ช่วงที่1

Download Report

Transcript ช่วงที่1

Peter Eisenman
Born:
August 11, 1932, Newark, New Jersey,
USA
Education:
BArch, Cornell University (1955) BArch,
Cornell University (1955)
MS, Columbia University (1960) MS,
Columbia University (1960)
MA, Cambridge University (1962)
MA, Cambridge University (1962)
Ph.D., Cambridge University (1963)
Ph.D., Cambridge University(1963)
Address:
Eisenman Architects, 41 West
25th Street, New York, NY, 10010
Honors:
Graham Foundation, Fellowship, 1966
Architect-in-Residence, American Academy
in Rome, 1976
John Simon Guggenheim
FoundationFellowship, 1976
Brunner Award, National Institute of Arts and
Letters, 1984
National Endowment for the Arts Fellowship,
1985
University of Illinois (Chicago) Doctor of Fine
Arts, 1986
ทฤษฏีของไอเซนมานคือ
การปล่ อยให้ สถาปั ตยกรรม มี
อิสรภาพ โดยไม่ อ้างอิงการขึน้ ฟอร์ ม
หรื อรู ปทรงจากความหมายใดทัง้ สิน้
ไอเซนมาน สนใจกับ ‘การให้ อิสรภาพ’
กับสถาปั ตยกรรม โดยอ้ างอิงจากทฤษฎี
และ แนวคิดในเชิงวิชาการ ต่างๆ หากแต่
ยังมีความผิดพลาดกับ โครงสร้ างที่ไม่ดี
และ ไม่เป็ นมิตรต่อผู้ใช้ หรื อเจ้ าของบ้ าน
ไอเซนมานมักจะถูกพบอยู่ในชุดหู
กระต่ายและเสื ้อนอกสีดา
Esienman เริ่มต้ นจากการรวมกลุ่มของสถาปนิก 5 คน
ในนามของ นิวยอร์ กไฟฟ์ หรื อ Five Whites ซึง่
ประกอบด้ วย ปี เตอร์ ไอเซนมาน, ชาร์ ลส์ เกวตเม, จอห์น เฮ็จ,
ไมเคิล เกรฟ และ ริชาร์ ด ไมเออร์ โดยแนวงานจะเป็ นการนา
แนวความคิดของเลอ คอร์ บซู แิ ยร์ กลับมาคิดใหม่ สถาปนิกทัง้
5 ได้ พัฒนาแนวทางของตนเองออกมาเรื่ อยๆ จนมีความ
ชัดเจน และในที่สดุ ปี เตอร์ ไอเซนมาน ก็ได้ พฒ
ั นามาจน
เกี่ยวข้ องกับ การเคลื่อนไหวของ การรื อ้ ถอนโครงสร้ าง หรื อ
deconstruction
Peter Eisenman : “Grid, Diagram และการทลายความหมายของ
สถาปั ตยกรรม”
งานของไอเซนแมนเกือบทังหมด
้
จะได้ รับอิทธิพลมาจากการใช้ diagram แบบกริด
ซึง่ ระบบนี ้พบครัง้ แรกในงานของPalladio ซึง่ เขาได้ ทาหารศึกษาเรื่ อราวเกี่ยวกับ
ระบบนี ้เพื่อทาดุษฎีนิพนธ์ ภายใต้ หวั ข้ อ “The formal basis of modern
architecture.” ซึง่ เป็ นการวิเคราะห์ถึงมูลฐานของรูปทรงสถาปั ตยกรรมยุค
โมเดิร์นผ่านการใช้ ไดอะแกรม ทาให้ งานของเขาก็จะมีการอ้ างอิงถึงการใช้ ไดอะแกรม
แบบกริด ทังหมด
้
ซึง่ ไดอะแกรมในการทางานของไอเซนแมนจะทาหน้ าที่ สองอย่าง
หลักๆ อย่างแรกคือ ใช้ ในการวิเคราะห์และอธิบาย ส่วนอีกหน้ าที่หนึง่ คือการ
สร้ างสรรค์ ใช้ ทงการสร้
ั้
างโครงสร้ างและที่ว่างของอาคาร
งานของปี เตอร์ ไอเซนแมนสามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ช่วงหลักๆ
ช่วงที่ 1
1960-1970 New York Five และอิทธิพลจากเลอร์ คอร์ บซู เิ ออร์
ช่วงที่ 2
1980-1990ตอนปลาย Deconstruction
ช่วงที่
1990ตอนปลายเป็ นต้ นไป New Science and Folding
Architecture
ช่ วงที่1
1960-1970 New York Five และ
อิทธิพลจากเลอร์ คอร์ บซู เิ ออร์
ในช่วงแรกมักจะหยิบงานของสถาปนิกในช่วง
โมเดิร์นอย่าง คอร์ บมู าทาการวางไดอะแกรม
สามมิติ เพื่อทาการหลีกหนีจากความจาเจของ
รูปทรงเดิมๆในยุคโมเดิร์น ซึง่ งานซ ้าซ้ อนของ
โครงสร้ าง ทาให้ ตวั โครงสร้ างของอาคารโดน
ทาลาย สัญญะ (sign) ของตัวมันเอง เช่น การ
ซ ้าของเสา แต่เสาที่ซ ้าก็ไมได้ ทาหน้ าที่เป็ นเสา
แต่จะคลายกับเป็ นส่ วนประดับตกแต่ ง
(Ornament ซึง่ ต่างจากระบบประโยชน์ใช้
สอยนิยมในยุคโมเดิร์นที่เสา ก็ตรงเป็ นเสา เป็ น
โครงสร้ างเท่านัน้
ตัวอย่างงานในช่วงที่1
House II Hardwick, VT ปี 19
เป็ นบ้ านที่มีการวางผังอาคารในรูปแบบของไดอะแกรมสามมิตมิ าวางซ้ อนให้
เหลื่อมกันจนเกิดสภาวะอ้ างอิงตัวเอง เกิดการซ ้าซ้ อนของโครงสร้ าง จนทาให้
ไม่สามารถอ้ างอิงความหมายของโครงสร้ างตามตัวของมันเอง
70
ตัวอย่างงานในช่วงที่1
House II Hardwick, VT ปี 1970
ตัวอย่างงานในช่วงที่1
ไอเซนแมน ได้ รับฉายาว่า deconstructiveist เขาได้
พยายามตังข้
้ อจากัดของ structure ไปสู่ freeform
ไอเซนแมนยอมรับว่าโครงสร้ างที่ออกมาไม่ได้ ตงใจที
ั ้ ่จะทาให้
เกิดความสะดวกสบายของผู้ใช้ และไม่เข้ าใจว่าทาไม้ ต้อง
สร้ างงานโครงสร้ างที่มีมาก่อนหน้ าแล้ ว เช่น บ้ านเสาคาน
เมื่อไอเซนแมนเริ่มออกแบบบ้ านในปี 1991 ได้ ใช้ แนวคิด
ของ postmodern ในการออกแบบอาคาร
“Turning its back on the street”
House II Hardwick, VT ปี 1970
“Ignoring the view”
การออกแบบบ้ านที่มีความเฉพาะเจาะจง เปรี ยบเสมือนการ
ฝึ กให้ เราเข้ าใจถึงเงื่อนไขต่างๆ มากขึ ้น
ช่ วงที่2
1980-1990ตอนปลาย Deconstruction
เป็ นการผสมสานปรัชญาทางสถาปั ตยกรรมแบบดีคอนสตรักชัน่ ซึง่ เป็ นสถาปั ตยกรรมที่มีลกั ษณะเด่นโครงสร้ าง และตัวเปลือกหุ้ม
อาคาร(envelope) ที่ไม่ใช่เส้ นตรง มีทิศทางที่ไม่แน่นอนซึง่ เขาได้ รับอิทธิพลปรัชญานี ้มาจากสถาปนิกชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ จาคส์ เด
อริดา ผู้ซงึ่ เป็ นคนบัญญัติความหมาย และรูปแบบของงานแบบดีคอนสตรักชัน่ จากแนวคิดนี ้งานของไอเซนแมนเองจะถูกออกแบให้ มี
ความซับซ้ อนที่มากขึ ้น ทาให้ สาระสาคัญหรื อ แก่นของสถาปั ตยกรรมของเขาบิดเบือนเปลี่ยนไป เกิดการหลุดออกจารการยึดติด
ความหมายเดิมๆ เกิดความหมายใหม่จากการสร้ าง และรื อ้ เปรี ยบได้ เหมือนสถาปั ตยกรรมเป็ นภาษาที่สองเลยก็ว่าได้
การสร้ างงานแนวดีคอนสตรักชัน่ ของไอเซนแมนจะ
เป็ นกรใช้ ไดอะแกรมหลายๆรูปแบบๆ เช่น ไดอะแกรม
ทางประวัติศาสตร์ ผังแม่บท ภูมิประเทศมาซ้ อนทับ
กัน หรื อเรี ยกว่า Superposition แล้ วนาเอา
ไดอะแกรมเหล่านันมาท
้
าการรี สเกลแล้ วนาทังหมด
้
มาทับกันเพื่อให้ เกิดโปรแกรมของอาคาร
ตัวอย่างงานในช่วงที่2
Wexner Center Columbus ปี 1989
เป็ นการออกแบบต่อเติมพิพิธภัณฑ์ศลิ ปะ โดยการ
นาเอาไดอะแกรมการวางผังเมืองในอดีต และ
ปั จจุบนั มาวางซ้ อนทับกัน เพื่อให้ เกิดไดอะแกรม
ใหม่ และใช้ ในการออกแบบ
Wexner Center ได้ รับการคาดว่าจะเป็ น
สถาปั ตยกรรมสาธารณะชิ ้นแรกที่เกิดจากการคิดในเชิงรื อ้
ถอนโครงสร้ าง หากแต่การก่อสร้ างและพื ้นที่บางบริเวณ เช่น
ห้ องแสดงศิลปะ ยังมีปัญหาอยู่ นอกจากนี ้ กาแพงต่างๆของ
ตึกนี ้ยังทาให้ ตกึ มีความซับซ้ อนอย่างมากถึงขัน้ ผู้ใช้ มีอาการ
คลื่นไส้ ได้ ถึงกับมีนกั วิจยั กล่าวว่า “คุณค่าในสายตาของไอ
เซนมาน เกิดจากการที่ตกึ ของเขามีชื่อว่าเป็ นศัตรู กบั
มนุษยชาติ”
ตัวอย่างงานในช่วงที่2
ช่ วงที่ 3 1990
ตอนปลายเป็ นต้ นไป New Science
and Folding Architecture
เป็ นสถาปั ตยกรรมที่ตวั ไอเซนแมนต้ องการผลักดันตัวงานเข้ าสู่ระบบ
วิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ การออกแบบ หรื อตัวงานจะมีรูปแบบคล้ ายกับว่ามีแรงภายนอก
มากระทา ทาให้ พบั เข้ าหาด้ านใน จนเกิดเป็ นความซับซ้ อน และในขนาดเดียวกันก็เกิด
ความหลากหลายที่สามารถอยู่ร่วมกันได้
และงานประเภทนี ้จะไม่นิยมการลดทอน
เพราะเมื่อเกิดการลดทอนส่วนใดส่วนหนึง่ ก็จะเกิดความซับซ้ อนของที่ว่างเพิม่ ขึ ้นเรื่ อยๆ
ซึง่ จะเรี ยกได้ ว่าสถาปั ตยกรรมแบบโฟลดิ ้งนันเป็
้ นอนันต์ก็ว่าได้
งานในแบบนี ้ของไอเซนต์แมนจะเป็ นการรวมเอาFigure and
Ground เข้ าไว้ ด้วยกัน กล่าวคือตัวงานเองกับพื ้นที่ตงจะถู
ั ้ กหลอมรวมเข้ าด้ วยกันจน
ไม่สามารถแยกออกได้ ทางสายตา ซึง่ การคิดตามระบบโฟลดิ ้งนี ้จะทาให้ เกิดการทับซ้ อน
ทางสามมิติ จนทาให้ เกิดรูปทรงใหม่ที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น จนทาให้ การรับรู้ทางสายตานัน้
เปลี่ยนไป ทาให้ สถาปั ตยกรรมที่เกิดขึ ้นไม่สามารถคาดการณ์ถึงที่ว่างด้ านในได้ ซึง่
รูปแบบนี ้ไอเซนแมนเชื่อว่ามันตอบสนองหับวิทยาศาสตร์ แนวใหม่
ตัวอย่างงานในช่วงที่สาม
ตัวอย่างงานในช่วงที่3
อนุสรณ์ สถาน
การฆ่ าล้ างเผ่ าพันธ์ ชาวยิวในยุโรป
โดยพรรคนาซี ของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์ สมัย
สงครามโลกครัง้ ที่ 2
สร้ างขึ ้นเมื่อปี 1998-2005
Peter Eisenman ออกแบบอนุสรณ์สถาน
แห่งนี ้ โดยให้ คนที่เข้ าไปแล้ วรู้สกึ อยู่ในสภาพที่
หวาดกลัว เหมือนกับเรารับรู้ถึงความรู้สึกของ
ชาวยิวที่พลัดพรากจากคนที่รัก โดยทหาร ของฮิต
เล่อร์ ในสมัยนัน้ พาไปยังค่ายกักกัน
และสังหารหมู่..
แท่งคอนกรี ตจะค่อยๆสูงขึ ้นและแท่งคอนกรี ตอันที่
สูงสุด สูงประมาณ 4 เมตร
ความเงียบ..ยิ่งเดินเข้ าไปยิ่ง เงียบสงบ
ทังๆที
้ ่อยู่ใจกลางเมือง มีถนนล้ อมรอบทังสี
้ ่ด้าน..
เงาที่ตกทอด ในบางมุมของแท่ งคอนกรี ต
เปรี ยบเสมือน ด้ านมืด และด้ านสว่างในจิตใจของมนุษย์
อย่ างแท่ งคอนกรี ตเปลือยธรรมดา
แต่แสดงให้ เห็นถึงความธรรมดาสามัญ ของมุนษุ ย์เรา
ความสูงต่า ของเสาคอนกรี ต เปรี ยบเสมือน
ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม..
อย่างชนชันยิ
้ วในยุโรปสมัยนัน..
้
มีความหมาย 2 นัยยะ ของสัญลักษณ์ เพื่อจากัด
ความของเมืองและยืดขยายเพื่อเชื่อมต่อของ
สถานที่ถึงเมืองสูโ่ ลก memorial square
เป็ นกรจากัดความโดยผสมผสานระหว่างอาคารสูง
กับการสะท้ อนของกระจกที่สื่อเส้ นขอบฟ้าของ
Manhattan ผ่านเส้ นสายของเรขาคณิต
ภายในประกอบด้ วย memorial museum
ห้ องสมุด concert hall opera house
และ performing art theater
ระดดับพื ้นดินของอาคารจะมี form ที่เป็ นแถว
เฉพาะและพิเศษ ชี ้นาทางเข้ าสู่ site
Memorial Square
Columbus Convention Center.
1993, Peter Eisenman
แสงสว่างเป็ นสัญลักษณ์ของรูปร่าง จิตวิญญาณ
ของสมัยใหม่ และยุคที่น่าตื่นเต้ นของวิทยาการ
ความรู้ convention center ออกแบบ
โดยความชัดเจนของ diagram อาคารหลังนี ้
ได้ รับรางวัลจาก Frankiling Country
Convention Facilities Authority
ผลงานชิ้นนี้เป็ นงาน re-organize พื้นที่เดิม 13400 ตร.ม และเพิ่มพื้นที่ใหม่ข้ ึนอีก 12000ตร.ม ซึ่งมีหอ้ งสมุด โรง
ภาพยนตร์ พื้นที่ exhibition สตูดิโอ และ พื้นที่ส่วนออฟฟิ ศ ผลงานชิ้นนนี้ของ Eisenmann เป็ นส่ วนหนึ่งของ master
plan ของมหาวิทยาลัย Cincinnati’s schools of design, art, architecture and planning ซึ่ง
ออกแบบโดย Frank Gehry, Michael Graves, Pei Cobb Freed, and Venturi Scott Brown.
ผูค้ นมักวิจารณ์งานของ Eisenmann ว่าการจัดระนาบให้เอียงของเขาทาให้เกิดความสับสนทางการรับรู ้ ซึ่ง Eisenmann ได้
โต้กลับมาว่า “ นี่เป็ นสิ่ งที่เขาได้พยายามทามาตลอด การพยายามให้ความหมายใหม่ทางสถาปัตยกรรม (reconceptualizw
architecture). ที่จริ งเขาได้เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างร่ างกาย กับงานสถาปัตยกรรม. โดยร่ างกายต้องส่ งข้อมูลไปยังสมอง
ว่า _ รอก่อนสิ นี่เป็ นสิ่ งที่ทาให้ฉนั ต้องปรับตัวใหม่ บางสิ่ งที่ฉนั ต้องทาความเข้าใจกับมันว่าเกิดอะไรขึ้น_
Form ของ Aronoff center มาจากเส้นโค้งของพื้นที่ที่เป็ นเนินเขา และรู ปทรงของอาคารที่อยูโ่ ดยรอบ dynamic ของ
รู ปทรงทั้งสองนี้ทาให้เกิดรู ปทรงของ space ที่น่าสนใจ
Aronoff Center.
1996, Peter Eisenman
ตัวอย่างงานในช่วงที่3
Dusseldorf, Germany
City of Dusseldorf Planning
Department(1992)
5,800,000 square feet
การนาเสนอข้ อความจริงที่เราอยู่ในยุค Electronic
แทนยุคmechanical คือ เรากะลังเข้ าสู่ยคุ ที่ไม่มี
ข้ อจากัดของเทคโนโลยี จึงได้ ให้ ความสาคัญกับ
แนวความคิดการออกแบบ ซึง่ สนามบินที่เมือง
Dusseldorf มีข้อจากัดในการออกแบบคือ radar
and radioเป็ นขบวนการสอดแทรกpattern ทาให้
เกิด form
ตัวอย่ างงานช่ วงที่3
CHURCH OF THE YEAR 2000
CHURCH OF THE YEAR 2000
ได้ concept มาจาก ecclesia ซึง่ เป็ นที่ประชุมของสภากรี กโบราณ พัฒนาให้ มีการตอบสนองต่อ function มาก
ขึ ้น ให้ ความรู้สกึ เหมือนได้ ไปขึ ้นสวรรค์ทกุ วันอาทิตย์
ส่วนกลางของอาคารที่ไม่มีหลังคา จะให้ ความรู้สกึ contrast ของแสงและเงา space และ mass
ให้ ความรู้สกึ ลึกลับในการเข้ าไปใน space ที่ใช้ ในพิธีสาบานตน
SPREE–DREIECK TOWER
ตัวอย่างงานในช่วงที่3
SPREE–DREIECK TOWER
เป็ นproject ที่สร้ างทับบน site ที่ Mies Van
de Role สร้ างproject glass skyscraper
ตัวอย่างงานในช่วงที่3
Staten Island Institute of Arts and Sciences.
1997, Peter Eisenman.
Staten Island institute of arts and sciences, New York (1997 – in progress)
Projet นี้ของ eisenmann เป็ นการจัดวางโปรแกรม master plan และการออกแบบ intermodel
ของ พิพิธภัณฑ์ สาหรับสถาบันศิลปะและวิทยาศาสตร์ของเกาะ staten และ ท่าเรื อ ferry
เป็ นการออกแบบที่นาเอาความสัมพันธ์ในมุมมอง ที่ได้เปลี่ยนความหมายของทั้ง พิพิธภัณฑ์ และ terminal
โดย การเกิดความไม่ชดั แจนของทั้งสองspace แล้วทาให้เกิดความหมายใหม่ข้ ึนมา
Emory Center
Photo: Dick Frank
1991, Peter Eisenman
เป็ นสถานที่สาหรับสอนนักศึกษาเกี่ยวกับ
ภาพยนตร์ และดนตรี building นี ้สร้ างให้
สัมพันธ์กบั สภาพแวดล้ อมภูมิประเทศ
ประวัติศาสตร์ ใช้ ระบบ grid system โดย
แสดงขอบเขตของแรงที่แสดงให้ เห็นถึงการสอด
ประสานของคลื่น เกิดฟอร์ มที่มีความต่อเนื่อง
ของพื ้นผิวอาคาร โดยการพับพื ้นผิว
Oop !!!