ลมหายใจของหมอยาพื้นบ้าน - กองทุน ภูมิปัญญา การ แพทย์ แผน ไทย

Download Report

Transcript ลมหายใจของหมอยาพื้นบ้าน - กองทุน ภูมิปัญญา การ แพทย์ แผน ไทย

บทบาทของพืน้ ทีใ่ นการคุ้มครองภูมิปัญญา
การแพทย์ แผนไทยและสมุนไพร
ภญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิ ติพร
โรงพยาบาลเจ้ าพระยาอภัยภูเบศร
อาเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี
การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร…หลากมิติ
• มีสว่ นที่มีการบันทึกอย่างเป็ นระบบ เช่น ตาราแพทย์ศาสตร์
สังเคระห์ของภาคกลาง ปั๊ บสาของล้ านนา ใบลานของยาอิสาน
• ส่วนที่อยูใ่ นตัวหมอไม่มีการบันทึก
• ส่วนที่ใช้ ในครัวเรื อน ในโรคและอาการง่ายๆ
• การใช้ ขึ ้นกับตัวหมอ วัฒนธรรมและ
พืชพรรณที่มีอยูใ่ นท้ องถิ่น
ยาหม้ อใหญ่ ในหมู่บ้าน
ทาไป…ทาไม
• เพื่อการพึง่ ตนเองในด้ านสุขภาพในทุกระดับ
ครอบครัว ชุมชน และระดับประเทศ
• เพื่อเพิ่มโอกาสในการแข่งขัน
• เพื่อเผชิญหน้ ากับภัยพิบตั ิ
พื้นที่ทาอะไรได้บา้ ง
• บันทึกสิง่ ที่มีอยู่
• จัดระบบและตรวจสอบข้ อมูล
• ประกาศการเป็ นเจ้ าของ การสร้ าง
อัตตลักษณ์ให้ ท้องถิ่น
• ดูแลและอนุรักษ์ สงิ่ ที่มีอยู่
• พัฒนาให้ เกิดการนามาใช้ ได้ จริง
• สร้ างทุกให้ คนเห็นความสาคัญและ
สร้ างการยอมรับในสังคม
เก็บรวบรวมความรู ้อย่างเป็ นระบบเพื่อเป็ นฐานข้อมูลใน
การพัฒนา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
มีพรรณพืช พรรณสัตว์ที่ใช้ อะไรบ้ าง
ใช้ อย่างไร
มีประโยชน์ทางยาอย่างไร
จะกินจะใช้ เมื่อใด
ปลูกอย่างไร เก็บเกี่ยวอย่างไร
ชอบขึ ้นบริ เวณไหน
จะอนุรักษ์ ถิ่นที่อยู่ได้ อย่างไร
จะขยายพันธุ์ได้ อย่างไร
ผู้ร้ ูในท้ องถิ่นคือใคร จะดูแลท่านได้
อย่างไร
การบันทึกและเผยแพรคื
่ อการแสดงความเป็ นเจ้าของ
การพัฒนาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร
การอนุรักษ์และรวบรวม
•การเก็บรวบรวมความรู ้เดิม
•การจัดทาฐานข้อมูล
•การรวบรวมตารายาโบราณ
•การอนุรักษ์ป่า
และแหล่งพันธุกรรม
สมุนไพร
การนามาใช้จริ งในสังคม การส่ งเสริ มการใช้ทุกระดับ
•การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้
ได้มาตรฐาน
•พัฒนาการบริ การ
•พัฒนาการวิจยั
•การพัฒนาคน
จัดทาวิทยาลัย
•การส่ งเสริ มการใช้ใน
ชุมชน
•ส่ งเสริ มการปฏิบตั ิ
ของหมอพื้นบ้าน
•ส่ งเสริ มการใช้ในสังคมเมือง
ต้ องรู้ ว่าเรามีอะไรเสี ยก่ อน จึงรู้ ว่าจะไปคุ้มครองอะไร
แล้วจะรู ้ได้อย่างไร
•เสาะหาครู สื บค้นข้อมูล
•การบันทึกข้อมูล
ห้ ามผิดครู
การเป็ นหมอยา
นัน้ ต้ องยึดมั่นใน
คาของอาจารย์
เพิ่น ถ้ าไม่ ตัง้ ในคา
สอนจะทาให้ การ
รั กษาไม่ หาย ไม่ มี
ความขลังด้ วย”
“
เมื่อลงไปสัมผัส…
ประเทศไทยร่ ารวยภูมปิ ั ญญาในการใช้ สมุนไพร…ทรัพย์ สินทางปั ญญาที่ส่ ังสมมาหลายชั่วคน
ด้ วยเชื่อมั่นว่ าความรู้ ท่ สี ่ ังสมมาหลายชั่วคน
จะได้ รับการสืบสาน ส่ งต่ อ สู่คนรุ่ นหลัง
ต้ องทางาน
แข่ งกับเวลา
หมอยา..
