II. ผลผลิต (Output)

Download Report

Transcript II. ผลผลิต (Output)

สาขาเกษตรกรรม
1
เอกสารอ้ างอิง
Peter Warr (ed.) 1993, The Thai
Economy in Transition, Ch.2
“Agriculture” by Ammar, Suthad,
and Direk
Thai Agriculture: From Engine of
Growth to Sunset Status, by Ammar
Siamwalla, 1996
The Decline and Recovery of Thai
Agriculture: Causes, Responses,
Prospects and Challenges, by Nipon
Poapongsakorn, 2006
2
เอกสารอ้ างอิง
อัมมาร สยามวาลา “อนาคตของเกษตรกรรม
และอุตสาหกรรมเกษตร” ใน ครบรอบ 60 ปี
อาจารย์ อมั มาร TDRI 2542
ปัทมาวดี โพชนุกลู ซูซูกิ “การเกษตรไทยยุค
ทรัพยากรเสื่ อมโทรม: จะพัฒนาได้ อย่ าง
ยัง่ ยืน?” การสั มมนาทางวิชาการประจาปี
2545 คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธ.
3
เอกสารอ้ างอิง
นิรมล สุ ธรรมกิจ (2551), สั งคมกับเศรษฐกิจ
กรณีศึกษาประเทศไทย (2500 – 2545)
บทที่ 7 “ภาคเกษตรกรรม”
4
เค้ าโครงการบรรยาย
ความสาคัญของสาขาเกษตรกรรม
ผลผลิต (Output)
ปัจจัยการผลิต (Input)
ตลาด
5
เค้ าโครงการบรรยาย
นโยบาย
ทิศทางในอนาคต
ประเด็นปัจจุบัน
6
I. ความสาคัญของเกษตร
เคยเป็ นสาขาใหญ่ สุดในเศรษฐกิจ
มีประชากรอาศัยและทางานอยู่มากทีส่ ุ ด
เป็ นแหล่งสาคัญในการผลิตอาหาร แรงงาน
และเงินตราต่ างประเทศ
7
I. ความสาคัญของเกษตร
เป็ นแหล่งผลิตวัตถุดบิ ป้ อนอุตสาหกรรม เช่ น
อุตสาหกรรมอาหารกระป๋ อง และผลิตภัณฑ์ ยาง
สาคัญต่ อสิ่ งแวดล้อมด้ านที่ดนิ ป่ าไม้
และแหล่งนา้
8
I. ความสาคัญของเกษตร
สั ดส่ วนของการผลิตเกษตรในเศรษฐกิจ (GDP):
– ลดลงอย่ างต่ อเนื่องจาก > 50% เหลือ 30% ใน
ทศวรรษ 1970’s เหลือ 20% ในทศวรรษ 1980’s
และทรงตัวที่ 10% ตั้งแต่ ทศวรรษ 1990’s ถึง
ปัจจุบัน
9
I. ความสาคัญของเกษตร
สั ดส่ วนของการผลิตเกษตรในเศรษฐกิจ (GDP):
– ถ้ านับอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารด้ วย (อาหาร
กระป๋ อง เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์ ไม้ ผลิตภัณฑ์ ยาง)
จะเพิม่ สั ดส่ วนอีก 10%
10
1970
1980
1988
1996
1997 2002p
Agriculture
27.0% 20.6% 16.9% 9.5%
Manufacturing
16.0% 21.7% 23.0% 29.7% 30.2% 33.9%
Construction
5.3%
Wholesale and Retail Trade
Transport
and
Communications
17.4% 16.9% 17.0% 16.5% 17.2% 15.9%
6.5%
6.7%
7.4%
7.4%
7.8%
8.1%
Banking
2.5%
2.8%
3.6%
7.1%
6.5%
3.0%
**
**
**
3.4%
3.3%
3.2%
Real Estate
Other Services
Gross Domestic Product,
(GDP)
4.5%
4.0%
7.4%
9.4%
5.7%
9.4%
3.0%
25.3% 26.8% 28.1% 18.9% 19.8% 23.4%
100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
%
%
%
%
%
%
11
1970
1980
1988
1996
1997
2002p
Agriculture
27.0%
20.6%
16.9%
9.5%
9.4%
9.4%
Manufacturing
16.0%
21.7%
23.0% 29.7% 30.2% 33.9%
Other Services
25.3%
26.8%
28.1% 18.9% 19.8% 23.4%
Gross Domestic
Product, (GDP)
100%
100%
100%
100%
100%
100%
12
2003
2004
9.6%
2005r
10.5%
Manufacturing
38.0% 38.7% 38.9% 39.1% 39.6%
Services
51.5% 51.7% 52.1% 51.9% 51.7%
GDP
100%
100%
9.0%
2007p
Agriculture
100%
9.0%
2006r
100%
8.7%
100%
13
II. ผลผลิต (Output)
เกษตรโตเร็วมากตั้งแต่ ทศวรรษ 1960’s ถึงกลาง
ทศวรรษ 1980s เพราะยังมีทดี่ นิ เหลือและโอกาส
ส่ งออก
แต่ ชะลอตัวในกลางทศวรรษ 1980s เพราะราคาตกต่า
และขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกไม่ ได้
กลับฟื้ นตัวหลังวิกฤตปี 1997 เพราะเงินบาทลดค่าและ
ราคาเริ่มดีขนึ้
14
II. ผลผลิต (Output)
องค์ ประกอบของเกษตร (1960- 2003):
– พืช: 70% - 75% ของ GDP เกษตร และผันผวน
– ปศุสัตว์ : 17% - 11% ของ GDP เกษตร และ
เพิม่
– ประมง: 6% - 19% ของ GDP เกษตร และเพิม่
– ป่ าไม้ : 2% - 8% ของ GDP เกษตร และลด
15
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– พืชทีส่ าคัญทีส่ ุ ด (ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ
สั งคม)
– มากทีส่ ุ ดทั้งในด้ านมูลค่ าการผลิต พืน้ ที่
เพาะปลูก จานวนผู้ปลูก และรายได้ ส่งออก
(ส่ งออกมากทีส่ ุ ดในโลก)
– พืชอาหารหลัก
16
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– ปลูกกระจายในทุกภาค
– ภาคกลาง: อู่ข้าว (“rice bowl”) 45% ของ
พืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้ าวทั้งประเทศ กว่ าครึ่งหนึ่ง
ของการผลิตข้ าวทั้งหมดของประเทศ และ
ส่ วนใหญ่ ของการส่ งออกข้ าวทั้งหมด
17
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– ภาคอีสาน: 43% ของพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้ าว
เกือบ 30% ของการผลิตทั้งประเทศ และส่ วน
ใหญ่ ของข้ าวหอมมะลิ
18
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– ภาคเหนือ: 6% ของพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้ าว และ
10% ของการผลิตทั้งประเทศ
– ภาคใต้ : 7% ของพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้ าว และ
9% ของการผลิตทั้งประเทศ ผลิตไม่ พอ
บริโภค
19
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– แนวโน้ มผลผลิตต่ อไร่ ที่ลดลงในระยะยาว แต่
กลับเพิม่ ขึน้ ในทศวรรษ 1960 เพราะ
ชลประทาน การปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ และการ
ใช้ เครื่องจักรยนต์ (ควายเหล็ก)
20
II. ผลผลิต (Output)
Average Yield of Paddy in Thailand (kg. per rai)
Year
1906 - 09
1914 - 18
1921 - 24
1930 - 34
1940 - 44
1948 - 50
Whole
Country
292.8
244.2
270.0
234.6
187.8
202.2
Center
n.a
n.a
254.4
24.6
202.2
234.0
Other
Regions
n.a
n.a
294.0
234.0
177.0
172.8
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– ปัจจัยอืน่ ๆที่มีผลต่ อผลผลิตต่ อไร่ : คุณภาพ
ของดิน การใช้ ปุ๋ยและยาฆ่ าแมลง นาดา (ใช้
แรงงานมาก) เทียบกับนาหว่ าน
22
II. ผลผลิต (Output)
ข้ าว
– ผลผลิตต่ อไร่ ของไทยตา่ ทีส่ ุ ดในเอเชีย
– แต่ ในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา ไทยผลิตข้ าวที่มี
คุณภาพสู งมากขึน้ เพือ่ การส่ งออก (ราคา
