี ยกให้เข้ามาว่าคดีแทนลูกหนี้ ซึ่ งถูกพิทกั ษ์
ทรัพย์ยอ่ มร้องต่อศาลขอแก้ไขคาให้การเดิมของลูกหนี้ได้ เพราะ
คดีลม้ ละลายเป็ นคดีที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
(ฎ. ๓๒๔/๒๔๙๘)
• ดู ป.วิ.พ.ม.๑๘๐ ประกอบ
112
ป.วิ.พ.ม.๑๘๐
• การแก้ไขคาฟ้ องหรื อคาให้การที่คู่ความเสนอต่อศาลไว้แล้ว
ให้ทาเป็ นคาร้องยืน่ ต่อศาลก่อนวันชี้สองสถาน หรื อก่อนวัน
สื บพยานไม่นอ้ ยกว่าเจ็ดวันในกรณี ที่ไม่มีการชี้สองสถาน เว้น
แต่
๑. มีเหตุอนั สมควรที่ไม่อาจยืน่ คาร้องได้ก่อนนั้น หรื อ ๒. เป็ น
การขอแก้ไขในเรื่ องที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
หรื อ ๓. เป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรื อข้อผิดหลง
เล็กน้อย
113
๖. ลูกหนีต้ ้ องส่ งมอบทรัพย์ สินให้ แก่ จ.พ.ท.
• มาตรา ๒๓
• มาตรา ๑๐๙
หมวด ๔ ส่ วนที่ ๒ ทรัพย์สินซึ่ งอาจเอามาชาระหนี้
ทรัพย์สินที่ไม่อยูใ่ นข่ายบังคับคดีลม้ ละลาย ม. ๑๐๙(๑)(ก)(ข)
กระบวนพิจารณาหลังจาก
ศาลมีคาสั่ งพิทักษ์ ทรัพย์ เด็ดขาด
๑. โฆษณาคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ตามมาตรา ๒๘ + ๑๕๙
๒. ลูกหนี้ยนื่ คาชี้แจงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินตาม
มาตรา ๓๐ + ๑๑๗
115
มาตรา ๒๘
• ในกรณี จ.พ.ท.โฆษณาคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ในราชกิจจา
นุเบกษาและในหนังสื อพิมพ์รายวันไม่พร้อมกัน
ระยะเวลาสองเดือนตามาตรา ๙๑ ในการที่เจ้าหนี้จะยืน่ คา
ขอรับชาระหนี้นบั จากวันโฆษณาวันใด ?
คาตอบ ให้นบั แต่วนั โฆษณาหลังสุ ดเพราะกฎหมายให้
โฆษณาทั้งสองอย่าง (ฎ ๖๙๐/๒๕๐๙)
• การขอขยายระยะเวลาตามมาตรา ๙๑
116
ป.วิ.พ.มาตรา ๒๓
• เมื่อศาลเห็นสมควรหรื อเมื่อคู่ความฝ่ ายที่เกี่ยวข้องได้ยนื่ คาขอ
โดยทาเป็ นคาร้อง ให้ ศาลมีอานาจที่จะออกคาสั่ งขยายหรือย่ น
ระยะเวลาตามทีก่ าหนดไว้ ในประมวลกฎหมายนีห้ รื อตามที่ศาล
ได้กาหนดไว้ หรื อระยะเวลาที่เกีย่ วด้ วยวิธีพจิ ารณาความแพ่ง
อันกาหนดไว้ ในกฎหมายอืน่ เพื่อให้ดาเนินหรื อมิให้ดาเนิน
กระบวนพิจารณาใดๆ ก่อนสิ้ นระยะเวลานั้น แต่ การขยายหรือ
ย่ นเวลาเช่ นว่ านีใ้ ห้ พงึ ทาได้ ต่อเมื่อมีพฤติการณ์ พเิ ศษ และศาลได้
มีคาสัง่ หรื อคู่ความมีคาขอขึน้ มาก่ อนสิ้นระยะเวลานั้น เว้ นแต่ ใน
กรณีทมี่ ีเหตุสุดวิสัย
117
วันตรวจคาขอรับชาระหนีแ้ ละขั้นตอนที่เกี่ยวข้ อง
(มาตรา ๑๐๔ ถึง ๑๐๘)
๑. เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาสองเดือนนับแต่วนั โฆษณาคาสัง่
พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด
• เพื่อทราบว่า มีเจ้าหนี้กี่รายยืน่ คาขอรับชาระหนี้ทนั ภายใน
กาหนด แต่ละรายเป็ นมูลหนี้เท่าใด เพื่อที่ จ.พ.ท. จะได้รับทราบ
ว่า เมื่อรวบรวมทรัพย์สินได้แล้วจะต้องชาระให้แก่เจ้าหนี้ราย
ใดบ้าง เพราะหากเจ้าหนี้ยนื่ คาขอรับชาระหนี้ไม่ทนั โดยหลัก
ลูกหนี้ไม่จาต้องชาระหนี้คืนแก่เจ้าหนี้รายนั้น และลูกหนี้จะได้
พิจารณาว่าจะยืน่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายหรื อไม่
118
๒. ให้ จ.พ.ท. ทาความเห็นส่ งสานวนเรื่ องหนี้สินที่ขอรับชาระต่อ
ศาล
๓. คาขอรับชาระหนี้รายใด ถ้ามีผโู้ ต้แย้ง ให้ศาลพิจารณาแล้ วมี
คาสั่ ง ยกคาขอรับชาระหนี้ อนุญาตให้ได้รับชาระหนี้เต็มจานวน
หรื ออนุญาตให้ได้รับชาระหนี้บางส่ วน
119
๔. ข้ อสั งเกต คาว่า “สานวนกลาง” และ “สานวนคาขอรับชาระ
หนี”้ โดยเปรี ยบเทียบกับ “สานวนสาขาคดี” เช่น สานวนการ
ขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล ตามมาตรา ๑๑๓ สานวนการเพิกถอน
การให้เปรี ยบ ตามมาตรา ๑๑๕ สานวนการทวงหนี้ ตามมาตรา
๑๑๙ สานวนการร้องขอให้เพิกถอนการกระทาหรื อคาวินิจฉัย
ของ จ.พ.ท. ตามมาตรา ๑๔๖ เป็ นต้น
120
การประชุมเจ้ าหนีใ้ นคดีล้มละลาย
มี ๒ ประเภท
๑. การประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก ตามมาตรา ๓๑
๒. การประชุมเจ้าหนี้ครั้งอื่น ตามมาตรา ๓๒
121
การประชุมเจ้ าหนีค้ รั้งแรก
๑. ในทางปฏิบตั ิ จพท. จะเรี ยกประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก
เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลายืน่ คาขอรับชาระหนี้แล้ว เพราะ
๑.๑ จพท. จะทราบว่า เจ้าหนี้ในคดีกี่ราย
๑.๒ ลูกหนี้จะยืน่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายหรื อไม่
122
การประชุมเจ้ าหนีค้ รั้งแรก
๑. ลูกหนี้ไม่ ยนื่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ที่ประชุมเจ้าหนี้
ครั้งแรกต้องมีมติขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย-->
ม. ๔๒ (การไต่สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผย)ม.๖๑ (คาพิพากษาให้
ล้มละลาย)
๒. ลูกหนี้ยนื่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย แต่ที่ประชุมเจ้าหนี้
ครั้งแรกไม่ ยอมรับด้ วยมติพเิ ศษ ถือว่าที่ประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรกมี
มติขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย →ม. ๔๒ (การไต่
สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผย)ม.๖๑ (คาพิพากษาให้ลม้ ละลาย)
123
การประชุมเจ้ าหนีค้ รั้งแรก
๓. ลูกหนี้ยนื่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ที่ประชุมเจ้าหนี้
ครั้งแรกยอมรับด้วยมติพิเศษ --> การประนอมหนี้ก่อน
ล้มละลาย (มาตรา ๔๕ ถึง ๖๐)
124
การประชุมเจ้ าหนีค้ รั้งแรก ม.๓๑ + ม.๓๖
ตัวอย่ างที่ ๑ ลูกหนี้ไม่ได้ยนื่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
เจ้าหนี้รายที่หนึ่ง ซึ่ งเป็ นเจ้าหนี้จานวน ๑ ล้านบาท ลงมติขอให้
ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย เจ้าหนี้รายที่สองถึงที่สี่รวม
จานวนหนี้ ๒ ล้านบาท ลงมติวา่ ลูกหนี้ไม่สมควรตกเป็ นบุคคล
ล้มละลาย ที่ประชุมเจ้าหนี้จึงมีมติให้ลูกหนี้ไม่ลม้ ละลาย
ให้ วนิ ิจฉัยว่ า มติดงั กล่ าวชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่
125
ตัวอย่ างที่สอง ลูกหนี้ยนื่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ที่
ประชุมเจ้าหนี้ไม่ยอมรับ แต่เห็นว่าลูกหนี้ยงั มีความสามารถใน
การชาระหนี้ได้ ไม่สมควรให้ลูกหนี้ตกเป็ นบุคคลล้มละลาย จึงมี
มติให้ลูกหนี้ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย ให้ วนิ ิจฉัยว่ า มติดงั กล่ าว
ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่
(ดู มาตรา ๔๕, มาตรา ๖ นิยามคาว่ า “มติ” และ “มติพเิ ศษ”
ประกอบ)
126
คาตอบ
• เจ้าหนี้จะต้องลงมติไปทางใดทางหนึ่ง ถ้าลูกหนี้มิได้ยนื่ คาขอ
ประนอมหนี้หรื อที่ประชุมเจ้าหนี้ไม่ยอมรับคาขอประนอมหนี้ ก็
จะต้องขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย จะลงมติเป็ นอย่าง
อื่น เช่น ลงมติไม่ให้ลูกหนี้ลม้ ละลายไม่ได้ ย่อมเป็ นการ
นอกเหนือไปจากบทบัญญัติในม.๓๑ จึงเป็ นการฝ่ าฝื นและขัดต่อ
กฎหมายล้มละลาย (ฎ.๖๗๐/๒๕๒๖, ๙๕๕/๒๕๐๕)
• การทาลายมติ ม.๓๖
127
การประชุมเจ้ าหนีค้ รั้งอืน่ มาตรา ๓๒
• จพท. ต้องแจ้งกาหนดวัน เวลา และสถานที่ กับหัวข้อประชุม
• ฎ.๒๖๗/๒๕๐๘
• มาตรา ๓๒ วรรคสอง การส่ งประกาศนัดประชุมเจ้าหนี้ พรบ.
ล้มฯ ไม่ได้บญั ญัติไว้ ต้องนาเรื่ องการส่ งเอกสาร และคาคู่ความ
ตาม ปวิพ. มาใช้ เมื่อการส่ งประกาศได้นาส่ งให้แก่บุคคล ซึ่งไม่
อยูใ่ นที่ทางานของเจ้าหนี้ การส่ งประกาศจึงไม่ชอบ
(๔๒๓/๒๕๑๘)
128
การทาลายมติ (มาตรา ๓๖)
• กาหนดให้ จพท. เท่านั้น ที่มีอานาจยืน่ คาร้องทาลายมติ
(ฎ.๑๒๙๕/๒๕๔๐)
129
กรรมการเจ้ าหนี้ มาตรา ๓๗ ถึง ๔๑
๑. กรรมการเจ้าหนี้มีข้ ึนเพื่อเป็ นตัวแทนเจ้ าหนีท้ ้ังหลายในกิจการ
การจัดการกิจการทรัพย์สินของลูกหนี้ตามที่กาหนดไว้ใน
พระราชบัญญัติลม้ ละลาย นาหลักเรื่ องตัวการตัวแทนมาใช้
บังคับ ตามป.พ.พ.ม.๘๒๐, ๘๒๓
๒. มาตรา ๓๗ ไม่ ได้ บังคับว่ าในทุกคดีล้มละลายจะต้ องมีการตั้ง
กรรมการเจ้ าหนี้ แต่ละคดีอาจจะมีหรื อไม่มีกรรมการเจ้าหนี้กไ็ ด้
ทางปฏิบัติ กรณี ที่มีการตั้งกรรมการเจ้าหนี้เป็ นกรณี มีเจ้าหนี้จานวน
มาก สะดวกในการจัดการประชุมและประหยัดค่าใช้จ่าย
130
๓. การที่จะร้องขอให้เพิกถอนมติกรรมการเจ้าหนี้น้ นั ก็เป็ นไป
ตามมาตรา ๓๖ คือ เป็ นอานาจของเจ้ าพนักงานพิทักษ์ ทรั พย์
เท่ านั้น (ฎ. ๓๑๘๒/๒๕๔๐)
131
การประนอมหนีก้ ่อนล้มละลาย
(มาตรา ๔๕ ถึง ๖๐)
๑. นิยาม การประนอมหนีค้ อื อะไร
ม. ๔๕ การที่ลูกหนี้ขอชาระหนี้แต่เพียงบางส่ วน เช่น ขอชาระ
หนี้ร้อยละ ๗๐ หรื อร้อยละ ๕๐ หรื อร้อยละ ๒๕ หรื อ
ร้อยละ ๑๐ หรื อโดยวิธีอื่น เช่น กูม้ า ๑ ล้านบาท ขอโอนที่ดินตี
ใช้หนี้แทน หรื อชาระด้วยเงินบางส่ วน ตีทรัพย์ใช้หนี้บางส่ วน
หรื อขอขยายระยะเวลาในการชาระหนี้
ม. ๕๖ การประนอมหนี้ซ่ ึงที่ประชุมเจ้าหนี้ได้ยอมรับและศาล
เห็นชอบแล้ว ผูกมัดเจ้าหนี้ท้ งั หมดในเรื่ องหนี้ซ่ ึ งอาจขอรับชาระ
ได้
132
ขอให้ เปรียบเทียบป.พ.พ. ลักษณะ ๑๗
สั ญญาประนีประนอมยอมความ ตาม ม. ๘๕๐ ถึง ๘๕๒
• ม. ๘๕๐ อันว่า ประนีประนอมยอมความนั้น คือ สัญญาซึ่ งผูเ้ ป็ น
คู่สญ
ั ญาทั้งสองฝ่ าย ระงับข้อพิพาทอันใดอันหนึ่ง ซึ่ งมีอยูห่ รื อจะ
มีข้ ึนนั้นให้เสร็ จไปด้วยต่ างยอมผ่ อนผันให้ แก่ กนั
• ม. ๘๕๒ ผลของสัญญาประนีประนอมยอมความนั้น ย่อมทาให้
การเรียกร้ อง ซึ่ งแต่ละฝ่ ายได้ยอมสละนั้น ระงับสิ้นไป และ
ทาให้แต่ ละฝ่ ายได้ สิทธิตามที่แสดงในสั ญญานั้นว่าเป็ นของตน
133
วิธีการยืน่ คาขอประนอมหนีก้ ่อนล้มละลาย
๑) ทาเป็ นคาขอประนอมหนี้ต่อ จ.พ.ท. เป็ นหนังสื อ
๒) กาหนดระยะเวลา ภายใน ๗ วันนับแต่ยนื่ คาชี้แจงเกี่ยวกับ
กิจการและทรัพย์สินหรื อภายในเวลาที่ จ.พ.ท. กาหนด
134
รายละเอียดในคาขอประนอมหนี้
๑) ข้อความแห่งการประนอมหนี้ เช่น ร้อยละ ๗๐, ๕๐, ๒๕, ๑๐
๒) วิธีจดั กิจการหรื อทรัพย์สิน เช่น จะเอาทรัพย์สินใดออกขายบ้าง
ขายด้วยวิธีใด หรื อจะเก็บรักษาทรัพย์สินไว้ที่ไหน อย่างไร เป็ น
ต้น
๓) รายละเอียดแห่งหลักประกันหรื อผูค้ ้ าประกัน (ในชั้นขอ
ประนอมหนี้)
135
เมื่อยืน่ ให้ จ.พ.ท. แล้ว จ.พ.ท. ต้ องทาอย่ างไรต่ อ
• จ.พ.ท. เรี ยกประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก เพื่อปรึ กษาว่าจะยอมรับคา
ขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ด้วยมติพิเศษหรื อไม่
• “มติพเิ ศษ” หมายความว่า มติของเจ้าหนี้ฝ่ายข้ างมากและ
มีจานวนหนีเ้ ท่ ากับสามในสี่ แห่งจานวนหนี้ท้ งั หมดของเจ้าหนี้
ซึ่งได้ เข้ าประชุมด้วยตนเองหรื อมอบฉันทะให้ผอู้ ื่นเข้าประชุม
แทนในที่ประชุมเจ้าหนี้และได้ ออกเสี ยงลงคะแนนในมติน้ นั
136
• มติพิเศษมีที่ใช้เพียงกรณี เดียว คือ การพิจารณาว่าจะยอมรับคา
ขอประนอมหนี้หรื อไม่ (ทั้งการประนอมก่อนล้มละลายตาม ม.
๔๕ หรื อ การประนอมหนี้หลังล้มละลายตาม ม. ๖๓)
137
มาตรา ๔๖
• หากที่ประชุมเจ้าหนี้ลงมติพิเศษยอมรับคาขอประนอมหนี้แล้ว
จะผูกมัดเจ้าหนี้ทุกรายหรื อไม่?
