Transcript Click

ภาวะการเป็ นเมือง
กับปั ญหาสุขภาพอนามัย
อนุ พนั ธ์ สุวรรณพันธ์
เนื้อหา
• ความหมาย โครงสร้างชุมชน
• ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
• ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
• ปั ญหาอนามัยของคนกรุงเทพมหานคร
ความหมายของชุมชน
ชุมชน (Community) ประกอบด้วย
1. มีกลุม่ คนอยูร่ วมกัน
2. มีสถานที่ในอาณาบริเวณเดียวกัน
3. มีความสนใจในเรื่องต่าง ๆ ร่วมกันด้วย
ความสมัครใจและอยูภ่ ายใต้กฎข้อบังคับเดียวกัน
Webster’s New World Dictionary of the American Language
ความหมายของชุมชน
ทางสังคมวิทยา ชุมชนหมายถึง กลุม่ คนที่อาศัย
อยูใ่ นบริเวณเดียวกัน มีความรูส้ ึกเป็ นพวก
เดียวกันและมีความผูกพันกันในทางเศรษฐกิจ
และการเมือง
ความหมายของชุมชน
กลุม่ คนที่มีลกั ษณะ ดังนี้
1. มีการกาหนดระเบียบทางสังคม (Relative
organization) เช่น มีการแบ่งงานกันทา มีการกาหนด
ตาแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
2. มีอาณาบริเวณที่ถือครองเป็ นที่อยูอ่ าศัยของกลุม่
คนในชุมชนนั้น ๆ
3. มีความรูส้ ึกเป็ นพวกเดียวกัน ผูกพันกัน
4. มีเอกลักษณ์เฉพาะของตน เช่น มีศาสนาเดียวกัน
ความหมายของชุมชน
ชุมชน ในอีกความหมายคือ การที่คนจานวนหนึ่ง
มีวตั ถุประสงค์รว่ มกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มี
ความพยายามทาอะไรร่วมกัน มีการเรียนรู ้
ร่วมกันซึ่งรวมทั้งการติดต่อสื่อสารด้วย
ความหมายของชุมชน
ชุมชน ในอีกความหมายเชิงกระบวนการที่มี
พลวัต กล่าวคือ ความเป็ นชุมชนจะวัดหรือดูได้
จากกิจกรรมหรือการเคลื่อนไหวของกลุม่ คนที่
รวมตัวกันว่ามีลกั ษณะอย่างไร โดยพิจารณา
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม การมีส่วนร่วมของคน
ในกลุม่ นั้น ๆ ด้วย
สรุปความหมายของชุมชน
ชุมชน = คน (People) + ความสนใจของคนร่วมกัน
(Common interest) + อาณาบริเวณ (Area) + การ
ปฏิบตั ติ อ่ กัน (Interaction) + ความสัมพันธ์ของกลุ่ม
คน (Relationship)
Community = PCAIR
การเกิดของชุมชน
และความเป็ นมาของชุมชน
มนุษย์เป็ นสัตว์สงั คม
(Man is a social animal)
Aristotle
การทราบความเป็ นมาของชุมชน
ทาให้เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั งิ านใจแนวทางในการทางาน
• ชุมชนที่ก่อตัง้ มานาน มักมีความสัมพันธ์แบบเครือ
ญาติ มีสมั พันธภาพแน่นเหนียว เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ทาให้รวมตัวกันทากิจกรรมด้านสาธารณสุขได้มากกว่า
• ชุมชนที่พึ่งก่อตัง้ จะเป็ นกลุม่ คนที่อพยพมา ไม่ได้
เกี่ยวข้องกัน จึงมีความแตกต่างด้านความคิด ความเชื่อ
ต้องอาศัยเวลาในการสร้างความสานึกร่วมกัน
ชุมชนชนบทใช้ความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ไม่เป็ น
ทางการ จะมีความพร้อมเพรียงในการทากิจกรรม เอื้อ
ต่อการทางานสาธารณสุข
ชุมชนเมืองเป็ นลักษณะทางการ ใช้เสียงส่วนใหญ่หรือ
ใช้การตัดสินแบบประชาธิปไตย ในการทางานด้าน
สาธารณสุขจะประสบผลสาเร็จมากกว่า
การกาหนดขอบเขตของชุมชน
พื้นที่หรืออาณาบริเวณ หรือที่ตง้ั ทางภูมิศาสตร์
การกาหนดขอบเขตของชุมชน
การคมนาคม
การกาหนดขอบเขตของชุมชน
จานวนประชากรและความหนาแน่นของประชากร
แตกต่างกันในแต่ละประเทศ
• ญี่ปุ่น 4,000 คน/ตร.กม.
• ฝรั ่งเศส 2,000 คนขึ้นไป
และปลูกบ้านห่างไม่เกิน
200 เมตร
• อิสราเอล คือศูนย์กลาง
ประชาชนที่มิใช่เกษตรกร
การกาหนดขอบเขตของชุมชน
อาณาเขตการปกครองของรัฐบาลตามกฎหมาย
ในประเทศไทย “พื้นที่เมือง” (Urban area)
หมายถึงพื้นที่ของเขตเทศบาล เทศบาลแบ่ง
ออกเป็ น 3 ประเภท คือ
• เทศบาลนคร (ประชากร 50,000 คนขึ้นไป)
• เทศบาลเมือง (ประชากร 10,000 คนขึ้นไป)
• เทศบาลตาบล (ไม่กาหนดจานวนประชากร
ยกฐานะจากท้องถิ่นตามพรก. 2543)
การกาหนดขอบเขตของชุมชน
ลักษณะการประกอบอาชีพ
ชุมชนในเมือง
ชุมชนชนบท
ภาระหน้าที่ของชุมชน
1. บริการขั้นต้น
การบริการสาธารณสุข
สถาบันศาสนา
สถาบันการศึกษา
ภาระหน้าที่ของชุมชน
2. จัดให้มีสิ่งอานวยความสะดวกเบื้องต้น
ถนน
แหล่งน้ า
ประปา
ไฟฟ้า
ภาระหน้าที่ของชุมชน
3. จัดให้มีหน่วยการปกครองท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตาบล
เทศบาล
ภาระหน้าที่ของชุมชน
4. จัดให้มีการรักษาคุม้ ครองสวัสดิภาพ
สถานีตารวจ
กระบวนการยุตธิ รรม
ภาระหน้าที่ของชุมชน
5. หน้าที่การรักษาความสงบเรียบร้อยในสวัสดิภาพ
ระเบียบ ข้อบังคับ
กฎหมาย
ภาระหน้าที่ของชุมชน
6. ปลูกฝังค่านิยม
การรักชาติ
การรักษาความสะอาด
ชนิดหรือลักษณะของชุมชน
1. ชุมชนในชนบทที่อยูอ่ ย่างโดดเดี่ยวและพึ่งตนเอง
(The isolated relatively self sufficient rural community)
ชนิดหรือลักษณะของชุมชน
2. ชุมชนกึ่งเมือง-กึ่งชนบท
(The town-country community)
ชนิดหรือลักษณะของชุมชน
3. ชุมชนเมือง (Urban community)
ชนิดหรือลักษณะของชุมชน
4. ชุมชนนครบาล (Metropolitan community)
ชนิดหรือลักษณะของชุมชน
อาจแบ่งได้ 2 ประเภท
ชุมชนชนบท
(Rural community)
ชุมชนเมือง
(Urban community)
ดูวีดีทศั น์ตอ่ ไปนี้
1. เขียนชื่อ รหัสนักศึกษา ลงในกระดาษเปล่า
(เช็คชื่อจากงานที่สง่ )
2. ตอบคาถามว่า ชุมชนชนบทและชุมชนในเมือง
ต่างกันอย่างไร แยกเป็ นข้อ
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
1. ลักษณะทางกายภาพ
ชนบท
แวดล้อมด้วยธรรมชาติ
เมือง
แวดล้อมด้วยสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
2. ลักษณะการอยูอ่ าศัย
ชนบท
อยูก่ นั อย่างกระจัดกระจาย
เมือง
อยูก่ นั หนาแน่น ไม่มีที่ว่าง
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
3. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ชนบท
สัมพันธ์ใกล้ชิด ผูกพัน
เมือง
ตามหน้าที่การงาน
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
4. ความรูส้ ึกนึกคิด ทัศนคติ
ชนบท
ยึดเหนี่ยวหรือเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
เมือง
ยึดมั ่นในหลักของ
ผลประโยชน์และเหตุผล
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
5. ชนชั้นในสังคม
ชนบท
ระดับชั้นเดียวกัน อาชีพคล้ายกัน
เมือง
อาชีพแตกต่างกัน
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
6. ความยึดมั ่นในศาสนาและคุณธรรม
ชนบท
เมือง
ยึดมั ่นในศาสนาและคุณธรรม
ต่างคนต่างอยู่ ทางานมาก
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
7. ความหรูหราฟุ่ มเฟื อย
ชนบท
ดาเนินชีวิตเรียบง่าย ไม่ฟุ่มเฟื อย
เมือง
ใช้ของหรูหรา
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
8. อาชีพ
ชนบท
ผูกพันกับการใช้ที่ดินทาการเกษตร
เมือง
อาชีพแตกต่างกันตามความรู ้
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
9. ความสามารถในการเอาชีวิตรอด
ชนบท
ทาได้หลายอย่าง
เมือง
มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
10. เศรษฐกิจ
ชนบท
รายได้ใกล้เคียงกัน
เมือง
รายได้แตกต่างกัน
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
11. การควบคุมทางสังคม
ชนบท
อาศัยขนบธรรมเนียม จารีต
ไม่เป็ นทางการ
เมือง
ใช้กฎระเบียบ
เป็ นทางการ
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
12. การศึกษา
ชนบท
ระดับการศึกษาต ่ากว่าในเมือง
เมือง
ระดับการศึกษาสูงกว่าชนบท
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
13. ความสนใจทางการเมือง
ชนบท
ความสนใจทางการเมืองน้อยและ
ไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรม
เมือง
มีความรูค้ วามเข้าใจทาง
การเมืองและเข้าร่วมกิจกรรม
ความแตกต่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
14. ลักษณะประชากร
ชนบท
คล้ายคลึงกัน
เมือง
แตกต่างกัน
การเกิดชุมชนเมืองและชุมชนแออัดในเมือง
ชุมชนแออัด (Slum)
มี 3 ประเภท
1. ชุมชนดั้งเดิม ตัง้ ถิ่นฐานมานานเกิน 15 ปี
2. ชุมชนใหม่ น้อยกว่า 15 ปี
3. ชุมชนบุกรุก
สาเหตุการเกิดชุมชนแออัดในเมือง
1. จากการอพยพ
2. ขาดแคลนที่อยูอ่ าศัย
3. ปั ญหาเรื่องที่ดิน
4. ขาดการวางผังเมือง
ลักษณะทั ่วไปของชุมชนแออัด
1. ที่อยูอ่ าศัยไม่คงทนถาวร
2. แออัด มีน้ าเน่า ขาดการ
สุขาภิบาล
3. การครอบครองมักบุกรุก
หรือละเมิดสิทธิ์
4. ผูอ้ ยูอ่ าศัยอพยพมาจากที่อื่น
5. รายได้ไม่แน่นอน ขาดโอกาส
6. ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
คล้ายชุมชนชนบท
ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
ปั ญหาโรคภัยไข้เจ็บ
โรคระบบทางเดินหายใจ, โรคผิวหนัง,
โรคจากสิ่งแวดล้อม, อุบตั เิ หตุ
ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
ปั ญหาสุขภาพจิต
ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
ปั ญหายาเสพติด
ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
ปั ญหาอนามัยชุมชนจากสภาพการจราจร
ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
ปั ญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม
ปั ญหาอนามัยชุมชนเมือง
ปั ญหาด้านที่อยูอ่ าศัย
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาโรคภัยไข้เจ็บ
โรคระบบทางเดินอาหาร
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาโรคภัยไข้เจ็บ
โรคแมลงเป็ นสื่อ
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาโรคภัยไข้เจ็บ
โรคเกิดจากความเชื่อ
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาโภชนาการ
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาอนามัยแม่และเด็ก
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาด้านภูมิคมุ ้ กันโรคเด็ก
ปั ญหาอนามัยชุมชนชนบท
ปั ญหาด้านการใช้สารปราบศัตรูพืช
ปั ญหาอนามัยของคนกรุงเทพมหานคร
โรคที่เกิดจากความมั ่งคั ่ง
(Disease of affluence)
ปั ญหาอนามัยของคนกรุงเทพมหานคร
โรคที่เกิดจากยากจน
(Disease of poverty)
ปั ญหาอนามัยของคนกรุงเทพมหานคร
โรคที่เกิดจากสังคมเสื่อม
(Disease of social pathology)
ทบทวน...
