ความขัดแย้งระหว่างชนกลุ่มน้อยกับรัฐบาลพม่า

Download Report

Transcript ความขัดแย้งระหว่างชนกลุ่มน้อยกับรัฐบาลพม่า

ความขัดแย้ งระหว่ างชนกลุ่มน้ อยกับ
รัฐบาลพม่ า
Conflict of the Burmese
Government and the Ethnic
Minority Groups
ความหมายของชนกลุ่มน้อย
► “ชนกลุ่มน้ อย”
หมายถึง ชนเผ่า หรื อคนต่างเชื้อชาติ ต่างชาติพนั ธุ์ที่อาศัย
รวมกันกับชนเผ่าอื่นที่มีจานวนมากกว่า หรื อมีจานวนน้อยเมื่อเทียบกับชน
กลุ่มใหญ่ของประเทศ เป็ นชนกลุ่มที่มีความแตกต่างจากชนส่ วนใหญ่ใน
ด้านต่างๆ กลุ่มชนที่ได้ชื่อว่าชนกลุ่มน้อยนั้น มักจะเป็ นกลุ่มชนที่อพยพมา
จากประเทศอื่นและเข้ามาพักอาศัยอยูช่ วั่ คราว
ปัญหาความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์
► ปั จจุ บน
ั ปั ญหากลุ่มชาติพนั ธุ์ชนกลุ่มน้อยกาลังเป็ นปั ญหาของสังคมโลก
โดยเฉพาะกระแสการเรี ยกร้องปกครองตนเองมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะชนกลุ่ม
น้อยมีความเป็ นชาติพนั ธุ์ เชื้อชาติ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต ทัศนคติ
ความเชื่อ ลัทธิ ศาสนา ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และค่านิยมของตน
แต่ตอ้ งอยู่ร่วมกับชนกลุ่มใหญ่หรื อกับชนกลุ่มน้อยชาติพนั ธุ์อื่น จึงมักเกิด
ปั ญ หาความขัด แย้ง ในการอยู่ ร่ ว มกัน และน ามาซึ่ งปั ญ หาต่ า งๆ อย่ า ง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ และมักเป็ นปัญหาที่สะสมมาเป็ นระยะเวลายาวนาน
เป็ นผลมาจากการกระทาของชนกลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะ
การเลือกปฏิบตั ิและการกีดกัน (Prejudice and discrimination) ตลอดจน
ความไม่ ส มดุ ล ทาง การเมื อ ง เศรษฐกิ จ และสั ง คม และขาดการพัฒ นา
ทรัพยากรมนุษย์
► สาเหตุประการหนึ่ ง
ความเป็ นมาและภูมิหลังของความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ์ในพม่า
► ความขัดแย้งระหว่างทหารรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ
เป็ นสงครามที่ยึดเยื้อกินเวลาช้านาน นับตั้งแต่สมัยที่พม่าได้รับเอกราชจาก
อัง กฤษในปี ค.ศ.1948 ความขัด แย้ง ระหว่ า งเชื้ อ ชาติ ภ ายในพม่ า ซึ่ ง
วิวฒั นาการมาเป็ นสงครามกลางเมืองนี้ อาจนับถอยหลังไปได้จนถึงสมัย
พม่าตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษตั้งแต่ปี ค.ศ.1824 เป็ นต้นมา
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น
ก่อนพม่าจะตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษอย่างสมบูรณ์ ในปี
ค.ศ.1886 อังกฤษได้ผนวกพม่าและดินแดนของชนกลุ่มน้อยต่างๆ เข้าเป็ น
มณฑลหนึ่ งของอินเดี ย ซึ่ งอังกฤษเป็ นเจ้าอาณานิ คมในขณะนั้น รั ฐบาล
อัง กฤษซึ่ งเข้า มาปกครองพม่ าโดยใช้น โยบาย “แบ่ ง แยกและปกครอง”
(divide and rule) เพราะอังกฤษได้แบ่งแยกรัฐของกลุ่มน้อยออกจากรัฐของ
ชาวพม่า และใช้ระบบการปกครองที่ต่างกันออกเป็ น 2 ส่ วนคือ “พม่าแท้”
(Burma proper) กับ “เขตชายแดน” (Frontier Areas)
► ประเด็นแรก:
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► อังกฤษถอนตัวออกจากพม่าอย่างกะทันหัน พร้อมกับทิ้งปั ญหาความขัดแย้ง
ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ไว้ให้รัฐบาลกลางของพม่าซึ่ งเข้ามารับภาระหน้าที่แทน
ผูน้ ารัฐบาลพม่าในช่วงที่ได้รับอิสรภาพแล้ว
► นับตั้งแต่นายพลออง ซาน อู นุ และนายพลเนวิน ต่างก็มีทศั นคติต่อการ
รวมชาติและความเป็ นเอกภาพในบริ บทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ
ในพม่าที่แตกต่างกันออกไป
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► สงครามกลางเมืองที่ได้เริ่ มก่ อตัวตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948
จนถึงช่วงวิกฤตใน
ทศวรรษที่ 1960
► นับแต่น้ น
ั มา พม่าก็ได้กลายเป็ นดินแดนแห่งการสูร้ บระหว่างรัฐบาลกลาง
กับกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ จนถึงปัจจุบนั
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
จากสภาพภูมิประเทศซึ่งแยกชุมชนของกลุ่มชาติพนั ธุ์ออก
