"โครงการเมืองเกษตรสีเขียว"

Download Report

Transcript "โครงการเมืองเกษตรสีเขียว"

เกษตรสี เขียว
GREEN AGRICULTURE
อภิชาต จงสกุล
อธิบดีกรมพัฒนาทีด่ ิน
การประชุ มวิชาการกรมพัฒนาทีด่ นิ ปี 2557
ความสาคัญของสี เขียว
โลกเผชิญกับปัญหา:
 ภาวะเศรษฐกิจตกต่า
 ความยากจน ความเหลือ่ มลา้ และความขัดแย้ งทางสั งคม
 ปัญหาด้ านสิ่ งแวดล้ อม (การเปลีย่ นแปลงสภาวะภูมิอากาศ)
จากปัญหาด้านสิ่ งแวดล้อมนามาสู่
การก่อกาเนิด “ สีเขียว ” หรือ “ Green ”
 การกระตุ้นเตือนให้ คานึงถึงสิ่ งแวดล้ อม
 เศรษฐกิจสี เขียว ธุรกิจสี เขียว การขนส่ งสี เขียว
อาคารสี เขียว ผลิตภัณฑ์ สีเขียว ฯ
 การลดการปล่ อยก๊ าซคาร์ บอน
ความหมายของงานสีเขียว
“งานสี เขียว Green jobs”
หมายถึงงานทีล่ ดผลกระทบต่ อ
สิ่ งแวดล้ อมของผู้ประกอบการ และภาคเศรษฐกิจให้ อยู่ในระดับทีม่ ี
ความยัง่ ยืน ความหมายนีค้ รอบคลุมถึงการทางานในภาคการเกษตร
อุตสาหกรรม การให้ บริการ และการบริหารงานทีก่ ่ อให้ เกิดการรักษา
หรือการฟื้ นฟูคุณภาพของสภาพแวดล้ อม (ILO, UNEP)
เกษตรสี เขียวตามความหมายของ UNEP
•
•
•
•
ทาการเกษตรโดยรักษาสิ่ งแวดล้ อมและเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร
สร้ างความมัน่ ใจในการผลิตอาหารอย่างยัง่ ยืนและการค้ าทางการเกษตรทีเ่ ป็ นธรรม
ลดผลกระทบภายนอกในเชิงลบ
สร้ างทรัพยากรทางนิเวศวิทยา (เช่ นดิน นา้ อากาศ และความหลากหลายทางชีวภาพ
"ทุนธรรมชาติ" หรือ สิ นทรัพย์ ) โดยการลดมลพิษ และการใช้ ทรัพยากรที่มีประสิ ทธิภาพ
มากขึน้
• สาระสาคัญของเกษตรสี เขียว คือการลดหรือกาจัดผลกระทบภายนอกเชิงลบ ที่เกิดจากการ
ทาการเกษตรแบบเดิม
• การปฏิบัติทางการเกษตรทีด่ ี(GAP)
การทาเกษตรอินทรีย์
นิเวศวิทยาการเกษตร
เกษตรกรรมเชิงอนุรักษ์ รวมทั้งห่ วงโซ่ อุปทานอาหาร เป็ นตัวอย่ างสาคัญของ "เกษตรสี
เขียว"
ปเกษตรสี เขียวตามแนวทาง UNEP
1. แนวทางดานเกษตรอิ
นทรีย ์ (Organic Farming
้
Approach)
2. แนวทางดานการปฏิ
บต
ั ท
ิ างการเกษตรทีด
่ ี
้
(GAP)
3. แนวทางดานการค
้
้าทางการเกษตรทีเ่ ป็ นธรรม
(Fair Trade)
4. แนวทางดานเกษตรนิ
เวศวิทยา (Ecological
้
Agriculture)
5. แนวทางดานเกษตรเชิ
งอนุ รก
ั ษ์
้
(Conservation Agriculture)
แนวคิดเกษตรที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้ อม
“เกษตรที่เป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม”
หมายถึง การเกษตรแบบยัง่ ยืน ลดภาระ
ต่ อสิ่ งแวดล้อม และพัฒนาประสิ ทธิภาพ
การผลิต กล่ าวคือการเตรี ยมดิน การใช้
วัต ถุ ดิ บ อิน ทรี ย์ การใส่ ปุ๋ ยที่ เหมาะสม
การกาจัดแมลงที่ถูกต้ อง การลดปริ มาณ
ปุ๋ ยเคมีและยาฆ่ าแมลง การผลิตสิ นค้ า
เกษตรทีป่ ลอดภัยและไว้ วางใจได้
ภาคเกษตรกับการเติบโตสีเขียว
( ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ของเสี ยจากครัวเรื อน
วัสดุเหลือใช้ภาคเกษตร เอทานอล ไบโอดีเซล)
(เรื่องอาหารปลอดภัย มาตรฐานสิ นค้ าเกษตร)
(การปรับวิธีการทาการเกษตร ฟื้ นฟูดิน
เสื่ อมสภาพ ฟื้ นฟูอินทรี ยวัตถุในดิน)
หลักการและแนวทางตาม UNEP
หลักการสาคัญ
การวิจยั และพัฒนา
1) การใช้ ธาตุ อาหารที่เ กิด ตามธรรมชาติ
และ ผลิตอย่างยัง่ ยืน
2) การปลูกพืชหลากหลายชนิด
3) การผสมผสานระหว่ างการปลูกพืชและ
เลีย้ งสั ตว์
4) การบริ หารจัดการศั ตรู พืชและวัชพืชที่
เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
5) การลดความสู ญเสี ย โดยการเก็บรั กษา
หลังการเก็บเกีย่ วและกระบวนการแปรรู ป
1) การจัดการความอุดมสมบูรณ์ ของดิน
2) การใช้ นา้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ และ
ยัง่ ยืน ลดการไถพรวน
3) ความหลากหลายของพืชและสั ตว์
4) การจัดการสุ ขภาพสั ตว์ และพืช
5) การใช้ เครื่องจักรกล
6) การปรับปรุ งสถานที่
แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว โดย ดร. C.T.S. Nair
แนวคิด
ดัง้ เดิม
ความมั่งคั่งเกิดจากการสะสม
เงินทองและสิ่งของ
(ความมั่งคั่งเชิงปริมาณ)
ก่ อให้ เกิดการทาลายมากกว่ า
การสร้ างสรรค์
แนวคิดใหม่
(เป้าหมายและกลยุทธ์ ของเศรษฐกิจสีเขียว)
การพัฒนาคน
ความมั่งคั่งเกิดจาก
การสร้ างสรรค์ ขนึ ้ มาใหม่
(ความมั่งคั่งเชิงคุณภาพ)
การฟื ้ นฟูวถิ ีชีวติ
การพัฒนาชุมชน
เกษตรสี เขียวที่เป็ นจริงจะเกิดขึน้ ได้ บนพืน้ ฐาน
1. การเปลี่ ย นแปลงแนวคิ ด ความเชื่ อ ของ
ประเทศที่พฒ
ั นาแล้ ว เงิน อานาจ เทคโนโลยี
ไ ม่ ส า ม า ร ถ น า พ า ใ ห้ พ้ น ห า ย น ะ ไ ด้
แนวทางของประเทศพัฒนาแล้ ว ยัง จะเป็ น
การเร่ งความหายนะของโลกเร็ววัน
2. การคิดค้ นรู ปธรรมการปรับตัวของเกษตรกร
รายย่ อยเพื่อเป็ นแนวคิดเกษตรสี เขียวที่ ตอบ
ปั ญ หาต่ อ การด าเนิ น ชี วิ ต ท่ า มกลางภาวะ
วิกฤติอาหาร พลังงาน ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
เกษตรสี เขียวที่เป็ นจริงจะเกิดขึน้ ได้ บนพืน้ ฐาน
3. การแบ่ งปันทรั พยากรธรรมชาติอย่ างเท่ าเทียมระหว่ างเกษตรกรราย
ย่ อยและภาคเกษตรอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการกระจายการถือครอง
ที่ดิ นให้ เกษตรกรรายย่ อยที่เป็ นปั จจัยพื้นฐานในการผลิต เพื่อสร้ าง
ความมั่นคงให้ ครอบครัวชุ มชน
4. การผลิ ต อาหารเพื่ อ ตอบสนองต่ อ ครอบครั ว ชุ ม ชนที่ จ ะสามารถ
ดารงชีวติ เก็บอาหาร กระจายพันธุ์ในแปลงผลิตทางการเกษตร
เกษตรสี เขียวที่เป็ นจริงจะเกิดขึน้ ได้ บนพืน้ ฐาน
5. ติ ด ตามข้ อ มู ล สร้ างความหมายนิ ย าม