• การขอแก้ ไขคาขอประนอมหนี้ มาตรา ๔๗
• ม.๔๘ การขอออกเสี ยงเป็ นหนังสื อ
• กระบวนพิจารณาภายหลังที่ประชุมเจ้าหนี้ลงมติยอมรับคาขอ
ประนอมหนี้ ม. ๔๙, ๕๐
• ม. ๕๑ ศาลได้ไต่สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผยแล้ว
138
หลักเกณฑ์ ในการที่ศาลใช้ พจิ ารณาให้ ความเห็นชอบ
• ม.๕๓ (๒) หมายความว่ า ลูกหนี้ตอ้ งเสนอขอชาระ
หนี้แก่เจ้าหนี้ที่ยนื่ คาขอรับชาระหนี้ไว้ทุกราย
เป็ นจานวนหรือในสั ดส่ วนที่เท่ ากัน
• ม.๕๕
139
คาว่ า “ผูกมัดเจ้ าหนีท้ ้งั หมดในเรื่องหนีซ้ ึ่งอาจขอรับ
ชาระได้ ”
• ไม่ ว่าจะเป็ นเจ้ าหนีฝ้ ่ ายข้ างน้ อยทีไ่ ม่ ได้ ลงมติยอมรับคาขอ
ประนอมหนี้ และหมายความรวมทั้ง เจ้ าหนีท้ ี่ไม่ ได้ ยนื่ คาขอรับ
ชาระหนีไ้ ว้ ด้วย หมายความว่า หากลูกหนี้ชาระหนี้ตามคาขอ
ประนอมหนี้ครบถ้วน ลูกหนี้ยอ่ มหลุดพ้นจากหนี้ของเจ้าหนี้ที่
ไม่ได้ขอรับชาระหนี้ดว้ ย (ฎ.๑๐๐๑/๒๕๐๙)
• เจ้าหนี้ดงั กล่าวจะฟ้ องบังคับให้ลูกหนี้ชาระหนี้ตามจานวนหนี้
เป็ นคดีแพ่งหรื อตามจานวนที่ปรากฏในคาขอประนอมหนี้
ในขณะลูกหนี้อยูใ่ นกระบวนการล้มละลายหรื อภายหลังไม่ ได้
(ฎ.๖๒๖/๒๑, ๑๗๗๑/๓๒, ๖๓๔๙/๓๗, ๖๐๘๔/๔๘)
140
อย่ างไรก็ตาม การประนอมหนีซ้ ึ่งศาลเห็นชอบด้ วยแล้ ว ไม่ ผูกมัด
เจ้ าหนีค้ นหนึ่งคนใดในเรื่องหนี้ ซึ่งตามพรบ.ล้ มฯ ลูกหนีไ้ ม่ อาจ
หลุดพ้นโดยคาสั่ งปลดจากล้ มละลายได้ ได้ แก่ เจ้ าหนีต้ ามม.๗๗
(๑) คือ หนีภ้ าษีอากร และเจ้ าหนีต้ ามม. ๗๗(๒) ดังนั้น ลูกหนี้
จะต้ องชาระหนีแ้ ก่ เจ้ าหนีต้ ามม.๗๗ (๑) และ (๒) เต็มตาม
จานวนเดิม เว้ นแต่ เจ้ าหนีค้ นนั้นได้ ยนิ ยอมด้ วยในการประนอม
หนีท้ ้งั นี้ แม้ เจ้ าหนีต้ ามม.๗๗(๑) และ (๒) จะมิได้ ยนื่ คาขอรับ
ชาระหนีต้ ่ อจพท.ตามม. ๙๑ ก็ตาม (ฎ.๔๙๕๕/๓๖)
พระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ มาตรา ๗๗ บัญญัติเพียงว่า
คาสัง่ ปลดจากล้มละลายทาให้บุคคลล้มละลายหลุดพ้นจากหนี้
ทั้งปวงอันพึงขอรับชาระได้ โดยมีขอ้ ยกเว้นหนี้อนั พึงขอรับ
ชาระได้เพียง ๒ กรณี ซึ่งข้ อยกเว้ นกรณีนีก้ ฎหมายหาได้ บัญญัติ
ว่ าจะต้ องเป็ นหนีท้ ี่ได้ ยนื่ คาขอรับชาระแล้ ว หรื อเป็ นบทบัญญัติ
ทีอ่ ยู่ภายใต้ บังคับของมาตรา ๙๑ แม้จาเลยมิได้ยนื่ คาขอรับชาระ
หนี้ภายในกาหนดตามมาตรา ๙๑ เจ้าพนักงานประเมินก็มีอานาจ
ประเมินเรี ยกเก็บภาษีอากรจากโจทก์
ผลเมื่อศาลมีคาสั่ งเห็นชอบด้ วยคาขอประนอมหนีแ้ ล้ ว
• ในส่ วนที่เกี่ยวกับคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด กรณี ตอ้ งถือว่าคาสัง่
พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาดนั้น เป็ นอันยกเลิกไปในตัว
(ฎ.๒๖๔๙/๒๕๔๑)
• ลูกหนี้กลับเป็ นผูม้ ีอานาจจัดการทรัพย์สินหรื อกิจการของตน
ตามเดิม มีความสามารถประกอบกิจการหรื อจัดการทรัพย์สิน
ของตนได้ต่อไป แต่ ภายใต้ กาหนดเงือ่ นไขไว้ ในคาขอประนอม
หนี้
143
ตัวอย่ าง ม. ๕๖ ประกอบ ม. ๕๙
• โจทก์ฟ้องจาเลยทั้งสองให้ใช้เงินตามเช็ค จาเลยที่ ๑ เป็ นผูส้ งั่ เช็ค
จาเลยที่ ๒ เป็ นผูส้ ลักหลัง ต่อมา ล. ๑ ถูกพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด
ศาลชั้นต้นให้จาหน่ายคดีเฉพาะ ล. ๑ และศาลชั้นต้นพิพากษาให้
ล.๒ ชาระเงินตามจานวนในเช็ค คดีถึงที่สุด ต่อมาที่ประชุม
เจ้าหนี้มีมติพิเศษยอมรับคาขอประนอมหนี้ของล.๑ ซึ่งขอชาระ
หนี้ร้อยละ ๑๐ และศาลเห็นชอบด้วย ล. ๒ จึงยืน่ คาร้องในคดี
แพ่งขอให้ศาลมีคาสัง่ ให้โจทก์ในคดีแพ่งมีสิทธิได้รับชาระหนี้
จากล.๒ เพียงร้อยละ ๑๐ ด้วย เพราะมูลหนี้ของโจทก์
144
• ในคดีแพ่งกับในคดีลม้ ละลายของล. ๑ นั้น เป็ นหนี้ตามเช็คราย
เดียวกัน ตามม.๕๖ ขอให้ศาลไต่สวนและมีคาสัง่ ว่า โจทก์มีสิทธิ
ได้รับชาระหนี้เพียงร้อยละ ๑๐ และขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงคา
บังคับเสี ยใหม่
• ให้ วนิ ิจฉัยว่ า ถ้าท่านเป็ นศาล ท่านจะสัง่ คาร้องของ ล. ๒ อย่างไร
145
กฎหมายตั๋วเงินที่เกีย่ วข้ อง
• ป.พ.พ.มาตรา ๙๐๐ บุคคลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินย่อม
จะต้ องรับผิดตามเนือ้ ความในตัว๋ เงินนั้น
• มาตรา ๙๑๔ บุคคลผูส้ งั่ จ่ายหรื อสลักหลังตัว๋ แลกเงิน ย่อมเป็ น
อันสัญญาว่า เมื่อตัว๋ นั้นได้นายืน่ โดยชอบแล้ว จะมีผรู้ ับรองและ
ใช้เงินตามเนื้อความแห่งตัว๋ ถ้ าและตั๋วแลกเงินนั้นเขาไม่เชื่อถือ
โดยไม่ยอมรับรองก็ดี หรื อไม่ ยอมจ่ ายเงินก็ดี ผู้สั่งจ่ ายหรือผู้
สลักหลัง ก็จะใช้ เงินแก่ ผ้ ูทรง
146
• หมวด ๔ เช็ค
• มาตรา ๙๘๙ บทบัญญัติท้ งั หลายในหมวด ๒ อันว่าด้วยตัว๋ เงินดัง
จะกล่าวต่อไปนี้ ท่านให้ยกมาบังคับในเรื่ องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขดั
กับสภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือ บทมาตรา ๙๑๐,
๙๑๔ ถึง ๙๒๓, ...
147
หลักกฏหมาย
• คาขอประนอมหนีซ้ ึ่งทีป่ ระชุมเจ้ าหนีย้ อมรับและศาลเห็นชอบ
แล้ ว ผูกมัดเฉพาะเจ้ าหนีแ้ ละลูกหนีใ้ นคดีเท่ านั้น ไม่ มีผลไปถึง
ลูกหนีค้ นอืน่ ในคดีอนื่ ซึ่งเป็ นลูกหนีร้ ่ วม แปลว่า ลูกหนี้ร่วมใน
มูลหนี้เดียวกันกับลูกหนี้ที่ถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ ยังคงต้องรับผิดเต็ม
จานวนในส่ วนที่ตนต้องชาระอยู่ (ฎ.๖๓๕/๒๕๒๒)
• การประนอมหนี้ มีผลเฉพาะตัวลูกหนีผ้ ู้ยนื่ คาขอประนอมหนี้
เท่ านั้น ผู้คา้ ประกัน (ฎ. ๕๑๙/๒๕๒๒) หรือลูกหนีร้ ่ วมคนอืน่
หาหลุดพ้นความรับผิดแต่ อย่ างใดไม่
148
ถ้ าลูกหนีผ้ ดิ นัดไม่ ชาระหนีต้ ามทีไ่ ด้ ตกลงไว้
ในการประนอมหนี้
• ม. ๕๗
• ม. ๖๐...ศาลมีอานาจยกเลิกการประนอมหนี้และพิพากษาให้
ลูกหนี้ลม้ ละลาย...