ส่ งออกข้ าวไทยสู งกว่ าของเวียดนาม 25%)
23
II. ผลผลิต (Output)
พืชไร่
– ขยายการผลิตอย่ างสู งในทศวรรษ 1960 และ
1970’s สาหรับพืชไร่ ในพืน้ ที่ใหม่ ส่ วนใหญ่ เพือ่
ส่ งออก
– ข้ าวโพด ปอกระเจา มันสาปะหลัง และอ้ อย
– การเพิม่ ส่ วนใหญ่ เกิดจากการขยายพืน้ ที่เพาะปลูก
มากกว่ าการเพิม่ ผลผลิตต่ อไร่
24
II. ผลผลิต (Output)
พืชไร่
– พืน้ ที่ข้าวมีสัดส่ วนลดลงเพราะพืน้ ที่
เหมาะสมมีน้อยลง
– สั ดส่ วนพืน้ ที่ข้าวลดลงจาก 77% ใน 1960
เหลือ 55% ใน 1990
25
II. ผลผลิต (Output)
พืชไร่
– พืน้ ทีเ่ พาะปลูกในปี 2003:
ข้ าว
พืชไร่
พืชยืนต้ น (เช่ นยาง)
ผักและดอกไม้
อืน่ ๆ
53%
18%
19%
1.4%
8%
26
โครงสร้างการผลิตพืชตามมูลค่า
60%
50%
40%
ข้ าว
พืชไร่
30%
ผัก
20%
ยืนต้ น
อืน่ ๆ
10%
0%
1950
1955
1960
1965
1970
1975
1980
1985
27
II. ผลผลิต (Output)
พืชไร่
– ปัจจัยทีก่ ระตุ้นการขยายการผลิต
ข้ าวโพด: พันธุ์กวั เตมาลาซึ่งเหมาะ
สาหรับสภาพภูมอิ ากาศของไทย
28
II. ผลผลิต (Output)
พืชไร่
– ปัจจัยทีก่ ระตุ้นการขยายการผลิต
ปอกระเจา: ผลผลิตล้มเหลวในปากีสถาน
มันสาปะหลัง: ความต้ องการอาหารสั ตว์
ในยุโรป
อ้อย: ผลิตเพือ่ ทดแทนการนาเข้ า
29
II. ผลผลิต (Output)
ยางพารา
– ปัจจุบัน ไทยผลิตและส่ งออกมากทีส่ ุ ดในโลก
– พืชสาคัญเป็ นที่สองรองจากข้ าว (ในรู ปมูลค่ า
การผลิต)
30
II. ผลผลิต (Output)
ยางพารา
– เริ่มโดยนามาจากมาเลเซีย (1901) ปลูกส่ วน
ใหญ่ ในภาคใต้ และขยายพืน้ ที่ไปในภาค
ตะวันออกและอีสาน
– 90% เพือ่ ส่ งออก
31
II. ผลผลิต (Output)
ยางพารา
– 80% ของพืน้ ทีเ่ พาะปลูกเป็ นเกษตรกรราย
ย่ อย ฟาร์ มขนาด <50 ไร่ (ต่ างจากในประเทศ
ผู้ผลิตรายใหญ่ อนื่ ๆ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย)
32
II. ผลผลิต (Output)
ยางพารา
– ยังคงขยายการผลิตและเพิม่ ผลผลิตต่ อไร่ อย่ าง
ต่ อเนื่อง (เริ่มปลูกยางพันธุ์ใหม่ ต้งั แต่ ทศวรรษ
1950 และราคาค่ อนข้ างดี)
– ราคาดีมากในช่ วง 3-4 ปี ที่ผ่านมา เพราะความ
ต้ องการเพิม่ สู งในตลาดโลก โดยเฉพาะอย่ างยิง่ จีน
33
II. ผลผลิต (Output)
ผัก ผลไม้ ดอกไม้
– สั บปะรดและกล้วยไม้ : ผู้ผลิตและส่ งออกราย
ใหญ่ ของโลก
– ผัก ผลไม้ หลากหลายชนิด ทั้งสดและใส่
กระป๋ อง เช่ น ลาไย เงาะ ข้ าวโพดอ่อน หน่ อไม้
34
II. ผลผลิต (Output)
ผัก ผลไม้ ดอกไม้
– ศักยภาพดีจากทักษะการปลูก การแปรรู ป และ
การตลาด
– แต่ ในระยะหลังต้ องแข่ งขันกับสิ นค้ านาเข้ า
จากจีนและออสเตรเลีย เนื่องจากเขตการค้ า
เสรี (FTA)
35
II. ผลผลิต (Output)
ปศุสัตว์ : วัว ควาย
– ขยายตัวได้ ช้าเพราะควายถูกทดแทนโดย
แทร๊ กเตอร์ และฟาร์ มขนาดเล็กมีเทคโนโลยี
ต่า
– ศักยภาพน่ าจะดีสาหรับเนือ้ วัว เนื่องจาก
อุปสงค์ มคี วามยืดหยุ่นต่ อรายได้ สูง
36
II. ผลผลิต (Output)
ปศุสัตว์ : ผลิตภัณฑ์ นม (วัว)
– เกษตรกรขนาดเล็ก และสหกรณ์ สาหรับการ
รวบรวมและแปรรูปนม
– หลังจากเปิ ดเสรีการค้ ากับออสเตรเลียและ
นิวซีแลนด์ แล้ ว (“Free Trade Agreement”)
เกษตรกรไทยจะสามารถแข่ งขันกับสิ นค้ านาเข้ า
ได้ หรือไม่ ?