ล้ วนอายุมาก
รวบรวมความรู้ และฟื น้ ฟูการใช้ สมุนไพร 4 ภาค
ปั จจุบัน…ยังดัน้ ดันค้ นหา ครู ยาสมุนไพร
ต้องรู้จกั และรักในการเป็ นหมอยา
น
้ บาน
องคประกอบของหมอยาพื
้
์
หมอยา
มีความเชี่ยวชาญด้ านการรักษา
มีศีลธรรม มีจรรยาบรรณ เป็ นผู้นาทาง
จิตวิญญาณ
พื ้นบ้ าน ระบบวัฒนธรรม ระบบนิเวศน์ สังคม
สิ่งแวดล้ อม
ตัวหมอยา
มีวินัยในบทบาทของหมอ
พืน้ บ้ าน เช่ น
•ห้ ามกินเนื ้อ 10 อย่าง ได้ แก่ เนื ้อ
มนุษย์ ช้ าง เสือ สิงโต หมา ลิงค่าง
งู หมี ม้ า เลียงผา
•ห้ ามกินผักอีเละ(ผักปั ง) เพราะจะ
ทาให้ ของเสื่อม
•ในทุกวันพระวันศีล ต้ องเก็บดอกไม้
ไว้ พระบูชาครู และถือศีล
สมุนไพรคือ…เทวดา
การเก็บยา ต้ องมีคากล่ าวและข้ อ
ปฏิบัติ
จะมีคากล่าวเพื่อขอยากับนางไม้ เทวดา
ผู้รักษาต้ นไม้ เพราะต้ นไม้ ทกุ ต้ นมีเจ้ าของ
เอโก เอกา ข้ าพเจ้ ามาขอไม้ นาเจ้ า
เอามาปั วผู้ปัวคน ให้ หายไข้ หายป่ วย
ให้ เป็ นผู้เป็ นคน แต่ วันนีม้ ือ้ นี่เป็ นต้ น
ไปเด้ อ สาธุ
ห้ ามข้ ามต้ นยาตัวเอง เพราะถือว่าเราลบ
หลูต่ ้ นยา ต้ นยาจะเสื่อม
การเก็บยาต้ อง…ขอ
. คากล่าวขอยาหมอยา บางท่าน
เรี ยกการกล่าวพิษณุยา ซึง่ ต้ อง
ครอบครูเสียก่อนถึงจะได้ คากล่าว
มา บางคนเมื่อครอบครูแล้ วไม่มี
คากล่าวพิษณุที่แน่นอน เพียงแต่
กล่าวแต่สงิ่ ดี ๆ เพื่อขอยาก็ได้
หากไปเก็บยามาโดยไม่มีการ
กล่าวพิษณุยา ยาที่ได้ มาจะไม่ดี
รักษาคนไข้ ไม่หาย
การเก็บยา ต้ องมีวนั เวลา
เวลาเก็บยา เก็บได้ วนั อังคาร วัน
พฤหัสบดี เท่านันเพราะเป็
้
นวันดี
และช่วงเวลาจะเป็ นช่วงเช้ าถึงบ่าย
สามเท่านัน้ เพราะ เป็ นวันแข็งแม้ แต่
เผาผีคนก็จะไม่เผาสองวันนี ้ และที่
เป็ นช่วงเวลาเช้ าไม่ เกินบ่ ายสาม
เพราะเวลาบ่ายสามเป็ นช่วงเวลาที่
คนเอาผีไปป่ าหรื อเวลาเผาปี จึงมี
ความเชื่อว่าหากเก็บช่วงเวลานันยา
้
จะรักษาไม่หาย
การเก็บยา ต้ องระวัง
•ห้ ามให้ เงาทับยาเวลา
เก็บ การเก็บยาจะให้
เงาของตัวหมอยาทับ
ยาหรื อเงาต้ นยาไม่ได้
ต้ องยืนในทิศที่เงาจะ
ไม่ทบั เพราะหากเงาทับ
ต้ นยา ยาจะไม่ดีรักษา
ไม่หาย
ยาดี ต้ องปลุกเสก
เมื่อได้ ยามาแล้ วต้ องปลุก
เสก หลังจากที่เก็บยามา
ไว้ แล้ ว ต้ องมีการปลุกเสก
ซึง่ คาถาปลุกเสกก็แล้ วแต่
ละคน แต่ละอาจารย์ ซึง่ ก็
จะไม่เหมือนกัน และไม่
เปิ ดเผยหากไม่มีการ
ครอบครูก่อน เพื่อให้ ยามี
ความศักสิทธิ์มากขึ ้น
บูชายาทีเ่ ก็บไว้ หรือหมั่น
ตรวจตราคุณภาพยา