149
หลักกฎหมาย
• การยกเลิกการประนอมหนี้ ไม่ทาให้ลูกหนี้ตกเป็ นบุคคล
ล้มละลายทันที ศาลต้องพิพากษาให้ลูกหนี้เป็ นบุคคลล้มละลาย
ก่อน (ฎ.๒๑๒/๒๕๒๗)
150
คาถาม
• ประเด็น คาสัง่ ยกเลิกการประนอมหนี้ทาให้ลูกหนี้ตกเป็ นบุคคล
ล้มละลายทันทีหรื อต้องให้ศาลพิพากษาให้ลม้ ละลายก่อน
• ข้ อเท็จจริง ศาลชั้นต้นมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด
และพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย ลูกหนี้ยนื่ คาขอประนอมหนี้
ภายหลังล้มละลาย ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบและมีคาสัง่ ยกเลิกการ
ประนอมหนี้เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๒๓ และพิพากษาให้
ลูกหนี้ลม้ ละลายอีกครั้งวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๒๔
151
• ลูกยืน่ คาร้ องว่ า เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดที่ดินลูกหนี้
ตามคาสัง่ ของจ.พ.ท. เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๒๔ เป็ นการขาย
โดยไม่ชอบ เมื่อศาลยังไม่มีคาพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย
จ.พ.ท.ยังไม่มีอานาจนาทรัพย์สินออกขายทอดตลาด เป็ นการ
ต้องห้ามตามม.๑๙
152
• จ.พ.ท.ยืน่ คาคัดค้ านว่ า เมื่อศาลมีคาสัง่ ยกเลิกการประนอมหนี้
แล้ว ย่อมมีผลให้ลูกหนี้ตอ้ งกลับคืนสู่ฐานะเดิมและเป็ นบุคคล
ล้มละลายต่อไป แม้ศาลจะยังไม่ได้มีคาพิพากษาให้ลูกหนี้เป็ น
บุคคลล้มละลายอีกก็ตาม จ.พ.ท.มีอานาจที่จะนาทรัพย์สินของ
ลูกหนี้ออกขายทอดตลาดได้
153
การทีม่ าตรา ๖๐ วรรคหนึ่ง บัญญัตใิ ห้ ศาลยกเลิกการล้ มละลายและ
พิพากษาให้ ลูกหนีล้ ้ มละลายนั้น ย่ อมมีผลทาให้ หนีต้ ามข้ อตกลง
ในประนอมหนีร้ ะงับไป ผู้คา้ ประกันชั้นขอประนอมหนีต้ ามม.
๔๕ วรรคสอง ย่ อมหลุดพ้ นจากความรับผิดไปด้ วยตาม ปพพ.
ม. ๖๙๘ ส่ วนตัวลูกหนีก้ ต็ ้ องกลับมารับผิดชาระหนีแ้ ก่ เจ้ าหนีเ้ ต็ม
ตามจานวนหนีเ้ ดิม (ฎ. ๑๑๕๗/๒๕๑๐, ๒๐๗๑/๒๕๓๕)
• ม.๖๙๘ อันผูค้ ้ าประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิดในขณะเมื่อ
หนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้ นไปไม่วา่ เพราะเหตุใดๆ
• (พิจารณา ม.๕๙ พ.ร.บ.ล้มฯ ประกอบ)
เป็ นคนละกรณี กบั ม.๕๙ ซึ่งเป็ นกรณี ลูกหนี้กบั ผูค้ ้ าประกันก่อนที่มี
คาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ไม่นาหลักดังกล่าวมาปรับใช้
155
“การใดที่ได้ กระทาไปแล้วตามข้ อประนอมหนีน้ ้ัน”
• ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด ต่อมาจ.พ.ท.จัดการ
ประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก จ.พ.ท.รายงานศาลว่าเจ้าหนี้ลงมติพิเศษ
ยอมรับคาขอ ศาลนัดไต่สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผยแล้วมีคาสัง่
เห็นชอบ ต่อมา จ.พ.ท.รายงานต่อศาลว่าได้อนุญาตให้นาย ช.
และนาย ศ. ขอถอนคาขอรับชาระหนี้และเห็นว่าคนทั้งสองคนนี้
น่าจะไม่ใช่เจ้าหนี้ที่แท้จริ ง การประนอมหนี้ไม่อาจดาเนินไปได้
โดยปราศจากอยุติธรรม ศาลชั้นต้นไต่สวนแล้วมีคาสัง่ ให้ยกเลิก
การประนอมหนี้แล้วพิพากษาให้จาเลยเป็ นบุคคลล้มละลาย
156
• นาย อ. ผูร้ ้องยืน่ คาร้องต่อจ.พ.ท.ขอรับเงินที่ชาระไว้ท้ งั หมดใน
ฐานะผูค้ ้ าประกันคืน จ.พ.ท. ยกคาร้อง ตามม. ๖๐
• คาถาม คาสัง่ ของจ.พ.ท. ดังกล่าว ชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่
เพราะเหตุใด
คาตอบ ชอบด้ วยกฎหมาย ตามม.๖๐ วรรคหนึ่ง (ฎ.๑๒๔๙/๒๕๐๘)
157
ประเด็น
หากศาลยกเลิกการประนอมหนี้แล้ว ต้องพิพากษาให้ลูกหนี้
ล้มละลาย ลูกหนี้จะยืน่ คาร้องอ้างว่า มีเหตุอื่นทีไ่ ม่ควรตกเป็ น
บุคคลล้มละลายหรื อสามารถชาระหนี้ได้ท้ งั หมด ได้หรื อไม่
158
ข้ อเท็จจริง
• ศาลชั้นต้นมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของจาเลยเด็ดขาด คดีน้ ีมีเจ้าหนี้
ยืน่ คาขอรับชาระหนี้รวม ๘ รายเป็ นเงิน ๔ ล้านบาท จาเลยยืน่ คา
ขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ที่ประชุมเจ้าหนี้ลงมติพิเศษ
ยอมรับ ศาลเห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ ต่อมาจ.พ.ท.รายงาน
ต่อศาลชั้นต้นว่าจาเลยไม่ปฏิบตั ิตามคาขอประนอมหนี้ ขอให้มี
คาสัง่ ยกเลิกการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายและพิพากษาให้
จาเลยล้มละลาย ตามม. ๖๐ ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วมีคาสัง่ ให้
ยกเลิกการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายและนัดฟังคาพิพากษา
159
• ศาลชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า ข้อเท็จจริ งจากการไต่สวนลูกหนี้
โดยเปิ ดเผยและรายงานการประนอมหนี้ได้ความว่า จาเลยเป็ น
ข้าราชการมีเงินเดือนเดือนละ ๒๐,๕๔๐ บาท คดียงั ไม่มีเหตุที่จะ
พิพากษาให้จาเลยล้มละลาย พิพากษายกฟ้ อง
• ให้ วนิ ิจฉัยว่ า คาพิพากษาของศาลชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่
เพราะเหตุใด
160
คาตอบ
• ตามบทบัญญัติของมาตรา ๖๐ มีความหมายชัดแจ้งอยูแ่ ล้วว่า เมื่อ
ศาลมีคาสัง่ ยกเลิกการประนอมหนี้แล้ว ต้องพิพากษาให้ลูกหนี้
ล้มละลายสถานเดียว จะกลับไปนามาตรา ๑๔ มาใช้บงั คับแก่
กรณี น้ ีมิได้ เพราะบทบัญญัติดงั กล่าวต้องใช้บงั คับแก่กรณี ที่ยงั
ไม่ได้มีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด (ฎ.๖๐๕๘/๒๕๔๑)
• หากศาลเห็นสมควรให้โอกาสจาเลยปฏิบตั ิตามคาขอประนอมหนี้
ต่อไปภายในเวลาที่กาหนดก็สามารถทาได้โดยเลื่อนการสัง่ ยกเลิก
การประนอมหนี้ออกไปก่อน แต่ถา้ ศาลสัง่ ยกเลิกการประนอมหนี้
แล้ว ม.๖๐ บังคับให้ศาลต้องพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลายสถานเดียว
161
หลักกฎหมาย:
