นวัตกรรมพลังงานเพื่อป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพ

Download Report

Transcript นวัตกรรมพลังงานเพื่อป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพ

นวัตกรรมพลังงานเพือ่ ป้ องกันนา้ ท่ วมกรุ งเทพ
GDPภาคเกษตร ปี 2553 ประมาณ1ล้านๆ บาท และประมาณว่าเกษตรกรทัว่ ประเทศมีหนี้สินทั้งในระบบและนอกระบบ
อยู่ 1 ล้านๆบาท หรื อมีหนี้สิน 100% ของ GDP ภาคเกษตร การประกอบอาชีพการเกษตรที่มีความเสี่ ยงสูงนี้ ส่วนใหญ่จะ
ขาดทุนสะสมพอกพูนมากขึ้น ในที่สุดก็จะขายที่ดินการเกษตรที่มี อพยพเข้าสู่เมือง หรื อบุกรุ กป่ าต้นน้ าลาธารจนกลายเป็ น
ทะเลภูเขาหัวโล้น ทาให้เกิดอุทกภัยน้ าท่วมและดินโคลนถล่ม การแก้ไขปัญหาการบุกรุ กป่ าต้นน้ าด้วยมาตรการทาง
กฎหมายอย่างเดียวในรอบ 30 ปี ที่ผา่ นมานี้พิสูจน์แล้วว่าไม่ได้ผล รัฐบาลจาเป็ นต้องมีเครื่ องมือด้านเศรษฐศาสตร์
สิ่ งแวดล้อมชนิดใหม่สนับสนุนเพื่อให้เกษตรกร อพยพลงมาจากภูเขาโดยเร็ว ก่อนจะเกิดมหาภัยพิบตั ิ ที่รุนแรงกว่านี้
1. มหาอทกภัยนา้ ท่ วมกรุงเทพฯ น้ องนา้ มาจากไหน ???
1.1 ป่ าต้นน้ า ปิ ง วัง (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) ถูก
บุกรุ กทาลาย เปลี่ยนเป็ น ไร่ ขา้ วโพด และอื่นๆ
เป็ นทะเลภูเขาหัวโล้น
1.2 ป่ าต้นน้ า ยม น่าน (แพร่ -เชียงราย-น่านพิษณุโลก) ถูกบุกรุ กทาลาย เพื่อปลูก
กะหล่าปลี และข้าวโพด เป็ นทะเลภูเขาหัวโล้น
สุดลูกหูลูกตาไปแล้ว ป่ าต้นน้ า ปิ ง วัง ยม น่าน
ประมาณว่าถูกทาลายไปแล้วหลายล้านไร่ ทา
ให้ฝนที่ตกบนภูเขา ไม่มีป่าไม้อุม้ ซับน้ าเอาไว้
การไม่มีป่าต้นน้ าปกคลุมภูเขาต้นน้ าภาคเหนือ
ทาให้น้ าวิง่ จากภูเขาลงสู่เขื่อนเจ้าพระยาอย่าง
รวดเร็ว จนต้องระบายน้ าออกจากเขื่อนทันที
ทาให้น้ าท่วมกรุ งเทพฯ
1.3 ป่ าต้นน้ า ป่ าสัก (เพชรบูรณ์ – เลย – ลพบุรี) ถูกบุกรุ กทาลาย เปลี่ยนเป็ น
พื้นที่การเกษตร กลายเป็ นทะเลภูเขาหัวโล้น สุดลูกตา
ทาให้น้ าวิ่ง (แทนที่
จะเดิน) จากภูเขาลงมาสู่เขื่อนป่ าสัก จนต้องปล่อยลงสู่ที่ราบลุ่มเจ้าพระยา และ
เกิดมหาอุทกภัย
ทะเลหมอกและภูเขากะหล่าปลี ?
หายนะทางสิ่ งแวดล้อมที่คนไทย
บอกสวยงามดี
ป่ าต้นน้ าลาธารในภาคเหนือ คือ บริ บทและปฐมเหตุแห่งมหาอุทกภัยครั้งนี้และต่อไปอีก ประมาณว่า
ป่ าต้นน้ าลาธาร บนภูเขาในภาคเหนือตอนบน ซึ่งเป็ นแหล่งอุม้ ซับน้ าของแม่น้ า ปิ ง วัง ยม น่าน ซึ่งไหลรวมลงสู่แม่น้ า
เจ้าพระยา และกรุ งเทพมหานคร ขณะนี้ คาดว่าป่ าต้นน้ าลาธาร 16 จังหวัดในภาคเหนือตอนบน ถูกบุกรุ กทาลายไปแล้ว
หลาย ล้านไร่ ส่วนใหญ่เกิดจากการขยายพื้นที่ทางการเกษตร ปลูกพืชระยะสั้น ส่งผลให้ระบบนิเวศน์ และสมดุล
ธรรมชาติเปลี่ยนแปลง จนเขื่อนทั้งหลายที่มีในประเทศไทยไม่สามารถกักเก็บน้ า และป้ องกันน้ าท่วมได้ อนาคต
ลูกหลาน-เหลน ของเราจะอยูอ่ ย่างไร ? หากเกิดมหาอุทกภัยน้ าท่วมทุกปี และคนที่อยูใ่ นรุ่ นปัจจุบนั ไม่ได้ช่วยกัน
ป้ องกันแก้ไขแต่อย่างใด
2. ป่ าต้ นน้า ลาธาร ถูกบุกรุกทาลายได้ อย่ างไร ???
2.1 ภาวะหนี้สิน และการว่างงาน คือแรงผลักดันมหาศาลในการขยายพื้นที่การเกษตร และบุกรุ กป่ า
ต้นน้ าลาธารทัว่ ประเทศ ผลลัพท์ที่เกิดขึ้น คือ มหาอุทกภัยน้ าท่วมใหญ่ปี 2554-2555
2.2 รายรับภาคเกษตรที่ประชากรส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพอยูย่ งั ต่ามาก
 สัดส่ วนรายได้ภาคเกษตรต่ากว่าภาคอื่น8เท่าตัว และหากระบบทุนนิยมยังขาดความเอื้ออาทรและการ
กระจายรายได้ที่เป็ นธรรม ปั ญหาต่างๆที่เกิดขึ้นก็ยากแก่การแก้ไข ทั้งในขณะนี้และอนาคตข้างหน้า
ตาราง GDP Per Capita (บาท/คน)
กลุ่ม
ทั้งประเทศ
- ภาคเกษตร
- นอกภาคเกษตร
ปี 2549 (บาท/คน)
52,078
13,232
102,169
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย 2549
2.3 เมื่อคนเมืองบริ โภคเนื้อสัตว์ และอาหารมากขึ้น คนในชนบทที่มีหนี้สินจานวนมาก จึงขยายพื้นที่ปลูก
ข้าวโพด และกะหล่าปลี บุกรุ กเข้าไปในป่ าต้นน้ าลาธาร เพื่อผลิตอาหาร ป้ อนเมืองใหญ่และสุ ดท้ายเมืองใหญ่
ทั้งหลายก็เกิดมหาอุทกภัย นี่เป็ นเพียงสัญญาณเริ่ มต้นเท่านั้น
ผลผลิตภาคเกษตรกรรม
ราคาตกต่า
ภาวะแห้ งแล้ ง
เกิดภาวะหนีส้ ิน
ในและนอกระบบ
ขายที่ดินเพื่อปลดหนี ้
ทิ ้งที่ดินและอาชีพเกษตร
•บุกรุกป่ า/ต้ นน ้า
• อพยพเข้ าหางานทาในเมืองใหญ่
•เรี ยกร้ อง/ชุมนุมให้ รัฐปลดหนี ้
• ปั ญหาสังคมเมือง
ที่มา : ศูนย์พฒ
ั นาผลผลิตภาคเกษตรกรรมแบบบูรณาการ
3. พลังงานทดแทน จะช่ วยป้ องกันน้าท่ วมกรุงเทพมหานครได้ อย่ างไร ???
3.1 พลังงานทดแทน จะก่อให้เกิดการลงทุนในชนบท ซึ่ งจะช่วยสร้างงาน สร้างรายได้
และคุณภาพชีวิตที่ดีแก่เกษตรกร อันจะส่ งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพียงพอในการชาระหนี้ สิน ไม่มีความ
จาเป็ นต้องบุกรุ กพื้นที่ป่าต้นน้ าลาธารอีกต่อไป และต้นทุนที่เกิดขึ้นผูบ้ ริ โภคพลังงานเป็ นผูจ้ ่าย ลดภาระ
งบประมาณได้อีก
3.2 พลังงานทดแทนในชนบท จะเป็ นฐานเศรษฐกิจใหม่ และเครื่ องมือใหม่ของรัฐบาล ในการประกันรายได้
และลดความเสี่ ยงให้แก่เกษตรกรโดยไม่ใช้งบประมาณ เมื่อเกษตรกรมัง่ คัง่ ขึ้นจากความเสี่ ยงที่นอ้ ยลง
ปั ญหาการบุกรุ กป่ าต้นน้ าลาธารย่อมจะลดลง
3.3 นโยบายพลังงานทดแทน 1 ตาบล 1 MW. คือ คาตอบสุ ดท้าย และทางเลือกที่ดีที่สุดทางเดียว
ของสังคมไทย (ONE BEST WAY)จะเกิดขึ้นได้ดว้ ยการสนับสนุนของรัฐบาลเท่านั้นและเป็ น
นโยบายที่ยงั่ ยืนอีกด้วย
ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ระหว่าง การลงทุนพัฒนา
พลังงานทดแทน Agriculture Biogas ในประเทศ
เยอรมันนี และการอุดหนุน – ส่ งเสริ ม จากรัฐบาล
สมมุตฐิ าน Adder เพือ่ เกษตรกร
• หญ้าสด 1,000 กก. ผลิต Biogas (มีเทน 56%) ได้ 77 ลบ.ม. และผลิตไฟฟ้ าได้ 154 หน่วย (Biogas 1 ลบ.ม. ผลิตไฟฟ้ า
ได้ 2 หน่วย หรื อ ไฟฟ้ า 1 หน่วย ใช้หญ้าสด 6.5 กก. )
• ผลิตไฟฟ้ า 1 หน่วย ใช้หญ้าสด 6.5 กก. X ต้นทุน Feedstock 0.7 บาท / กก. = 4.55 บาท / หน่วย = Adder
• Feedstock หญ้า กก.ละ 0.70 บาท จาแนกเป็ น
- ต้นทุนปลูก 0.35 บาท
- เก็บเกี่ยว + ขนส่ง 0.25 บาท
- ค่าทา Silage 0.10 บาท
• ข้อมูลและข้อเท็จจริ ง
- แปลงทดลองปลูกอ้อย น้ าตาล ได้ผลผลิต 60-100 ตัน/ไร่ แต่ค่าเฉลี่ยผลผลิตทัว่ ประเทศ 12 ตัน/ไร่
- แปลงทดลองหญ้าพลังงานโตเร็วได้ผลผลิต 50-80 ตัน/ไร่ ประมาณว่า จะมีค่าเฉลี่ยทัว่ ประเทศ 20 ตัน/ไร่
- หญ้าบาน่าเลี้ยงช้าง ส่งถึงศูนย์ฯช้างลาปาง (6 กม.) ราคา 1,200 บาท/ตัน
- หญ้าเนเปี ยร์ เลี้ยงวัวนม อ.ปากช่อง ผูป้ ลูก ตัด-สับ จาหน่าย 1,100 บาท/ตัน
ภาคผนวก
ประเทศไทยมีมูลค่าการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศปี ละ 1 ล้านๆ บาท เท่ากับ GDP ภาคเกษตร หรื อผลผลิตทางการเกษตร
ที่เราผลิตได้ท้งั หมดนาไปซื้อพลังงานหมดพอดี ประเทศไทยเป็ นผูน้ าในการผลิตอาหารป้ อนตลาดโลกในราคาถูก และเป็ นผู้
นาเข้าพลังงานในราคาแพงรายใหญ่ของอาเซียน การพัฒนาพลังงานทดแทนในภาคการเกษตรจึงสมควรยกระดับความสาคัญ
สูงขึ้นกว่านี้ เพราะการปลูกพืชพลังงานbiogas เกษตรกรจะมีค่าขนส่งต่าและไม่ถูกหักค่าความชื้นหรื อมีกาไรเพิ่มร้อยละ20
Major Crop Planted Areas in 2009 f
Crop
Planted Area
(M.Rai)
Production
(M.Ton)
Yield/Rai
(kg)
Main Rice
57.256
23.245
406
Second Rice
11.292
7.674
680
Field Corn
6.954
4.448
640
Soybean
0.748
0.187
249
Mungbean
0.899
0.101
112
Cassava
7.781
27.759
3,567
Sugarcane
6.534
74.192
11,355
Source: OAE, September 2009
ข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง พืชเศรษฐกิจหลักของเกษตรกรชาวไทยขายไม่ได้ราคา (ม.ค. 2555) เป็ นปัญหาที่จะต้องแก้ไข
ยกเว้นข้าวที่รัฐบาลรับจานาในราคาสูงกว่าตลาด พืชเกษตรที่มีปัญหานี้บ่งชี้วา่ การเกษตรไทยไม่สามารถแข่งขันได้ เพราะ
ต้นทุนไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งผลผลิตต่าเนื่องจากดินเสื่ อมโทรม มีสภาพเป็ นกรด และดินขาดอินทรี ยว์ ตั ถุ
อีก 4 ปี ข้างหน้าเราจะเปิ ดเสรี ดา้ นการค้าในหมู่ประเทศอาเซียนด้วยกัน เกษตรกรไทยจะอยูอ่ ย่างไร ถ้าไม่สร้างนวัตกรรม
ใหม่ดา้ นการเกษตร ที่มีองค์ความรู้สูงขึ้น แทนการผลิตสิ นค้าขั้นปฐมสู่ตลาดโลก
One Tambon One Biogas Power Plant
Feedstock grown in a radius of 5 km around the
biogas plant location
Biogas Plant
R=5 km
Total Area: about. 50,000rai of agricultural area
Area needed for feedstock supply about 1,000 rai (
ca.2% of agr. Area)
About 200 farmers supplying feedstock
Area needed for
feedstock supply
อุตสากรรมพลังงานทดแทนในภาคเกษตรของประเทศไทย คือ นวัตกรรมรู ปแบบใหม่ในการก้าวไปสู่การผลิต
และแปรรู ปสิ นค้าเกษตรที่เหนือชั้นขึ้น เพื่อสร้างความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าในระดับท้องถิ่น
มีตน้ ทุน logistics ที่ต่ามาก เป็ นเครื่ องมือของรัฐบาลในการพัฒนาชนบทและสิ่ งแวดล้อมที่ยงั่ ยืน
R.M. Planning and Processing Management
Biomass feedstock logistics
Planning, implementing, and controlling efficient,
Effective movement, storage and delivery of feedstock
Harvest and
Collection Storage Preprocessing Transportation
Biomass feedstock logistics systems include harvest and collection, storage,
preprocessing, and transportation operations to delivery material from the field
to the biogas Power Plant.