มื่อดับ วันเพ็ญ ก็บชู ายา ที่
เก็บไว้ ในบ้ าน เมื่อถึงวันขึ ้นสิบ
ห้ าค่า หรื อแรมสิบห้ าค่า หมอ
ยาจะทาการบูชายา โดยใช้
ขันห้ า ขันแปด บูชาและมี
คาถากล่าวกากับ เพื่อให้
ความเคารพยาทาให้ ยามี
ประสิทธิภาพรักษาก็หาย
และแสดงถึงความเชื่อ ความ
ศรัทธาในตัวยาของตัวเอง
ด้ วย
รอบรู้ เรื่องต้ นไม้ ใบยา
เมตตาเปี่ ยมล้น
เมตตาดั่งมหาสมุทร
สานึกในบุญคุญของสรรพสิ่ ง
สวดมนต์เช้ าเย็น หรื อทุก
วันบุญเพื่อแผ่เมตตา
ให้ กบั ต้ นยา และสรรพ
สัตว์ที่อาศัยต้ นไม้ ที่ต้อง
ตายไปจากการนาต้ นยา
มารักษาคนที่มาช่วย
รักษาคนหรื อ
สวดมนต์ของคุณคนที่ยก
พาข้ าวมาให้
จิตสานึกต่ อสั งคมสู ง
•เป็ นที่พงึ่ ของชุมชน ในด้ าน
วัฒนธรรม รอบรู้ประเพณี
พิธีกรรม เป็ นผู้ค ้าวัดค้ าวา
ลมหายใจของหมอยาพืน้ บ้ านอยู่
ที…
่ สานึกของคนในสั งคม
•การมีสจั จะ
•ความรอบรู้
•ความเคารพและสานึก
ในบุญคุญของธรรมชาติ
และสรรพสิง่
•ความเมตตตา
•จิตสาธารณะ
กรอบการวิจัย…การน้ อมรับจิตวิญญาณของหมอยาพื ้นบ้ านข้ ามใส่ตวั ของเรา
จากภูมิปัญญาพื้นบ้าน…สู่การสร้างนวตกรรม
• ยาสมุนไพร 36 รายการ
• ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 5
รายการ
• เครื่ องสาอาง 60 รายการ
• เครื่ องดื่ม 7 รายการ
ว่ านหอม…ปราบมาร
สูก่ ารเป็ น
แป้งพัฟพ์
แป้งฝุ่น
สบู่นางพญา
ครีมกันแดด
เจลแต้มสิว
จากความรู้พ้นื บ้าน…สู่การใช้จริ ง
จากตานาน สู่
• ผลิตภัณฑ์ แชมพูและครี มนวด
นางผมหอม
มังคุด
มะขามป้ อม
แก้ ไอ
ช่ วยดูแลหัวใจ
และหลอดเลือด
ต้ านอนุมูลอิสระ
กาจัดพิษโลหะ
อายุวัฒนะ
ยาแก้ ไอมะขามป้ อม
ผลิตภัณฑ์ขายดีของอภัยภูเบศร
แก้หวัด
แก้ไอ
แก้เจ็บคอ
มะขามป้ อม สมุนไพร ตัง้ แต่สมัยพุทธกาล ได้กลับมาดูลสุขภาพ ของคนไทยต่อไป
ผลิตภัณฑ์จากมะขามป้ อม
ครีมบารุงผิวหน้ าเอมบริกาพลัส
อายเจลสมุนไพร
การทดสอบด้วยเครื่ อง Cutometer วัดค่า Elasticity และ Whitening
ผลิตภัณฑ์ จากมะขามป้ อม
Emblica Products
อบรมและฟื ้ นฟูการใช้ สมุนไพร
...ส่ งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
ทัง้ รั บ…และให้
รายงานการศึกษาวิจัยการเก็บรวบรวมข้ อมูลสมุนไพรพืน้ บ้ าน
เอาประสปการณ์ มาแลก เจือจานแจกจ่ าย ให้ คนนามาใช้ พ่ งึ ตนเองด้ านสุขภาพ
ถ้ าสมุนไพรมีคุณภาพ สมุนไพรก็จะยังยอุ่
• GAP (Good Agriculture Practice)
GHP (Good Harvesting Practice)
• GMP (Good Manufacturing Practice)
• GLP (Good Laboratory Practice)