การประนอมหนีก้ ่ อนล้ มละลายกระทาได้ ครั้งเดียว
• ตามพ.ร.บ.ล้มละลายฯ ม.๔๕ และ ๖๑ มีเจตนารมณ์ให้
ขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายได้เพียงครั้งเดียว ตามบัญญัติ
มาตรา ๖๑ ดังกล่าวบังคับให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย
ทันทีเมื่อได้ดาเนินคดีมาตามขั้นตอนของมาตรานี้ครบถ้วน
ศาลจะงดพิพากษาหรื อรอการพิพากษาหรื อพิพากษาเป็ นอย่าง
อื่นไม่ ได้
162
• หากจาเลยที่ ๑ จะขอประนอมหนี้อีกก็ชอบที่จะเสนอคาขอได้ใน
ตอนหลังเมื่อศาลพิพากษาให้จาเลยที่ ๑ ล้มละลายแล้ว
ตามพ.ร.บ.ล้มฯ ม. ๖๓
(ฎ. ๑๘๒๑/๒๕๒๓, ๓๓๒๔/๒๕๓๔, ๓๙๕๙/๒๕๓๔, )
163
การประนอมหนีก้ ่ อนล้ มละลาย
• ตัวอย่าง ๑ ศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ลูกหนี้
เด็ดขาด ที่ประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรกมีมติขอให้ศาลพิพากษาให้
ลูกหนี้ลม้ ละลาย ศาลไต่สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผยแล้วนัดฟังคา
พิพากษา ก่อนวันนัดฟังคาพิพากษา ๒ วัน จาเลยยืน่ คาขอ
ประนอมหนี้ก่อนล้มละลายและขอให้ศาลงดการอ่านคาพิพากษา
ศาลมีคาสัง่ งดการอ่านและให้ลูกหนี้ยนื่ คาขอประนอมหนี้ต่อ
จ.พ.ท. ภายใน ๗ วัน
• ให้วนิ ิจฉัยว่า คาสัง่ ศาลดังกล่าวชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่
164
ตัวอย่ างที่ ๒
• ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด ลูกหนี้ยนื่ คาขอ
ประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย เจ้าหนี้ลงมติไม่ยอมรับคาขอ
ประนอมหนี้ดงั กล่าวและขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย
จ.พ.ท.มีหนังสื อรายงานศาล ขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้
ล้มละลายและนัดไต่สวนลูกหนี้โดยเปิ ดเผย ต่อมาลูกหนี้ยนื่ คา
ร้องขอประนอมหนี้ครั้งที่สอง อ้างว่ามาตรา ๔๕ มิได้บญั ญัติ
ห้ามว่าลูกหนี้จะยืน่ คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายครั้งที่สอง
ไม่ได้ จ.พ.ท.ยกคาร้อง ให้ วนิ ิจฉัยว่ า คาสัง่ จ.พ.ท. ชอบหรื อไม่
165
ตัวอย่ างที่ ๓
• ข้อเท็จจริ งเหมือนตัวอย่างที่ ๒ โดยลูกหนี้อา้ งด้วยว่า การชาระ
หนี้ตามคาขอฯ ครั้งที่ ๒ นั้น ดีกว่าครั้งแรก โดยจะขอชาระหนี้
เป็ นเงินก้อนร้อยละ ๓๐ และจะชาระให้แล้วเสร็ จภายใน ๖ เดือน
แทนของเดิมที่จะผ่อนชาระภายใน ๕ ปี และลูกหนี้ได้ติดต่อกับ
เจ้าหนี้ส่วนใหญ่ไว้แล้วและเจ้าหนี้ส่วนใหญ่ยอมรับคาขอ
ประนอมหนี้ครั้งใหม่น้ ี จ.พ.ท. ไม่รับคาขอประนอมฯ
• ให้ วนิ ิจฉัยว่ า คาสัง่ จ.พ.ท. ชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่
166
ส่ วนที่ ๗ คาพิพากษาให้ ล้มละลาย
• มาตรา ๖๑
๑) เจ้าหนี้ได้ลงมติในการประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรกหรื อในคราวที่ได้
เลื่อนไปขอให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย
จ.พ.ท. จะรายงานดังกล่าว เมื่อ
๑.ลูกหนี้ไม่ได้ยนื่ คาขอประนอมหนี้
๒. ที่ประชุมเจ้าหนี้ไม่ยอมรับคาขอประนอมหนี้
(คือไม่ได้มติพิเศษ)
167
๒)ไม่ลงมติประการใด
๓) ไม่มีเจ้าหนี้ไปประชุม
๔) การประนอมหนี้ไม่ได้รับความเห็นชอบจากศาล
ให้ ศาลพิพากษาให้ ลูกหนีล้ ้ มละลาย
168
ม. ๖๑ เป็ นบทบังคับให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลาย เมื่อได้
ดาเนินคดีตามขั้นตอนของมาตราดังกล่าวครบถ้วน ส่ วนปัญหาที่
จาเลยฎีกาคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดและอยูใ่ นระหว่างพิจารณา
ไม่กระทบถึงการที่ศาลชั้นต้นจะดาเนินคดีลม้ ละลายต่อไปตาม
ขั้นตอน (๙๘๐/๓๑, ๓๖๗/๓๒, ๓๕๘๒/๓๖)
ม.๖๒
การล้มละลายของของลูกหนี้เริ่ มต้นมีผลตั้งแต่วนั ทีศ่ าลมีคาสัง่
พิทกั ษ์ทรัพย์ เป็ นผลเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี้และ
การดาเนินการตามพ.ร.บ.ล้มฯ ดังกล่าวโดยเฉพาะ เช่น ม. ๑๙,
๒๒, ๒๔, ๒๕, ๓๐, ๓๑, ๔๕ เป็ นต้น เท่านั้น หามีผลให้สถานะ
ของบุคคลเปลี่ยนเป็ นบุคคลล้มละลายตั้งแต่วนั ที่ศาลมีคาสั่ง
พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดไม่ (ฎ.๗๖๓/๒๕๒๗,๑๔๔๘๘/๒๕๕๕)
170
ส่ วนที่ ๙ การควบคุมตัวและทรัพย์ สินของลูกหนี้
และการจากัดสิ ทธิ มาตรา ๖๔ ถึง ๖๗
ม. ๖๔ ฝ่ าฝื นโทษตามม. ๑๖๒ ปรับไม่เกิน ๒๐๐ บาทหรื อจาคุกไม่
เกิน ๔ เดือนหรื อทั้งจาทั้งปรับ
ม. ๖๕ ฝ่ าฝื นโทษตามม. ๑๖๒ และผลตามมาตรา ๘๑/๓ หยุดนับ
ระยะเวลาการปลดล้ มละลาย รวมแล้ วเป็ น ห้ าปี ได้
ม. ๖๗(๑) ประกอบมาตรา ๑๒๑
ม. ๖๗(๓)***ฝ่ าฝื นโทษตามม. ๑๖๑ ปรับไม่เกิน ๑๐๐ บาทหรื อ
จาคุกไม่เกิน ๒ เดือน หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ในทางปฏิบตั ิ เน้ น มาตรา ๖๗(๑)(๓)
171
ช่ องทางทีล่ ูกหนีจ้ ะหลุดพ้นจากกระบวนการล้ มละลาย
๑. การประนอมหนีภ้ ายหลังล้ มละลาย ตามม. ๖๓
๒. การปลดจากล้ มละลาย ม. ๖๗/๑ ถึง ม. ๘๑/๔
๓. การยกเลิกการล้ มละลาย ม.๑๓๕ ถึง ม. ๑๓๘
172
มาตรา ๖๓ การประนอมหนีภ้ ายหลังล้มละลาย
๑. จะยืน่ คาขอประนอมหนี้ภายหลังล้มละลายกี่ครั้งก็ได้ แต่ถา้
ลูกหนี้ได้เคยยืน่ คาขอประนอมหนี้ไม่เป็ นผลมาแล้ว ห้ามมิให้
ลูกหนี้ขอประนอมหนี้ภายในกาหนดสามเดือน นับแต่วนั ที่การ
ขอประนอมหนี้ครั้งสุ ดท้ายไม่เป็ นผล
๒. ถ้าศาลเห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ ศาลมีอานาจสัง่ ให้ยกเลิก
การล้มละลาย
173
ข้ อสั งเกต
๑. เป็ นคนละกรณี กบั การยกเลิกการล้มละลายตาม ม.๑๓๕
๒.กรณี ลูกหนี้ขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย เมื่อศาลเห็นชอบด้วย
คาขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย ศาลไม่ตอ้ งสัง่ ยกเลิกการ
ล้มละลาย เพราะกรณี ดงั กล่าวศาลยังไม่ได้พิพากษาให้ลกู หนี้
ล้มละลาย
๓. ถ้าลูกหนี้ไม่สามารถปฏิบตั ิตามคาขอประนอมหนี้ภายหลัง
ล้มละลายได้ ลูกหนี้ไม่ตกเป็ นบุคคลล้มละลายทันที ศาลต้องมี
คาพิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลายอีกครั้งก่อน (ฎ. ๒๑๒/๒๕๒๗)
174
ส่ วนที่ ๑๐ การปลดจากล้มละลาย (Discharge)
มี ๒ กรณี
๑. เมื่อศาลได้มีคาสัง่ ปลดจากล้มละลายตามมาตรา ๗๑ หรื อ
๒. เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาตามมาตรา ๘๑/๑
• Automatic Discharge or Discharge by Operation of Law
• การหยุดนับระยะเวลาตามม. ๘๑/๒ ถึง ๘๑/๔
175
ผลของคาสั่ งปลดจากล้มละลาย
๑. มาตรา ๗๗
หนี้ท้ งั สองประเภทนี้บุคคลล้มละลายซึ่ งถูกปลดจากล้มละลายแล้ว
จะต้องชาระต่อไปจนครบถ้วน แม้เจ้าหนี้ไม่ได้ยนื่ คาขอรับชาระ
หนี้ภายในกาหนดตามม. ๙๑ (๖๓๔/๒๕๕๔)
๒. มาตรา ๗๘
176
หลักกฎหมาย
• เจ้าหนี้ในมูลหนี้ภาษีอากร หรื อมูลหนี้อื่นๆ ตามมาตรา ๗๗
แม้ไม่ได้ยนื่ คาขอรับชาระหนี้ภายในกาหนด หากลูกหนี้ได้รับ
การปลดจากการล้มละลายหลังครบกาหนด ๓ ปี หรื อลูกหนี้ยนื่
คาขอประนอมก่อนล้มละลายสาเร็ จ เจ้าหนี้ดงั กล่าวยังมีสิทธิ
เรี ยกร้องจากลูกหนี้ในมูลหนี้ดงั กล่าวได้
177
หมวด ๒ กระบวนพิจารณาในกรณีทลี่ ูกหนีต้ าย
วิธีฟ้องขอให้ จดั การมรดกของลูกหนีท้ ตี่ ายตามกฎหมายล้ มละลาย
๑. แม้ลูกหนี้จะตายไปแล้ว คือไม่มีสภาพบุคคล ลูกหนี้กอ็ าจถูกฟ้ อง
ให้จดั การมรดกได้ตามมาตรา ๘๒
๒. เจ้าหนี้ตอ้ งยืน่ ฟ้ องต่อศาลภายใน ๑ ปี นับแต่วนั ที่ลูกหนี้ตาย
เจ้ าหนีจ้ ะรู้ เมื่อไรไม่ สาคัญ
178
ข้ อสั งเกต
๑. ป.วิ.พ.ม.๔๒ ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในคดีที่คา้ งพิจารณาอยู่
ในศาลได้มรณะเสี ยก่อนศาลพิพากษาคดี …เข้ ามาเป็ นคู่ความ
แทนทีผ่ ้ ูมรณะ…
๒.ป.อ.ม.๓๘ โทษให้เป็ นอันระงับไปด้วยความตายของผูก้ ระทา
ความผิด
๓.ป.วิ.อ.ม.๓๙ สิ ทธิ ในการนาคดีอาญามาฟ้ องย่อมระงับไป
(๑) โดยความตายของผูก้ ระทาความผิด
179
๓. ตามมาตรา ๘๔ ก่อนที่ศาลจะพิพากษา ศาลจะพิจารณา
หลักเกณฑ์ตามมาตรา ๑๔ หากได้ ความจริง ศาลจะไม่ มีคาสั่ ง
พิทกั ษ์ ทรัพย์ เด็ดขาด แต่ จะมีคาพิพากษาให้ จดั การทรัพย์ มรดก
ของลูกหนี้ (ฎ.๑๒๙๘/๒๕๐๓)
๔. กรณี ลูกหนี้ตายก่อนฟ้ องแล้ว เจ้าหนี้บรรยายฟ้ องตามม.๑๔ ศาล
ต้องยกฟ้ อง (ฎ.๑๒๐/๒๕๓๖) เจ้าหนี้ตอ้ งบรรยายฟ้ องตาม
มาตรา ๘๒
180
หมวด ๓ กระบวนพิจารณาในกรณีทลี่ ูกหนีเ้ ป็ นห้ างหุ้นส่ วน
สามัญ ห้ างหุ้นส่ วนจากัด บริษทั จากัดหรือนิตบิ ุคคลอืน่
นิตบิ ุคคลล้ มละลายได้ ๒ กรณี
๑.๑ ถูกฟ้ องให้ลม้ ละลายตามม.๙ หรื อ ม.๑๐
๑.๒ ถูกยืน่ คาร้ องขอให้ลม้ ละลาย ม. ๘๘
ดู ป.พ.พ.ม.๑๒๖๖ ประกอบ
ม.๑๒๖๖ ถ้าผูช้ าระบัญชีมาพิจารณาเห็นว่า เมื่อเงินลงทุนหรื อเงิน
ค่าหุน้ ได้ใช้เสร็ จหมดแล้ว สิ นทรัพย์กย็ งั ไม่กบั หนี้สินไซร้
ผูช้ าระบัญชีตอ้ งร้องขอต่อศาลทันที เพื่อให้ออกคาสัง่ ว่า
ห้างหุน้ ส่ วนหรื อบริ ษทั นั้นล้มละลาย
181
• ป.พ.พ.ม.๑๐๑๒ อันว่าสัญญาจัดตั้งห้างหุน้ ส่ วนหรื อบริ ษทั นั้น
คือ สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ สองคนขึน้ ไปตกลงเข้ ากันเพือ่ กระทา
กิจการร่ วมกัน ด้ วยประสงค์ จะแบ่ งปันกาไรอันจะพึงได้แต่
กิจการที่ทานั้น
• ม.๑๐๒๖ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วนทุกคนต้องมีสิ่งหนึ่งสิ่ งใดมาลงหุน้ ด้วย
ในห้างหุน้ ส่ วน
สิ่ งที่นามาลงหุน้ ด้วยนั้น จะเป็ นเงินหรื อทรัพย์สินสิ่ งอื่นหรื อลง
แรงงานก็ได้
182
• มาตรา ๑๐๑๓ อันห้างหุ น้ ส่ วนหรื อบริ ษทั นั้น ท่านกาหนด
เป็ นสามประเภท คือ
(๑) ห้างหุ น้ ส่ วนสามัญ
(๒) ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด
(๓) บริ ษทั จากัด
183
• มาตรา ๑๐๙๖ อันว่าบริ ษทั จากัดนั้น คือ บริ ษทั ประเภทซึ่ง
ตั้งขึ้นด้วยแบ่งทุนเป็ นหุ น้ มีมูลค่าเท่าๆกัน โดยผูถ้ ือหุน้
ต่างรับผิดจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนยังส่ งใช้ไม่
ครบมูลค่าของหุ น้ ที่ตนถือ
184
หมวด ๕ การชาระบัญชีห้างหุ้นส่ วนจดทะเบียน
ห้ างหุ้นส่ วนจากัด และบริษทั จากัด
• มาตรา ๑๒๕๐ หน้าที่ของผูช้ าระบัญชี คือ ชาระสะสางการงาน
ของห้างหุน้ ส่ วนหรื อบริ ษทั นั้นให้เสร็ จไป กับจัดการใช้หนี้เงิน
และแจกจาหน่ายสิ นทรัพย์ของห้างหุน้ ส่ วนหรื อบริ ษทั นั้น
• มาตรา ๑๒๕๑ ห้างหุน้ ส่ วนก็ดี บริ ษทั ก็ดี ในเมื่อเลิกกันเพราะ
เหตุอื่นนอกจากกม.ล้มละลาย หุน้ ส่ วนผูจ้ ดั การห้างหรื อ
กรรมการของบริ ษทั ย่อมเข้าเป็ นผูช้ าระบัญชี เว้นไว้แต่ขอ้ สัญญา
ของห้างหรื อข้อบังคับบริ ษทั จะมีกาหนดไว้เป็ นสถานอื่น
185
หมวด ๔ บริษัทจากัด ส่ วนที่ ๘ เลิกบริษัท
• มาตรา ๑๒๓๖ อันบริ ษทั จากัดย่ อมเลิกกันด้วยเหตุดงั จะกล่าวต่อไปนี้
(๑) ถ้าในข้อบังคับของบริ ษทั มีกาหนดกรณี อนั ใดเป็ นเหตุที่จะเลิกกัน
เมือมีกรณี น้ นั
(๒) ถ้าบริ ษทั ได้ต้ งั ขึ้นไว้เฉพาะกาหนดกาลใด เมื่อสิ้ นกาหนดกาลนั้น
(๓) ถ้าบริ ษทั ได้ต้ งั ขึ้นเฉพาะเพื่อทากิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแต่อย่าง
เดียว เมื่อเสร็ จการนั้น
(๔) เมื่อมีมติพิเศษให้เลิก
(๕) เมื่อบริ ษทั ล้มละลาย
186
• มาตรา ๑๒๔๙ ห้างหุ น้ ส่ วนก็ดี บริ ษทั ก็ดี แม้จะได้เลิกกัน
แล้ว ก็ให้พึงถือว่ายังคงตั้งอยูต่ ราบเท่าเวลาทีจ่ าเป็ น เพื่อ
การชาระบัญชี
187
คาถาม
• หากเจ้าหนี้ประสงค์จะฟ้ องล้มละลายห้างหุน้ ส่ วนสามัญที่ไม่จด
ทะเบียน ซึ่ งห้างฯมีหนี้ ๓ ล้านบาท เจ้าหนี้จะฟ้ องได้หรื อไม่
หากฟ้ อง จะฟ้ องใครเป็ นลูกหนี้?
188
คาถาม
• คาว่ า “สิ นทรัพย์ กย็ งั ไม่ พอกับหนีส้ ิ น” นั้น ต้ องมีหนีส้ ิ น
ไม่ น้อยกว่ า ๒ ล้ านบาทด้ วยหรือไม่ ?