37
II. ผลผลิต (Output)
ปศุสัตว์ : ไก่และหมู
– ประสบผลสาเร็จอย่ างสู ง โดยการใช้ พนั ธุ์และ
วิธีการเลีย้ งที่ทันสมัย ประกอบกับอาหารสั ตว์
ต้ นทุนตา่
38
II. ผลผลิต (Output)
ปศุสัตว์ : ไก่และหมู
– บทบาทของบริษัทเกษตร (agribusiness)
ขนาดใหญ่ (เช่ น CP)
– ริเริ่มการเลีย้ งแบบมีสัญญา (contract
farming)
39
II. ผลผลิต (Output)
ปศุสัตว์ : ไก่และหมู
– ริเริ่มการเลีย้ งแบบมีสัญญา (contract
farming)
– บริษทั จัดหาลูกไก่ อาหาร และยา โดยทา
สั ญญากับผู้เลีย้ งเพือ่ รับซื้อคืนในราคาประกัน
40
II. ผลผลิต (Output)
ปศุสัตว์ : ไก่และหมู
– ต้ นทุนทีแ่ ข่ งขันได้ ส่ งเสริมการบริโภคใน
ประเทศและการส่ งออก
– ในระยะหลัง “ไข้ หวัดนก” กลายเป็ นปัญหา
สาหรับฟาร์ มไก่ โดยเฉพาะขนาดเล็กที่เลีย้ ง
แบบเปิ ด
41
II. ผลผลิต (Output)
ประมง:
– ประมงทะเลสาคัญกว่ าประมงนา้ จืด
– ขยายตัวเร็วในทศวรรษ 1960 เพราะวิธีการ
จับปลาที่ใช้ เครื่องมือทันสมัย ไกลจากฝั่ง
42
II. ผลผลิต (Output)
ประมง:
– การจับปลาในน่ านนา้ สากลถูกจากัดโดยการ
กาหนดเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (exclusive
economic zone) 200 ไมล์จากฝั่งของประเทศ
ต่ างๆ และนา้ มันราคาแพง
43
II. ผลผลิต (Output)
ประมง:
– อาหารทะเลบรรจุกระป๋ อง อาศัยวัตถุดบิ ทั้ง
ในประเทศและที่นาเข้ า (เช่ น ปลาทูน่า)
44
II. ผลผลิต (Output)
ประมง:
– การเลีย้ งกุ้ง: ไทยเป็ นผู้ผลิตและส่ งออกราย
ใหญ่ ก้งุ กุลาดา เพิง่ เปลีย่ นมาเป็ นกุ้งขาว
– ฟาร์ มกุ้งบริเวณชายฝั่ง  ทาลายป่ าโกงกาง
(mangrove) และแหล่งเพาะสั ตว์ นา้
45
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ทีด่ นิ แรงงาน ทุน และเทคโนโลยี
ที่ดนิ :
– ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ ขยายการผลิตพืช
46
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ที่ดนิ :
– ขยายการใช้ ที่ดนิ ได้ เพราะการสร้ างถนนใหม่
(เชื่อมแหล่งผลิตกับตลาด) และ การใช้
แทร๊ กเตอร์ (ถางป่ าง่ ายขึน้ )
– การขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกทาให้ พนื้ ทีป่ ่ าลดลง
47
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ที่ดนิ :
– พืน้ ที่ป่า เทียบกับ พืน้ ที่เกษตร
1950 1970
1980 1988
พืน้ ที่ป่า 66% 44% 24% 19%
พืน้ ที่เกษตร 32% 50% 54% 60%
48
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ที่ดนิ :
– การขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกเริ่มชะลอตัวใน
ทศวรรษ 1980
49
การใช้ ทดี่ นิ (1950-1990)
80
70
60
ป่ าไม้
50
นาข้ าว
40
พืชไร่
30
พืชยืนต้น
20
ผัก ดอกไม้
อื่นๆ
10
0
1950
1960
1970
1980
1990
50
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ที่ดนิ :
– เกษตรของไทยเป็ นแบบเกษตรกรรายย่ อย
ขนาดเฉลีย่ รายละ 25 ไร่ (ไม่ ใช่ ฟาร์ มขนาด
ใหญ่ )
51
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
แรงงาน
– จานวนแรงงานเกษตรลดลง โดยย้ ายไปสาขา
อืน่
– ลดลง 16% ช่ วง 1990-1996
– หลังวิกฤต จานวนระหว่ าง 16-17 ล้านคน แต่
แรงงานรับจ้ างมีแนวโน้ มเพิม่ ขึน้
52
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
แรงงาน
– สั ดส่ วนของแรงงานเกษตรในกาลังแรงงาน
ทั้งหมดลดลงอย่ างต่ อเนื่อง แต่ ในอัตราที่ช้า
กว่ าการผลิต
53
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
สั ดส่ วนของแรงงานเกษตรในกาลังแรงงาน
ทั้งหมด:
– 1960: 82%; 1970: 78%; 1980: 71%;
1990: 66%; 2000: ?
54
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
สั ดส่ วนของแรงงานเกษตรในกาลังแรงงาน
ทั้งหมด:
– ตัวเลขแรงงานในเกษตรอาจไม่ สะท้ อน
ความสาคัญจริง เพราะ 80% ของครัวเรือน
เกษตรในปี 2003 มีรายได้ จากกิจกรรมนอก
เกษตร เช่ น หัตถกรรม รับจ้ างในโรงงาน
55
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
สั ดส่ วนของแรงงานเกษตรในกาลังแรงงาน
ทั้งหมด:
– ในปี 2003 จานวน 5.8 ล้านครัวเรือนเป็ น
เกษตรกร คือเท่ ากับ 22 ล้านคน หรือ 36%
ของประชากร (62 ล้านคน)
56
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ทุน:
– ส่ วนใหญ่ เป็ นทุนจากภาครัฐ
– ถนนและชลประทาน
– ชลประทานส่ วนใหญ่ ในภาคกลางและเหนือ
โดยเฉพาะพืน้ ที่นาข้ าว
57
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ทุน:
– การพัฒนาระบบถนน กาหนดโดยความ
ต้ องการด้ านยุทธศาสตร์ มากกว่ าทาง
เศรษฐกิจ
58
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
ทุน:
– ทุนเอกชน ในรู ปของการพัฒนาทีด่ นิ และ
เครื่องจักรยนต์ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ “ควาย
เหล็ก”
59
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
เทคโนโลยี:
– เปลีย่ นแปลงน้ อยมากในด้ านพืช มีแต่ การใช้
เครื่องจักรและพันธุ์พชื ใหม่ (ข้ าว ข้ าวโพด
มันสาปะหลัง) จึงมีผลผลิตต่ อไร่ ค่อนข้ างต่า
60
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
เทคโนโลยี:
– การส่ งเสริมเทคโนโลยีจากภาครัฐยังไม่
เพียงพอ ทั้งการวิจัยพัฒนา (R&D) และการ
เผยแพร่
– การวิจัยในภาครัฐมีลกั ษณะ “ตาม” มากกว่ า
“นา” ความได้ เปรียบเชิงเปรียบเทียบ
61
III. ปัจจัยการผลิต (Input)
เทคโนโลยี:
– บริษัทเกษตรมีบทบาทมากด้ านการวิจัย
พัฒนาด้ านปศุสัตว์ (ไก่และหมู)
– เกษตรกรมีความพร้ อมในการเลือกปลูกพืช
ใหม่ ได้ อย่ างเร็ว
62