เกษตรสี เ ขี ย วที่ เ ป็ นการตอบสนองต่ อ
ความต้ อ งการในการด าเนิ น ชี วิ ต ของ
ชุ มชนผลั ก ดั น แนวคิ ด และรู ปธรรม
เกษตรสี เขียวให้ เป็ นกระแสของสั งคม
6. การเรียกร้ องให้ ประเทศพัฒนาโดยเฉพาะ
ประเทศที่ท่ ุ ม ทุ น ขนาดใหญ่ รั บ ผิด ชอบ
พื้ น ที่ ก ารผลิ ต ชดเชยการสู ญเสี ย การ
ทาลายธรรมชาติที่เกิดจากการสนับสนุน
การลงทุนของบรรษัทขนาดใหญ่
เกษตรสี เขียวที่เป็ นจริงจะเกิดขึน้ ได้ บนพืน้ ฐาน
7. การผนึกกาลังของภาคประชาชน ประชา
สั ง คมในการรั ก ษาแบบแผนการผลิ ต
ฐานทรั พยากรธรรมชาติ (พันธุกรรม)
ที่ดิน สร้ างความมั่นคงให้ ชุมชน สั งคม
รวมทั้งผลประโยชน์ ร่วมของส่ วนรวม
ของสั งคม
แนวทางการเข้ าสู่ เกษตรสี เขียว“เกษตรกรรมที่เป็ นมิตรต่ อ
คนและสิ่ งแวดล้ อม”
•
•
•
การมุ่งเน้ นการทาการเกษตรทีม่ ีการเตรียมดิน การใช้ ปุ๋ยตามผล
การวิเคราะห์ คุณภาพดิน และมาตรฐานทีก่ าหนดไว้
การกาจัดและป้ องกันศัตรู พชื อย่ างมีประสิ ทธิภาพโดย ใช้ ข้อมูลพยากรณ์
และการลดพลังงาน โดยคานึงถึงสุ ขภาพของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
ใส่ ใจความปลอดภัยของอาหาร และสิ่ งแวดล้อม
แนวทางการดาเนินการ
เพือ่ พัฒนา “เกษตรสี เขียว” ที่ดงึ ดูดทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค จะต้ อง
สนับสนุนความพยายามหลักในด้ านต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้
แนวทางการดาเนินการ
1. ขยายการทาการเกษตรทีเ่ ป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม
2. กระตุ้นการขายผลิตผลทางการเกษตรทีเ่ ป็ นมิตร
ต่ อสิ่ งแวดล้ อม
3. เสริมสร้ างความเข้ าใจระหว่ างผู้ผลิตและผู้บริโภค
แนวทางการดาเนินการ
4. สนับสนุนเกษตรกรรมทีเ่ ป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม ได้ แก่
• ผลิตผลจากเกษตรอินทรีย์
ผลิตผลทางการเกษตรที่ผลิตด้ วยวิธีทลี่ ดภาระต่ อสิ่ งแวดล้ อมให้ ได้ มากที่สุด
โดยอาศัยการลดปริมาณการใช้ ปุ๋ยและยาฆ่ าแมลงที่สังเคราะห์ ขึน้ ทางเคมี และไม่
ใช้ เทคโนโลยีตดั แต่ งพันธุกรรม
แนวทางการดาเนินการ
• ผลิตผลจากการปลูกพืชแบบพิเศษ
ผลิต ผลทางการเกษตรที่ ล ดปริ ม าณการใช้ ยาฆ่ า แมลงและปุ๋ ยเคมี
ในช่ วงการเพาะปลูกลง ร้ อยละ 50 เมื่อเทียบกับปริมาณการใช้ ทั่วไปใน
พืน้ ทีเ่ ดียวกัน
• ผลิตผลทีผ่ ลิตโดยเกษตรกรรักษ์ สิ่งแวดล้ อม
ผลิตผลทางการเกษตรที่ใช้ เทคโนโลยีลดปริมาณการใช้ ปุ๋ยเคมีและยาฆ่ า
แมลง โดยอาศัยการเตรียมดินเป็ นหลัก (อัตราการลดต่ างกันตามผู้ผลิต
แต่ ละบุคคลและสถานการณ์)
แนวทางการดาเนินการ
- ผลิตผลจาก “การผลิตผสมผสานกับแบบวิถีธรรมชาติ”
ผลิตผลทางการเกษตรที่ผลิตด้ วยวิธีผสมผสานระหว่ างวิธีปลูกแบบ
ดั้งเดิมกับการใช้ ปุ๋ยชีวภาพ โดยอาศัยหลักการของการปรับปรุ งดิน การใส่