189
คาตอบ
• เมื่อศาลพิจารณาได้ความว่าสิ นทรัพย์ไม่พอกับหนี้สิน
(ไม่ คานึงถึงจานวน) ศาลจะมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด
(ฎ.๑๑๗๒/๒๕๒๑)
190
ข้ อสั งเกต
๒. เมื่อศาลพิจารณาได้ ความจริงตามม.๘๘ ศาลจะมีคาสั่ งพิทักษ์
ทรัพย์ ยังไม่พิพากษาให้ลูกหนี้ลม้ ละลายทันที
มาตรา ๘๙
“การขอให้ ห้ ุนส่ วนไม่ จากัดความรับผิดล้ มละลายตามห้ างฯ”
ป.พ.พ.ม.๑๐๒๕ อันว่าห้ างหุ้นส่ วนสามัญนั้นคือ ห้างหุน้ ส่ วน
ประเภทซึ่งผูเ้ ป็ นหุ้นส่ วนหมดทุกคนต้ องรับผิดร่ วมกันเพือ่ หนี้
ทั้งปวงของหุ้นส่ วนโดยไม่ มีจากัด
191
ป.พ.พ.ม.๑๐๗๗
อันห้ างหุ้นส่ วนจากัดนั้นคือ ห้างหุน้ ส่ วนประเภทหนึ่งซึ่งมีผเู้ ป็ น
หุน้ ส่ วนสองจาพวก ดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(๑) ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่ วนคนเดียวหรื อหลายคนซึ่ งมีจากัดความรับผิด
เพียงไม่ เกินจานวนเงินทีต่ นรับจะลงหุ้นในห้ างหุ้นส่ วนนั้น
จาพวกหนึ่ง และ
(๒) ผูเ้ ป็ นหุ้นส่ วนคนเดียวหรื อหลายคนซึ่งต้องรับผิดร่ วมกันใน
บรรดาหนี้ของห้างหุน้ ส่ วนไม่ มีจากัดจานวนอีกจาพวกหนึ่ง
192
ข้ อสั งเกต
๑. มาตรา ๘๙ ใช้กบั ลูกหนี้ประเภทใดบ้าง
๒.หุน้ ส่ วนจาพวกไม่จากัดความรับผิดจะต้องสู้ได้หรื อไม่วา่ ตนเอง
ไม่ได้มีหนี้สินล้นพ้นตัวหรื อมีทรัพย์สินพอชาระหนี้
193
คาตอบ
• ไม่ได้ เพราะประเด็นในการพิจารณาในกรณีนีม้ ีเพียงว่ า ผู้ถูก
ขอให้ ล้มละลายนั้นเป็ นหุ้นส่ วนจาพวกไม่ จากัดความรับผิดใน
ขณะที่โจทก์ฟ้องและขณะที่ศาลมีคาสั่งพิทกั ษ์ทรัพย์หา้ ง
หุน้ ส่ วนสามัญจดทะเบียนหรื อห้างหุน้ ส่ วนจากัดไว้เด็ดขาด
หรื อไม่เท่านั้น (ฎ.๗๐๙๓/๒๕๔๕) เพราะตนเองต้องรับผิด
ร่ วมกับห้างอยูแ่ ล้ว
• ต้องเป็ นหุน้ ส่ วนอยูใ่ นขณะที่โจทก์ฟ้องและขณะทีศ่ าลมีคาสั่ง
พิทกั ษ์ทรัพย์ของห้างเด็ดขาดด้วย (ฎ.๒๙๓๗/๔๔, ๒๗๗๘/๕๒)
194
ข้ อสั งเกต
๓. เจ้าหนี้ผเู้ ป็ นโจทก์อาจจะฟ้ องหุน้ ส่ วนไม่จากัดความรับผิดให้
ล้มละลายพร้อมห้างฯ เลยทีเดียวก็ได้
(ฎ.๓๔๗๙/๒๕๒๙, ๓๓๖๙/๒๕๔๑)
ซึ่งแตกต่างจากกรณี เจ้าหนี้ฟ้องลูกหนี้ร่วมหรื อบุคคลที่ตอ้ งรับผิด
อย่างลูกหนี้ร่วมให้ลม้ ละลาย ตามม. ๙, ๑๐ ซึ่งการพิจารณาความ
มีหนี้สินล้นพ้นตัว พิจารณาเป็ นการเฉพาะตัว
กรณี ที่ใช้ ม.๘๙ หมายความว่าเจ้าหนี้ผเู ้ ป็ นโจทก์ไม่ได้ฟ้องหุน้ ส่ วน
ไม่จากัดความรับผิดร่ วมกับห้างฯ มาแต่แรก
195
พรบ.แก้ ไขเพิม่ เติม ปพพ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๕๗
มาตรา ๗๒๗/๑ ไม่วา่ กรณี จะเป็ นประการใด ผูจ้ านองซึ่ งจานอง
ทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้อนั บุคคลอื่นจะต้องชาระ ไม่
ต้องรับผิดในหนี้น้ นั เกินราคาทรัพย์สินที่จานองในเวลาที่บงั คับ
จานอหรื อเอาทรัพย์จานองหลุด
ข้อตกลงอันมีผลให้ผจู้ านองรับผิดเกินที่บญั ญัติไว้ในวรรคหนึ่ง
หรื อให้ผจู ้ านองรับผิดอย่างผูค้ ้ าประกัน ข้อตกลงนั้นเป็ นโมฆะ
ทั้งนี้ ไม่วา่ ข้อตกลงนั้นจะมีอยูใ่ นสัญญาจานองหรื อทาเป็ น
ข้อตกลงต่างหาก
ผลกระทบ
ผูร้ ับจานองในฐานะเจ้าหนี้มีประกันไม่อาจฟ้ องผูจ้ านองซึ่ งจานอง
ทรัพย์สินของตนไว้เพื่อประกันหนี้อนั บุคคลอื่นจะต้องชาระหนี้
ให้ลม้ ละลายได้อีกต่อไป เพราะผูร้ ับจานองในกรณี น้ ีเป็ นผู้
ต้องห้ามมิให้บงั คับการชาระหนี้เอาแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้ผู ้
จานองเกินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็ นหลักประกัน ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๗๒๗/๑ ประกอบพรบ.ล้มฯ
มาตรา ๑๐(๑)
ข้ อสั งเกต ใช้บงั คับเฉพาะสัญญาจานองซึ่งทาตั้งแต่วนั ที่ 11 ก.พ. 58
เป็ นต้นไป
ฎ. ๕๕๘๔/๒๕๕๕
จาเลยเป็ นผู้ซื้อทรัพย์ สินจากการขายทอดตลาดในคดีแพ่ งโดยติด
จานอง เจ้าหนี้จานองย่อมมีสิทธิที่จะบังคับเอาแก่ตวั ทรัพย์สินซึ่ ง
จานองได้ จาเลยเป็ นเพียงผูร้ ับโอนทรัพย์สินซึ่งจานองอันมีสิทธิ
และหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ลักษณะ ๑๒
หมวด ๕ หาทาให้ จาเลยมีฐานะเป็ นผู้จานองไม่ โจทก์จะอาศัย
สิ ทธิความเป็ นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษาในคดีแพ่งมาฟ้ องขอให้
บังคับจาเลยซึ่งเป็ นผูร้ ับโอนทรัพย์สินซึ่ งจานองให้รับผิดใน
ฐานะผูจ้ านองแก่โจทก์ดว้ ยหาได้ไม่
โจทก์ในฐานะผูร้ ับจานองมีบุริมสิ ทธิเหนือทรัพย์สินซึ่งจานองที่
จาเลยรับโอนจากการขายทอดตลาดของเจ้าพนักงานบังคับคดี
โจทก์ จงึ เป็ นเจ้ าหนีม้ ีประกันตามพระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ.
๒๔๘๓ มาตรา ๖ และโจทก์ คงมีสิทธิบังคับชาระหนีจ้ านองได้
เฉพาะจากการขายทอดตลาดทรัพย์ สินซึ่งจานอง โดยจาเลยผู้รับ
โอนทรัพย์ สินซึ่งจานองไม่ จาต้ องรับผิดในหนีท้ ี่ค้างชาระและยัง
ขาดอยู่ โจทก์ยอ่ มเป็ นเจ้าหนี้มีประกันที่เป็ นผูต้ อ้ งห้ามมิให้
บังคับชาระหนี้เอาแก่ทรัพย์สินของจาเลยเกินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็ น
หลักประกัน โจทก์ จงึ ต้ องห้ ามมิให้ ฟ้องจาเลยล้ มละลาย ตาม
มาตรา ๑๐(๑)
ฎีกากลุ่มกฎหมายทีใ่ ช้ ในการดาเนินคดีล้มละลาย
พรบ.จัดตั้งศาลล้มฯ มาตรา ๑๔ นอกจากที่บญั ญัติไว้ในพรบ.นี้
กระบวนพิจารณาในศาลล้มละลายให้เห็นไปตามกฎหมายว่า
ด้วยล้มละลาย และข้อกาหนดตามมาตรา ๑๙ ในกรณี ที่ไม่มี
บทบัญญัติและข้อกาหนดดังกล่าว ให้ นาบทบัญญัตแิ ห่ งประมวล
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง ...มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
ฎ. ๖๕๒๕/๒๕๕๔ ในการขอแก้ไขคาฟ้ อง พรบ.จัดตั้งฯ มิได้
บัญญัติไว้โดยเฉพาะ จึงต้องนา ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘๐ มาใช้บงั คับ
โดยอนุโลม
มาตรา ๒๒: ฎ. ๑๑๑๙/๒๕๕๔
เมื่อปรากฏว่าในขณะที่ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ที่ ๑
(จาเลย) เด็ดขาดนั้น ลูกหนี้ที่ ๑ มีสิทธิที่จะได้รับเงินสะสม เงิน
สมทบ และผลประโยชน์ของเงินสะสม และเงินสมทบจาก
กองทุนสารองเลี้ยงชีพฯ ผูค้ ดั ค้านที่ ๑ โดยมีเงื่อนไขว่าจะได้รับ
ต่อเมื่อลูกหนี้ที่ ๑ พ้นจากสมาชิกภาพของกองทุนสารองเลี้ยงชีพ
แล้ว เช่นนี้สิทธิเรียกร้ องดังกล่ าวจึงเป็ นสิ ทธิที่ลูกหนีท้ ี่ ๑ มีอยู่ใน
เวลาเริ่มต้ นแห่ งการล้ มละลาย ย่ อมเป็ นทรัพย์ สินอันอาจแบ่ งได้
ในคดีล้มละลาย ตามม. ๑๐๙(๑)
จพท.มีอานาจแบ่งให้แก่เจ้าหนี้ท้ งั หลายตามมาตรา ๒๒ และมาตรา
๑๒๑ ทั้งนี้ แม้วา่ สิ ทธิ เรี ยกร้องดังกล่าวนั้นจะมีเงื่อนไขก็ตาม
ส่ วนที่ลูกหนี้ที่ ๑ จะขอรับเงินค่าใช้จ่ายเลี้ยงชีพสาหรับตนเอง
และครอบครัวนั้น ลูกหนีท้ ี่ ๑ จะต้ องยืน่ คาขอ ให้จพท.กาหนด
จานวนเงินตามที่เห็นสมควรตามมาตรา ๖๗(๑) จะขอให้หกั จาก
เงินที่อายัดไว้โดยไม่ดาเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายหาได้
ไม่
มาตรา ๒๒(๓):ฎีกาที่ ๗๔๐๙/๒๕๕๕
ก่อนที่จาเลยจะยืน่ คาร้ องขอให้ เพิกถอนการบังคับคดี (อ้างว่า
จบค. ฝ่ าฝื นป.วิ.พ.ม.๒๙๖ ในการออกหนังสื อโอนกรรมสิ ทธิ์
ให้แก่ผซู ้ ้ื อทรัพย์จากการขายทอดตลาด) จาเลยถูกศาลสัง่ พิทกั ษ์
ทรัพย์เด็ดขาด เมื่อการร้องขอให้เพิกถอนการบังคับคดีเป็ นการ
ต่อสู้คดีใดๆ หรื อการกระทาใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
เป็ นอานาจของจพท.แต่ผเู้ ดียว จาเลยจึงไม่มีอานาจยืน่ คาร้อง
ขอให้เพิกถอนการบังคับคดีได้
การร้ องขอให้ งดการบังคับคดีเป็ นการต่ อสู้ คดีใดๆ เกีย่ วกับ
ทรัพย์ สินของลูกหนีอ้ ย่ างหนึ่งอันเป็ นอานาจของเจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนี้จึงไม่มีสิทธิ ยนื่ คาร้อง
(ฏ. ๒๒๑๙๔/๒๕๕๕)
• การร้ องคัดค้ านการขายทอดตลาดทรัพย์ สินในคดีแพ่งเป็ นการ
ต่อสู้คดีใดๆ หรื อกระทาการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
อย่างหนึ่งอันเป็ นอานาจของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ จาเลยจึง
ไม่ มีอานาจร้ องคัดค้ านการขายทอดตลาด (ฎ.๕๒๖๘/๒๕๕๑,
๕๑๑๕/๒๕๕๔)
206
หมวด ๔ ส่ วนที่ ๓ ว่ าด้ วยผลของการล้ มละลาย
เกีย่ วกับกิจการที่ได้ กระทาไปแล้ว
มาตรา ๑๑๐ “คาสัง่ ของศาลที่ให้ยดึ หรื ออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้
ไว้ชวั่ คราว หรื อหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้น้ นั จะใช้
ยันแก่ จพท. ของลูกหนี้ไม่ได้ เว้นแต่การบังคับคดีน้ นั ได้สาเร็ จ
บริ บูรณ์แล้วก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์...
บทบัญญัตใิ นมาตรานีไ้ ม่ กระทบถึงสิ ทธิของเจ้ าหนีม้ ีประกันในการ
บังคับคดีแก่ ทรัพย์ สินอันเป็ นหลักประกัน...
มาตรา ๑๑๒ ถ้ าในระหว่ างที่การบังคับคดียงั ไม่ สาเร็จบริ บูรณ์ จบค.
ได้รับแจ้งความว่าลูกหนี้ถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ ให้ จบค.แจ้งรายการ
ทรัพย์สินของลูกหนี้ที่อยูใ่ นอานาจหรื อความยึดถือของตนแก่
จพท. และให้ปฏิบัตติ ามคาขอของ จพท. เกีย่ วกับทรัพย์ สินนั้น
...
ฎีกา ๑๒๗๕๘/๒๕๕๕
หลังจากศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของจาเลยเด็ดขาด
เมื่อวันที่ ๘ ก.ค. ๔๖ และมีคาพิพากษาให้จาเลยล้มละลายเมื่อ
วันที่ ๗ เม.ย. ๔๗ แล้ว ไม่ปรากฏว่าจพท.ได้มีคาขอให้จบค.
ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเกี่ยวกับทรัพย์พิพาท หรื อ
มอบหมายให้จบค.ดาเนินการขายทอดตลาดทรัพย์พิพาทแทน
หรื อจบค.ได้มีหนังสื อสอบถามไปยังจพท.เพื่อดาเนินการขาย
ทอดตลาดทรัพย์พิพาทในคดีน้ ีต่อไปในเวลาภายหลังจากนั้น
และเพิ่งสัง่ คาร้องของโจทก์ที่ขอให้จบค.ดาเนินการขาย
ทอดตลาดทรัพย์พิพาทว่า ให้สอบถามจพท.ว่าจะให้ดาเนินการ
อย่างไรเกี่ยวกับทรัพย์ของจาเลยในคดีน้ ีภายหลังจากที่
ดาเนินการขายทอดตลาดทรัพย์พิพาทไปแล้ว มีผลเท่ ากับจบค.
ได้ ขายทอดตลาดทรัพย์ พพิ าทไปตามอานาจหน้ าที่ของตนใน
การบังคับคดีแพ่งตามบทบัญญัติแห่ ง ป.วิ.พ. ภาค ๔ ลักษณะ ๒
การบังคับคดีตามคาพิพากษาหรื อคาสัง่ มิใช่เป็ นการขาย
ทอดตลาดในคดีลม้ ละลายอันเป็ นอานาจของจพท.หรื อถือว่า
ได้รับมอบหมายจากจพท. เมื่อทรัพย์พิพาทเป็ นทรัพย์สินซึ่ง
จาเลยจานองเป็ นหลักประกันการชาระหนี้แก่โจทก์เดิม แม้ศาล
ล้มละลายกลางมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ของจาเลยเด็ดขาด แต่คาสัง่
พิทกั ษ์ทรัพย์ไม่กระทบถึงสิ ทธิของโจทก์เดิมในฐานะเจ้าหนี้มี
ประกันในการที่จะบังคับคดีแก่ทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน
ต่อไปได้ตาม พรบ.ล้มฯมาตรา ๑๑๐ วรรคท้าย ดังนั้น เมื่อจบค.
ดาเนินการบังคับคดีโดยขายทอดตลาดทรัพย์พิพาทฝ่ าฝื นต่อบท
กฎหมาย โจทก์ ย่อมมีอานาจยืน่ คาร้ องขอให้ เพิกถอนการขาย
ทอดตลาดในคดีแพ่งนีไ้ ด้ โดยหาจาต้องไปยืน่ คาร้องในคดี
ล้มละลายไม่
ข้ อสั งเกตจากการตรวจข้ อสอบ
๑. ทาไม่ครบทุกข้อ แก้ปัญหาด้วยการแบ่งเวลาให้เหมาะสม
๒. ไม่ใช้ถอ้ ยคาในตัวบทกฎหมาย ต้องท่องจาประมวลกฎหมายให้
ได้
๓. วิธีการตอบ วางหลักกฎหมาย วินิจฉัยแยกที่ละประเด็น
แยกเป็ นประเด็นๆละย่อหน้า
๔. ฝึ กเขียนคาตอบจากข้อสอบเก่า
๕. อื่นๆ เช่น ตอบข้อใหม่ให้ข้ ึนหน้าใหม่ ลายมือ เป็ นต้น
212
การเตรียมตัวสอบเนติฯ
1. คนสอบผ่านไม่มีใครท่องตัวบทได้ทุกมาตรา อ่านตาราหรื อคา
บรรยายทันทุกวิชาทุกได้สองรอบ สรุ ปคือ อ่านไม่ทนั เป็ นเรื่ อง
ปรกติ
2. ความเครี ยดมีเป็ นธรรมดา ธรรมชาติ มันขึ้นอยูก่ บั ว่า เราจะ
บริ หารจัดการกับความเครี ยดได้ดีเพียงใด ไม่ตอ้ งกับ 100%
หรื อ 80% ขอแค่ 50% ก็พอแล้ว
3. ศึกษากฎหมายเพื่อให้เข้าใจเจตนารมณ์/วัตถุประสงค์และ
หลักการของกฎหมายในมาตรานั้นๆ อย่าไปวิง่ ไล่ฎีกาซึ่ งเป็ น
ตัวอย่างการใช้กฎหมายและข้อเท็จจริ งเฉพาะคดีน้ นั อยูก่ บั หลัก
4. ทาข้อสอบเก่าและจาลองสถานการณ์จริ ง
5. ทาบุญ
ขอให้ นักศึกษาทุกท่ าน
ประสบความสาเร็จ
ในการสอบเนติครั้งนี้
ขอบคุณครับ