• GCP (Good Clinical Practice)
พัฒนาการควบคุมคุณภาพทุกขัน้ ตอน
ส่งเสริมชุมชน
ผลิตวัตถุดิบสมุนไพรเกษตรอินทรีย ์
บ้านดงบังและอีกหลายชุมชน
ทาให้ ชมุ ชนมีความสุข มีการทาสัญญาซื ้อล่วงหน้ า กาหนดราคาร่วมกัน
เพื่อให้ เกษตรกรและผู้บริ โภค รวมถึงสิงแวดล้ อมปลอดภัยจากสารเคมี ที่ใช้ ในยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมี
จึงมุ่งผลิตวัตถุดิบ
ได้รบั การรับรองมาตรฐาน “เกษตรอินทรีย”์
จาก มกท. (IFOAM)
เกษตรอินทรีย์
การพึ่งพาตนเอง
ดูแลระบบนิเวศ
สารสาคัญที่เหมาะสม
ลดสิ่งแปลกปลอม ปนเปื้ อน
เกษตรกรมีความรู้
มีการวางแผนร่วมกัน
รู้แหล่งที่มาของสมุนไพร
ลดสารตกค้าง สารหนู
คุณภาพวัตถุดิบ
 ผูบ้ ริโภคปลอดภัย
 เกษตรกรปลอดภัย
 สิ่งแวดล้อมที่ดี
ลดปัญหาโลกร้อน
พัฒนาการแพทย์ แผนไทย เพือ่ ให้ สมุนไพรกลับมา
งานบริการแพทย์ แผนไทย
คลินิคแพทย์ แผนไทยประยุกต์
• เป็ นไปตามมาตรฐานการให้ บริการแพทย์ แผน
ไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรั ฐ ปี 2551
กระทรวงสาธารณสุข
• ตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์ แผนไทยประยุกต์
• ให้ บริการโดยผู้ช่วยแพทย์ แผนไทย(430 ชั่วโมง)
ตามมาตรฐานคณะกรรมการวิชาชีพ
การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตแบบผสมผสาน
• ทางานเป็ นทีมสหสาขาวิชาชีพในหอผู้ป่วยเปรมสุข
และประสาทวิทยา
• แพทย์แผนไทย แพทย์แผนปั จจุบนั กายภาพบาบัด
ฝั งเข็ม ออกกาลังกาย สมาธิ
งานบริการแพทย์
แผนไทย
บริการแพทย์ แผนไทยในสถานีอนามัย
• มีหมอนวดแผนไทยประจาสถานีอนามัย
• เยี่ยมบ้ าน นวดฟื น้ ฟูผ้ พู ิการในชุมชน ทับหม้ อเกลือ
สอนทาฤาษีดดั ตน
บริการทัวร์ สุขภาพ
• ร่วมมือกับภาคเอกชนหรื อราชการ เช่น ภาพ
สานักงาน กพ. หลักสูตรนักบริหารระดับสูง มารับ
บริการด้ านการแพทย์แผนไทยที่ปราจีนบุรี เฉลี่ย 2-3
ครัง้ /เดือน
• บรรยายความรู้การดูแลสุขภาพตนเองด้ วย
การแพทย์แผนไทย
• การใช้ สคุ นธบาบัด
• อาหารเพื่อสุขภาพ
การศึกษาดูงานด้านการแพทย์แผนไทย
และสมุนไพร
ปี
ปี
ปี
2548 : 31,756
2549 : 25,279
2550 : 23,510
ปี
2551 : 30,152
ปี
คน 35,999
2552 :
คน
คน
คน
คน
วิทยาลัยการแพทย์ แผนไทยอภัยภูเบศร
ให้ การอบรมด้ านการแพทย์ แผนไทย โดยมีหลักสูตรที่เปิ ดสอนดังนี ้
 หลักสูตรการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ บัณฑิต โดยความร่ วมมือกับ