ปุ๋ ยอินทรีย์ และการปลูกพืชหมุนเวียน
การดาเนินการในการขยายการทาการเกษตร
สี เขียวทีเ่ ป็ นรู ปธรรม
- สนับสนุ นการทาการเกษตรที่เป็ นมิตร
ต่ อสิ่งแวดล้ อมแบบยั่งยืนทั่วทุก พืน้ ที่ของ
จังหวัด โดยใช้ หลักการของแนวทางการ
จั ด การขั น้ ตอนการผลิ ต ทางการเกษตร
(GAP)
- ร่ วมมือกับผู้บริ โภค มุ่งเน้ นการเผยแพร่
เทคโนโลยีท่ ลี ดภาระต่ อสิ่งแวดล้ อม
- เพิ่มจานวนผู้นาไปปฏิบัติ
การดาเนินการในการขยายการทาการเกษตร
สี เขียวทีเ่ ป็ นรูปธรรม
- เสริ มสร้ างทัศนคติของผู้ผลิต
โดยจัดฝึ กอบรม
ด้ า นเทคโนโลยีแ ละการให้ ร างวั ล แก่ เ กษตรกรตั ว อย่ า ง
ดีเด่ น
- เสริมสร้ างทัศนคติของเกษตรกรโดยการจัดอบรมการใช้
ยาฆ่ าแมลงที่ถูกต้ อง และการอบรมเทคโนโลยีการใช้ ปุ๋ย
- ให้ รางวัลแก่ เกษตรกรตัวอย่ างดีเด่ นที่จะเป็ นแบบอย่ าง
ให้ แก่ เกษตรกรรายอืน่ ๆ
- เผยแพร่ ผลการดาเนินงานของเกษตรกรดีเด่ นให้ เป็ นที่
รู้ จกั อย่ างกว้ างขวาง
การดาเนินการในการขยายการทาการเกษตร
สี เขียวทีเ่ ป็ นรูปธรรม
สนั บ สนุ น การปฏิบัติ แ บบยั่ ง ยืน ของกลุ่ ม เกษตรกรที่ร่ ว มกัน ท า
การเกษตรที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มในระดับ ชุ ม ชน โดยการปรั บ ใช้
“มาตรการการปรับปรุงการอนุรักษ์ ทดี่ นิ นา้ และสิ่ งแวดล้ อม”
- จัดการอบรมภาคปฏิบัติโดยเกษตรกรที่ทาการเกษตรที่เป็ นมิต รต่ อ
สิ่ งแวดล้ อม เพื่อเผยแพร่ เทคโนโลยีลดภาระต่ อสิ่ งแวดล้ อมและขยาย
จานวนเกษตรกรทีท่ าการเกษตรที่เป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม
- กระตุ้นการขยายการผลิตสิ นค้ าเกษตรที่วางใจได้ และการใช้ เทคโนโลยี
ทางการเกษตรทีเ่ ป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม
ทัศนคติของเกษตรกรเกีย่ วกับการผลิตสิ นค้ า
ทีค่ านึงถึงสิ่ งแวดล้ อมประเทศญีป่ ุ่ น
แหล่งข้อมูล “การสารวจแนวคิดและทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของการ
ผลิตสิ นค้าเกษตร” แบบสารวจทัว่ ประเทศญี่ปุ่นของเครื อข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลเกษตร ป่ า
ไม้ และประมงประจาปี 2548
การสารวจทัศนคติของผู้บริโภคเกีย่ วกับการซื้อสิ นค้ าเกษตรทีเ่ ป็ นมิตรต่ อ
สิ่ งแวดล้อมประเทศญีป่ ุ่ น(สารวจทีส่ ถานทีจ่ ัดงาน ปี 2551 และ ปี 2552 รวม 1,116
ราย)
คุณอยากซื้ อผลิตผลทางการเกษตรที่ปลูกโดยลดปริ มาณยาฆ่าแมลงและปุ๋ ยเคมีหรื อไม่
คุณจะยินยอมซื้อสิ นค้ าเกษตรทีเ่ ป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อมในราคาแพงกว่ าสิ นค้ าเกษตรปกติเท่ าไร
แหล่งข้อมูล แบบสอบถามเกี่ยวกับการซื้ อสิ นค้าเกษตรที่ลดปริ มาณการใช้ยาฆ่าแมลงและ
ปุ๋ ยเคมีีประเทศญี่ปุ่น