ประเทศไทยมีพ้ืนที่การเกษตร (ไร่ -นา ) นอกเขตชลประทานประมาณ 10 ล้านไร่ อาศัยน้ าฝนปลูกพืชได้เพียงครั้งเดียว
สามารถนามาพัฒนาปลูกพืชพลังงานอายุ 80 วัน สาหรับผลิต biogas ได้อีก 1 รอบ อาทิเช่น ข้าวฟ่ าง ทานตะวัน และหญ้า
พลังงาน ซึ่งสามารถปลูกหลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวและข้าวโพดได้ โดยไม่แย่งพื้นที่ปลูกพืชอาหารแต่อย่างใด ประเทศไทยจะ
ไม่มีวนั เกิดวิกฤติดา้ นอาหาร แต่ในขณะนี้กาลังเกิดวิกฤติดา้ นพลังงาน และการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกสู่บรรยากาศโลก
ตัวอย่างโรงงาน biogas ในฟาร์มเกษตรกรของเยอรมันนี ใช้วตั ถุดิบ 1. หญ้าหมัก 27 ตัน/วัน 2. ข้าวโพดหมัก 4.7 ตัน/วัน
3. มูลสัตว์ 2 ลบ.ม/วัน ใช้พ้ืนที่ปลูกหญ้า 470 ไร่ +พื้นที่ปลูกข้าวโพด 44 ไร่ สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ 7300 ลบ.ม/วัน
(มีเทน 53%) ผลิตพลังงานไฟฟ้ าได้ 500 kW หรื อ 0.5 MW (ถ้ามีในประเทศไทยจะใช้พ้ืนที่ผลิตวัตถุดิบน้อยลง เพราะ
เยอรมันนีเป็ นเขตหนาวมีหิมะตก ผลผลิตพืชจะต่ากว่าเรา)
ก๊ าซชีวภาพจากต้ นข้ าวโพด-มันสาปะหลัง
สถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงาน (สวพ.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่ วมกับสานักงานนโยบายและ
แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ได้ดาเนินโครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากผลผลิตทางการเกษตร โดย
ทาการศึกษาวิจยั และพัฒนาระบบผลิตก๊าซชีวภาพ (biogas) จากผลิตผลทางการเกษตร คือ มันสาปะหลัง และ
ต้นข้าวโพด ซึ่ งเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพและมีการปลูกกันอย่างแพร่ หลายภายในประเทศ
พบว่า มันสาปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ที่ใช้ในการทดลองปริ มาณ 1 ตัน จะสามารถผลิตก๊าซชีวภาพ
ได้ สู งสุ ดประมาณ 300 ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ประมาณ 420 หน่วย หรื อ ทดแทนน้ ามันเตา
ได้ ประมาณ 165 ลิตร หรื อ ทดแทนก๊าซ LPG ได้ประมาณ 138 กิโลกรัม ขณะที่ตน้ ข้าวโพดสดพันธุ์ 271
และพันธุ์ CPที่ใช้ในการทดลองปริ มาณ 1 ตัน(ที่หกั ฝักออกไปแล้ว )จะสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ สู งสุ ด
ประมาณ 50 ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ประมาณ 70 หน่วย หรื อ ทดแทนน้ ามันเตาได้ 28 ลิตร
หรื อ ทดแทนก๊าซ LPG ได้ประมาณ 23 กิโลกรัม
http://www.classifiedthai.com/content.php?article=10511