มหาวิทยาลัยบูรพา เปิ ดสอนระดับปริญญาตรี
 หลักสูตรที่ผ่านการรั บรองจากคณะกรรมการวิชาชีพ ได้ แก่
 หลักสูตรผู้ช่วยแพทย์ แผนไทย 430 ชั่วโมง
 หลักสูตรนวดไทย 800 ชั่วโมง
การส่งเสริมการใช้สมุนไพร
• หนังสือรวบรวมความรู้สมุนไพร
• รายการวิทยุ “สุขภาพสูเ่ ศรษฐกิจ” AM 819 และ
รายการวิทยุ ม.เกษตรศาสตร์ AM 1107
• รายการโทรทัศน์ ชีวิตชีวา (ช่อง 3)
• จัดทา “อภัยภูเบศรสาร” วารสารความรู้สมุนไพร
และภูมิ ปั ญญาแพทย์แผนไทย
• จัดสวนสมุนไพรเพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู้
• ส่งเสริ มการปลูกสมุนไพร แจกเมล็ดพันธุ์
โครงการผักพืน้ บ้ านและ ศูนย์ เมล็ดพันธุ์
• เพื่อส่ งเสริมและสนับสนุนให้ เกษตรกรได้ ปรับเปลี่ยนระบบ
การผลิต
• ที่พ่ งึ พาการใช้ สารเคมี มาเป็ นการพึ่งตนเองในด้ านอาหาร
พืชผักพืน้ บ้ าน การพึ่งตนเองด้ านปั จจัยการผลิต เช่ น ผลิตปุ๋ย
อินทรีย์และสารชีวภาพ การพึ่งตนเองด้ านเมล็ดพันธุ์ รวมไป
ถึงการเชื่อมโยงเครือข่ ายทัง้ ในส่ วนของเกษตรกรผู้ผลิต และ
การเชื่อมโยงกลุ่มผู้บริโภคที่ต้องการอาหาร-พืชผักที่ปลอดภัย
และมีคุณภาพในรูปแบบของตลาดสีเขียว
โครงการผักพืน้ บ้าน
และ ศูนย์เมล็ดพันธุ์
ให้การศึกษา: ทาค่ายเด็ก
การคุมครอง
ปกป้องรักษา ให้คงอยู่ ชัว
่ ลูกหลาน
้
ตัอวย่าง: การอนุรกั ษ์ ในถิ่นที่อยู่อาศัย กรณี ศึกษา : FRLHT
 เชือ
่ กันวาในอี
ก 25 ปี ดูเหมือนวาหนึ
่งในสี่ ของพืช
่
่
พรรณในอินเดียมีโอกาสสูญพันธุ ์ และส่วนใหญประมาณ
่
วาจะสู
ญพันธุภายใน
10 ปี
่
์
 ซึง่ ถาหากปล
อยให
้ มันจะเป็ นสิ่ งไมสามารถให
้
่
้เกิดขึน
่
้อภัย
ไดต
นอาชญากรของคนรุนต
้ อการเป็
่
่ อไป
่
บริบทในอินเดีย
 A few species like Saussurea costus, Arnebia
benthamii, Trichopus zeylanicus ssp. Travancoricus
are critically endangered in the wild.
 Around 200 medicinal plant species have been assigned
Red-List status,so far, in peninsular and northern India.
Saussurea costus
Arnebia benthamii
Trichopus zeylanicus
Ssp. travancoricus
การอนุรกั ษ์ในแหล่งที่อยู่
การอนุรกั ษ์ในถิน่ ทีอ่ ยู่In situ conservationเป็ นการ
อนุ รก
ั ษพื
้ ฐานและมีประสิ ทธิภาพสูงสุด ลงทุนน้อยสุดใน
์ น
การอนุ รก
ั ษในระยะยาว
.
์
การกระจายของสมุนไพร
สมุนไพรมีการกระจาย
หลากหลายตาม
forest types (16) / bio-geographic
zones (10) / biotic provinces (25) of
the country.