ปัญหาและอุปสรรคการทาการเกษตรที่เป็ นมิตรต่ อ
สิ่ งแวดล้ อมของประเทศญีป่ ุ่ น
• ผู้บริโภคต้ องการข้ อมูลเกีย่ วกับวิธีการเข้ าถึงสิ นค้ าเกษตรที่เป็ นมิตรต่ อ
สิ่ งแวดล้อมและข้ อมูลผู้ผลิต ส่ วนผู้ผลิตต้ องการข้ อมูลเกีย่ วกับอุปสงค์
ความต้ องการสิ นค้ าเกษตร
• ผู้บริโภคจานวนมากให้ ความสนใจกับการสร้ างระบบนิเวศให้ อุดม
สมบูรณ์ และมีความต้ องการทีจ่ ะสนับสนุนผู้ผลิต แต่ การแลกเปลีย่ น
ข้ อมูลระหว่ างกันยังไม่ เพียงพอ
โครงการเมืองเกษตรสี เขียว
Green Agriculture City Project
“โครงการเมืองเกษตรสี เขียว
โครงการสาคัญกระทรวงเกษตรแ
ารเมืองเกษตรสี เขียว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ ์ ได้ ก าหนดให้ โครงการ
เ มื อ ง เ ก ษ ต ร สี เ ขี ย ว ( Green
Agriculture City) เป็ นโครงการ
สาคัญ (Flagship Project) ของ
กระทรวงเกษตรฯ ทีส
่ อดคลองกั
บ
้
การขับเพื
เคลื่ออ
่ สร
นยุ้ างความเข
ทธศาสตรประเทศ
์ ้ าใจและ
แลกเปลีย
่ นประสบการณในแต
่ละ
์
พื้น ที่ โดยชู 3 หั ว ใจส าคัญ สู่
การเป็ นเมือ งเกษตรสี เขีย ว คือ
พัฒ นาพื้ น ที่ พั ฒ นาสิ นค้ า และ
พัฒ นาคน อย่างบู ร ณาการครบ
ารเมืองเกษตรสี เขียว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
สาระสาคัญ
- รวมกั
นกาหนดพืน
้ ทีท
่ จ
ี่ ะ
่
พัฒนาให้เป็ นพืน
้ ทีส
่ ี เขียว
- ประสานความรวมมื
อจากทุก
่
ภาคส่วนให้มีกระบวนการผลิตสิ นคา้
เกษตรทีด
่ ี เหมาะสม (Good
Agricultural Practice) ให้ปลอดภัย
จากสารเคมีตกค้างในสิ นค้าเกษตร
- ใช้เทคโนโลยีสะอาดในการ
ผลิตสู่เศรษฐกิจการเกษตรสี เขียว
(Green and Cool Agricultural
Economy)
ารเมืองเกษตรสี เขียว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
หัวใจสาคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสี เขียว
1. พัฒนาพืน
้ ทีใ่ ห้เป็ นพืน
้ ทีป
่ ลอดภัย ปราศจาก
มลพิษรบกวน มีการจัดการของเสี ยอยางเป็
น
่
ระบบ
ารเมืองเกษตรสี เขียว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
หัวใจสาคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสี เขียว
2. พัฒนาตัวสิ นค้าให้เป็ นสิ นค้าทีม
่ ค
ี ุณภาพได้
มาตรฐานดานความปลอดภั
ย ไมมี
้
่ สารพิษตกค้าง
มีการนาภูมป
ิ ญ
ั ญาทองถิ
น
่ มาประยุกตใช
้
์ ้ใน
กระบวนการผลิต
ารเมืองเกษตรสี เขียว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
หัวใจสาคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสี เขียว
3. พัฒนาคน ให้มีชว
ี ต
ิ ความเป็ นอยูที
่ ข
ี น
ึ้ มี
่ ด
รายไดเพิ
่ ขึน
้ จากการขายสิ นค้าทีม
่ ค
ี ุณภาพ
้ ม
สามารถทาการผลิต และอาศั ยอยูในพื
น
้ ทีไ่ ด้
่
อยางยั
ง่ ยืน
่
กิจกรรมต่ าง ๆ ของกรมพัฒนาทีด่ นิ ทีส่ นับสนุนโครงการ
เมืองเกษตรสี เขียว
• ฐานข้อมูลดิน งานปรับปรุ งบารุ งดิน งานเกษตร
อินทรี ย ์ เขตพัฒนาที่ดิน การปลูกไม้ยนื ต้นโตเร็ ว
การรณรงค์ไถกลบตอซังพืช เป็ นต้น
• พิจารณากิจกรรมเพื่อดาเนินการในปี 2557 ซึ่ งอันดับ
แรกต้องจัดทาข้อมูลพื้นฐานของทั้ง 6 จังหวัด
• หาข้อมูลพื้นฐานการใช้สารเคมี ของแต่ละจังหวัด
พิจารณาเขตพัฒนาที่ดิน ที่แต่ละจังหวัดทาไว้แล้ว
กลุ่มเกษตรอินทรี ยใ์ นพื้นที่ที่มีความเข้มแข็ง
มี
รู ปแบบ/ต้นแบบ/ภูมิปัญญาของเกษตรกรที่ทาไว้
แล้วในพื้นที่เพื่อนามาทา C&D
กิจกรรมต่ าง ๆ ของกรมพัฒนาทีด่ นิ ทีส่ นับสนุนโครงการ
เมืองเกษตรสี เขียว
• ส่ งเสริ มให้ชุมชนมีการนาวัสดุทางการเกษตรที่
เหลือจากกระบวนการผลิตมาเป็ นพลังงานชี ว
มวล (Biomass)
และการลดของเสี ย ใน
กระบวนการผลิตให้เป็ นศูนย์ (Zero Waste)
• กักเก็บคาร์บอน (carbon sequestration) โดยใช้
กิ จกรรมต่าง ๆ เช่ น หากปลูกไม้ยืนต้นโตเร็ ว
จะกักเก็บคาร์ บอนได้เท่าไหร่ ต้องเก็บตัวเลข
เพื่อเป็ นตัวชี้วดั เมืองเกษตรสี เขียว
• ส่ งเสริ มและพั ฒ นาหมอดิ น อาสาให้ เ ป็ น
เกษตรกรตัวอย่างเป็ น eco-farmer ของจังหวัด
• จัดประกวดเพื่อรับรางวัล
พืน้ ที่ดาเนินการทั้ง 6 จังหวัด ควรมุ่งเน้ นพัฒนาดังนี้
• ปรับปรุ งคุณภาพดินอย่างเป็ นระบบ
• เพิ่มประสิ ทธิภาพการพัฒนาในกิจกรรมกลุ่ม
ต้นน้ า
ด้วยการมุ่งเน้นการพัฒนาการผลิต
สิ นค้าเกษตรที่สาคัญ ให้มีประสิ ทธิ ภาพ โดย
นาแนวคิดทางด้านโซ่คุณค่า (Value Chain)มา
ใช้
• คัดเลือกเกษตรกร ที่มีความพร้อมในการเข้า
ร่ วมโครงการ โดยบูรณาการร่ วมกับหน่วยงาน
ภายในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พื้นที่ดาเนินการทั้ง 6 จังหวัด ควรมุ่งเน้นพัฒนาดังนี้
• วิเคราะห์ความเหมาะสมของพื้นที่ โดยการใช้
ข้อมูลกลุ่มชุดดิน ผนวกกับข้อมูลแผนที่การใช้
ที่ดินและแผนที่การวางแผนการใช้ที่ดิน เพื่อดู
ความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืช
• การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยจัด
ฝึ กอบรมเกษตรกรที่เข้าร่ วมโครงการ โดยการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน วิธีการเพิ่ม
ผลผลิตพืชตามหลักวิชาการ และสาธิตวิธีการ
ดาเนินงาน
พื้นที่ดาเนินการทั้ง 6 จังหวัด ควรมุ่งเน้นพัฒนาดังนี้
• สนับสนุนปัจจัยการผลิตต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ น
การจัดหาเมล็ดพันธุ์พืช
พืชปุ๋ ยสดให้
เกษตรกรในครั้งแรก เพื่อใช้ในการปรับปรุ ง
บารุ งดิน ตลอดจนสนับสนุนสารเร่ งพด.
และอุปกรณ์ในการทา ได้แก่ ถังหมัก
กากน้ าตาล และวัสดุ ให้กบั เกษตรกรนาไป
ทาน้ าหมักชีวภาพ รวมถึงปุ๋ ยอินทรี ย ์
ขอบคุณ