สรุปความหมายของชุมชน
ชุมชน = คน (People) + ความสนใจของคนร่วมกัน
(Common interest) + อาณาบริเวณ (Area) + การ
ปฏิบตั ติ อ่ กัน (Interaction) + ความสัมพันธ์ของกลุ่ม
คน (Relationship)
Community = PCAIR
การทราบความเป็ นมาของชุมชน
ทาให้เจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั งิ านใจแนวทางในการทางาน
• ชุมชนที่ก่อตัง้ มานาน มักมีความสัมพันธ์แบบเครือ
ญาติ มีสมั พันธภาพแน่นเหนียว เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ทาให้รวมตัวกันทากิจกรรมด้านสาธารณสุขได้มากกว่า
• ชุมชนที่พึ่งก่อตัง้ จะเป็ นกลุม่ คนที่อพยพมา ไม่ได้
เกี่ยวข้องกัน จึงมีความแตกต่างด้านความคิด ความเชื่อ
ต้องอาศัยเวลาในการสร้างความสานึกร่วมกัน
ความแตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท
1. ลักษณะทางกายภาพ
9. ความสามารถในการใช้ชีวิต
2. ลักษณะการอยูอ่ าศัย
10. เศรษฐกิจ
3. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
11. การควบคุมทางสังคม
4. ความรูส้ ึกนึกคิด ทัศนคติ
12. การศึกษา
5. ชนชั้นในชุมชน
13. ความสนใจทางการเมือง
6. ความยึดมั ่นในศาสนาและคุณธรรม 14. ลักษณะประชากร
7. ความหรูหราฟุ่ มเฟื อย
8. อาชีพ
ปั ญหาสุขภาพอนามัยเมืองกับชนบท
เมือง
1. ปั ญหาโรคภัยไข้เจ็บ
2. ปั ญหาสุขภาพจิต
3. ปั ญหายาเสพติด
4. ปั ญหาจากการจราจร
5. ปั ญหามลพิษจากสิ่งแวดล้อม
6. ปั ญหาด้านที่อยูอ่ าศัย
ชนบท
1. ปั ญหาโรคภัยไข้เจ็บ
-โรคระบบทางเดินอาหาร
-โรคจากแมลงเป็ นสื่อ
-โรคที่เกิดจากความเชื่อ
2. ปั ญหาโภชนาการ
3. ปั ญหาอนามัยแม่และเด็ก
4. ปั ญหาด้านภูมิคมุ ้ กันโรค
5. ปั ญหาการใช้สารปราบศัตรูพืช
ปั ญหาสุขภาพอนามัยคนกรุงเทพมหานคร
1. โรคที่เกิดจากความมั ่งคั ่ง
2. โรคที่เกิดจากความยากจน
3. โรคจากภาวะสังคมเสื่อม
พบกัน 6 พฤศจิกายน
08.30-10.10 น.
9407