มทุ
การวางแผนการอนุ รก
ั ษต
่ ก
้
์ องครอบคลุ
ระบบนิเวศน.์
THE BIOGEOGRAPHIC CLASSIFICATION OF INDIA
Biogeographic Zone
1
2
Trans-Himalayan
Himalayan
3
Desert
4
Semi-Arid
5
Western Ghats
6
Deccan Peninsula
7
Gangetic Plain
8
North-East India
9
Islands
10
Coasts
Biotic Province
1A
2A
2B
2C
2D
3A
3B
4A
4B
5A
5B
6A
6B
6C
6D
6E
7A
7B
8A
8B
9A
9B
9C
10A
10B
Tibetan
North West Himalaya
West Himalaya
Central Himalaya
East Himalaya
Kutch
Thar
Punjab
Guiarat-Rajwara
Malabar Coast
Western Ghat Mountains
Deccan Plateau South
Central Plateau
Eastern Plateau
Chhota-Nagpur
Central Highlands
Upper Gangetic Plain
Lower Gangetic Plain
Brahmaputra Valley
Assam Hills
Andaman Islands
Nicobar Islands
Lakshadweep Islands
West Coast
East Coast
Medicinal Plant
species in the Biogeographic zones
of India
Trans Himalayan
Est. Med spp = 700
Ephedra gerardiana
Arnebia euchroma
Hippophae rhamnoides
North-West & West Himalaya
Est. Med spp = 1700
Arnebia benthamii
Aconitum heterophyllum
Saussurea costus
Ferula jaeschkeana
Central & East Himalaya
Est. Med spp = 1200
Panax
pseudoginseng
Nardostachys
grandiflora
Taxus wallichiana
Rhododendron anthopogon
North-East India
Est. Med spp = 2000
Aquilaria agallocha
Smilax glabra
Ambroma augusta
Vetiveria zizanioides
Gujarat-Rajwar
Est. Med spp = 1000
Tribulus rajasthanensis
Commiphora wightii
Balanites aegyptiaca
Caesalpinia bonduc
Desert Region
Est. Med spp = 500
Cressa cretica
Convolvulus
microphyllus
Citrullus colocynthis
Tecomella undulata
Gangetic Plains
Est. Med spp = 1000
Withania coagulens
Mallotus philippensis
Holarrhena pubescens
Adhatoda vasica
Coastal Region
Est. Med spp = 500
Rhizophora mucronata
Sonneratia caseolaris
Acanthus ilicifolius
Avicennia marina
Deccan Peninsula
Est. Med spp = 3000
Buchanania lanzan
Gloriosa superba
Rauvolfia serpentina
Endemics of Deccan Peninsula
Pterocarpus santalinus
Chlorophytum
borivillianum
Decalepis hamiltonii
Western Ghats
Est. Med spp = 2000
Trichopus zeylanicus
ssp. travancoricus
Myristica malabarica
Coscinium fenestratum
Saraca asoca
Garcinia indica
A NOVEL CONSERVATION STRATEGY EXPERIENCES FROM PENINSULAR INDIA
เครือขาย
่ 55
Medicinal Plant
conservation
areas (MPCAs)
ถูกสรางขึ
น
้
้
กระจายตามสภาพ
ภูมศ
ิ าสตร ์
ครอบคลุมทัว่
อินเดีย
… ประสปการณ์ การทางานของ FRLHT ใน
อินเดีย
Criteria for the choice of MPCAs
• เลือกพืน
้ ทีอ
่ ยางครอบคลุ
มทุกระบบนิเวศนที
่ ใี นอินเดีย
่
์ ม
• เลือกครบทุก altitude zones ทีม
่ อ
ี ยูในอิ
นเดีย
่
• เลือกพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ห
ี มอยาทีม
่ ค
ี วามเชีย
่ วชาญเป็ นอันดับตนๆ
้
• เลือกพืน
้ ทีท
่ ส
ี่ มุนไพรทีเ่ สี่ ยงตอการสู
ญพันธุเป็
่
้
์ นอันดับตนๆ)
• สามาระเดินทาเขาถึ
ก
้ งไดไม
้ ยากนั
่
… ประสปการณ์ การทางานของ
FRLHT ในอินเดีย
Detailed botanical studies carried out at each
MPCA site.
Results of botanical studies (34 MPCAs):
Voucher specimens
No. of species
Medicinal. plant Species
Red Listed Medicinal Plants
> 20,000
> 2,000
> 1,400
=
80
แล้วเราจะจัดการอย่างไร กับ
ทรัพย์สินทางปัญญาของเรา
ขอบคุณมากค่ะ…