จากกัน ด้วยเทือกเขาสูง ป่ าทึบและแม่น้ า
► อีกทั้งยังส่ งเสริ มให้เกิดความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและภาษาของกลุ่ม
ชาติพนั ธุ์โดยการคงเอกลักษณ์เด่นของตนไว้ ไม่มีการผสมผสานเพื่อ
ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และการยอมรับซึ่งกันและกัน
► ประเด็นต่ อมา
สาเหตุความขัดแย้งมีหลายประเด็น (ต่อ)
► ปั ญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและกองกาลังชนกลุ่มน้อย ได้กลาย
สภาพเป็ นปัญหาที่บนั่ ทอนความมัน่ คงและเอกภาพของรัฐ
► ดังนั้นความจาเป็ นของรัฐบาลพม่าในการที่จะธารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นเอกภาพ
ของรัฐด้วยการทาสงครามสยบกองกาลังชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เหล่านี้
และได้กลายเป็ นภารกิจความสาคัญอย่างยิง่ ยวดในเชิงนโยบายเป็ นสาคัญ
อันดับแรกของประเทศ
กลุ่มประชากรหรื อชาติพนั ธุ์ในพม่า
► ชาวพม่าซึ่ งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 68) จะอาศัยอยูใ่ นบริ เวณพม่าแท้
หรื อบริ เวณราบริ มแม่น้ า
► นอกจากชาวพม่าแล้วยังประกอบด้วยชาวมอญและกะเหรี่ ยงที่อพยพลงมาจากภูเขาสู ง
ในขณะที่ชนกลุ่มอื่นจะอาศัยอยูใ่ นบริ เวณที่ราบสู งหรื อเทือกเขาสู งบริ เวณชายแดน ซึ่ ง
ประกอบด้วยกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่างๆ อาทิ ไทยใหญ่ (Shan) กะเหรี่ ยง (Karen) คะฉิ่ น
(Kachin) ฉิ่ น (Chin) ว้า (Wa) ยะไข่ (Arakanist) และชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น มูเซอ
อีกอ้ ลีซอ ปะหล่อง จีนโกกัง เป็ นต้น ชนกลุ่มน้อยชนต่างๆ เหล่านี้รวมกันประมาณ
ร้อยละ 32 ของประชากรพม่า โดยมีกลุ่มไทยใหญ่ กลุ่มกะเหรี่ ยง กลุ่มมอญ และกลุ่ม
คะฉิ่ น จะมีจานวนเป็ นรองลงมาจากชาติพนั ธุ์พม่าตามลาดับ
สัดส่ วนประชากรจาแนกตามกลุ่มชาติพนั ธุ์ในพม่า
กลุ่มชาติพนั ธุ์
พม่า (Burman)
กะเหรี่ ยง (Karen)
ไทยใหญ่ (Shan)
ยะไข่ (Rakhine)
มอญ (Mon)
ฉิ่ น (Chin)
คะฉิ่ น (Kachin)
อินเดีย (Indai)
โรฮิงยา (Rohingya)
ปะโอ (Pa-O)
จานวนประชากร (คน)
29,000,000
2,650,000 – 7,000,000
2,220,00 – 4,000,000
1,750,000 – 2,500,000
1,100,000 – 4,000,000
750,000 – 1,500,000
500,000 – 1,500,000
800,000
690,000 – 1,400,000
580,000 – 700,000
กลุ่มชาติพนั ธุ์
ทวาย (Tavoyan)
จีน (Chinese)
ปะหล่อง (Palaung)
มูเซอ (Lahu)
คะเรนนี (Karenni)
ว้า (Wa)
ดานุ (Danu)
โกกัง (Kokang)
คะยัน (Kayan)
อาข่า (Akha)
จานวนประชากร (คน)
500,000
400,000
300,000-400,000
170,000-250,000
100,000-200,000
90,000 – 300,000
70,000 -100,000
70,000 – 100,000
60,000 – 100,000
100,000
สรุ ป
► เนื่ องจากในช่วงที่พม่าเป็ นเมืองขึ้นอังกฤษ อังกฤษแยกการปกครองระหว่าง
ชนกลุ่มน้อย และ ชาวพม่า เมื่อพม่าได้เอกราชพม่า(ชาวพม่า) ซึ่ งเป็ นชน
กลุ่มใหญ่ ได้ใช้กาลังเข้าปกครองชนกลุ่มน้อย ต่าง ๆ ในประเทศ ซึ่ งชน
กลุ่มน้อยหลายกลุ่มไม่ยอมอยูใ่ ต้การปกครองของพม่า และทาการต่อสู ้และ
มีกองกาลังของตนเองเพื่อต้องการปกครองตนเองไม่รวมอยู่กบั พม่า ทาง
ฝ่ ายพม่าภายใต้การนาของรัฐบาลทหาร ได้ใช้กาลังทหารและความรุ่ นแรง
เข้าจัดการ จนทาให้เกิ ดการสู ้รบ โดยเฉพาะตามแนวชายแดนไทยซึ่ งเกิ ด
ปัญหาที่ยดึ เยื้อมาจนถึงทุกวันนี้
อ้างอิง
► พรพิมล
ตรี โชติ. ชนกลุ่มน้ อยกับรัฐบาลพม่ า. 2542. สานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจยั : กรุ งเทพฯ
► สื บค้นจาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=. ออนไลน์
[2-8-2011]
► สื บค้นจาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/1026282. ออนไลน์ [2-8-2011]
► สื บค้นจาก http://prachatai.com/journal/2008/04/16490. ออนไลน์ [2-82011]
จัดทาโดย
นางสาวมาดีหะ มะหะมะ
รหัสนักศึกษา 5120710136
เสนอ
อาจารย์ชิดชนก ราฮิมมูลา
งานชิ้นนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา Conflict Resolution in Southeast Asia
( 196-415 )
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี