สถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกีส
Download
Report
Transcript สถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกีส
ด้วยรากฐานการพัฒนาที่มุ่งให้เมืองภูเก็ตแห่งใหม่ในตาบลทุ่งคามีความรุ่ งเรื องสูงสุ ด
ในสมัยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ซึ่งเป็ นสมุหเทศาภิบาล
สาเร็ จรัชกาลมลฑลภูเก็ตในช่วงปี พ.ศ. 2444-2456 โดยจัดให้มีการสร้างถนน แบ่งพิน้ ที่
พัฒนาเป็ นย่านการค้า ส่ วนราชการ โรงพยาบาล ตลอดจนสาธารณูปโภคที่ครบครัน ซึ่ง
ไม่ใช่งบประมาณของแผ่นดิน แต่ใช้เงินทดแทนที่เก็บจากการทาเหมืองแร่ แทน ทาให้เมือง
ภูเก็ตสามารถพัฒนาได้รวดเร็ วมีความทันสมัยกว่าเมืองอื่นๆ
ความเจริ ญรุ่ งเรื องของเมืองภูเก็ตจาการติดต่อค้าขาย
กับเมืองต่างๆในแหลมมลายู ซึ่งมีท้ งั ชาวตะวันตกและชาวเอเชีย
ที่มาค้าขาย และทาเหมืองแร่ ดีบุกเป็ นจานวนมาก เช่น เมืองปี นัง
สิ งคโปร์ มะระกา ไทปิ ง จึงทาให้วถิ ีชีวติ ความเป็ นอยูเ่ กิดเป็ น
วัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นที่ไม่เหมือนใคร ซึ่งจะเห็นได้
จากสถาปัตยกรรมมากมายในเมืองอันเป็ นรู ปแบบที่รู้จกั ในชื่อ
ของ “ชิโนโปรตุกสี ”
ประวัติเมืองเก่ าชิโนโปตุกสี
ประวัตใิ นยุคแรก Early Period (ยุคของการพัฒนาเมือง)
ยุคแรกประมาณช่วง พ.ศ. 2411-2443 เป็ นช่วงที่มีการ
ก่อตั้งเมืองภูเก็ตปัจจุบนั ซึ่งเดิมเรี ยกว่า ทุ่งคา เป็ นพื้นที่ที่มีแหล่งแร่ ดีบุก
มาก จึงมีการตั้งถิ่นฐานกันมากขึ้น อาคารในยุคนี้มกั เป็ นอาคารแบบ
ตึกแถวชั้นเดียวหรื อสองชั้น โครงสร้างเป็ นปูนหรื อดินสอพอง โครง
หลังคาและประตูหน้าต่างเป็ นไม้ ไม่มีการตกแต่งอาคารมากนัก รู ปแบบ
อาคารมักเป็ นไปตามวัฒนธรรมของผูอ้ าศัยซึ่งได้แก่ชาวจีนเป็ นหลักและ
ที่สาคัญคือ มีการเว้นที่วา่ งด้านหน้าเป็ นช่องทางเดินมีหลังคาคลุม หรื อที่
เรี ยกว่า อาเขตหรื อในภาษาถิ่นเรี ยกหง่อคาขี่ แปลว่า ทางเดินกว้างห้าฟุต
อาคารยุคนี้เหลืออยูน่ อ้ ยมากแล้วในภูเก็ต
ประวัตใิ นยุคที่สอง Second Period
(ยุคของการผสมผสานรูปแบบสถาปั ตยกรรมเอเชียกับยุโรป)
ยุคที่สองประมาณช่วง พ.ศ. 2444-2475 เป็ นช่วงที่การ
ค้าขายแร่ ดีบุกเฟื่ องฟู ในขณะเดียวกันก็มีการติดต่อค้าขายกับ
เมืองปี นังมากขึ้น ซึ่งอังกฤษได้เข้ามาปกครองปี นังและสิ งค์โปร
และได้นารู ปแบบสถาปัตยกรรมที่เป็ นที่นิยมในยุโรปช่วงนั้นคือ
นิโอคลาสสิ กและเรอเนอร์ซองส์ มาใช้กบั การสร้างสรรค์อาคาร
ราชการ
ประวัติยคุ ที่สอง (ต่อ)
ซึ้งในเวลาต่อมาได้ส่งผลถึงอาคารของเอกชนและภูเก็ตได้รับ
อิทธิพลเช่นเดียวกันลักษณะ คือ อาคารก่ออิฐถือปูนใช้ผนังหนารับ
น้ าหนักรู ปแบบการตกแต่นิโอคลาสสิ ก จะพบในชั้นบนของตึกแถว
และคฤหาสน์แบบฝรั่งที่เรี ยกว่า อังม้อหลาว โดยมีการตกแต่งด้วยเสาอิง
แบบคลาสสิ ก หน้าต่างแบบฝรั่งเศสคือยาวถึงพื้น มีบานเกล็ดไม้แบบ
ปรับได้ มักทาเป็ นสามช่วง ช่องแสงเหนือหน้าต่างเป็ นรู ปโค้ง มีการ
ตกแต่งผนังลวดลายปูนปั้นเป็ นรู ปสัตว์หรื อดอกไม้
ประวัติยคุ ที่สอง (ต่อ)
ส่ วนชั้นล่างมักมีการตกแต่งประตูหน้าต่างแบบจีนมีการแกะสลัก
ไม้ดว้ ยลวดลายแบบจีนเป็ นรู ปสัตว์ ดอกไม้เครื่ องตกแต่งทีเ่ ป็ นมงคล ใน
อาคารตึกแถวยังยึดถือการมีทางเดิน หรื อหงอคาขี่ไว้เพื่อกันแดดกันฝน
แก่คนเดินถนนเหมือนในยุคแรก
ประวัติในยุคทีส่ ามThird Period
(ยุคของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ หรือยุคโมเดิร์น)
ยุคที่สามประมารช่วง พ.ศ. 2476-2499 เป็ นช่วงหลังการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองที่เกิดขึ้นพร้อมกับการเข้ามาของสถาปัตยกรรม
แบบสมัยใหม่หรื อโมเดิร์นรวมทั้งการก่อสร้างแบบคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
อาคารในยุคนี้ได้เปลี่ยนรู ปแบบหน้าต่าง เป็ นทรงเลขาคณิ ตทั้งวงกลม
และสี่ เหลี่ยม มีการใช้กระจกสี ประดับตกแต่งในช่วงแรกมีการ
ผสมผสานระหว่างรู ปแบบของอาร์ต เดโค กับนิโอคลาสสิ ก คือใช้
หน้าต่างด้วยลวดลายกรี กหรื อโรมันคลาสสิ กในช่วงหลังมีการทาระเบียง
ยืน่ จากชั้นบนตกแต่งด้วยลายเรขาคณิ ตเป็ นหลัก
สถาปัตยกรรมในเขตเมืองเก่ าภูเก็ต
จะแบ่ งได้ เป็ น 3 กล่ มุ การใช้ งานได้ แก่
1. อาคารสถานที่ ได้แก่ อาคารราชการ สมาคม โรงเรี ยน และบริ ษทั เอกชน
2.เตีย้ มฉู หรื ออาคารตึกแถว เป็ นที่อยูอ่ าศัยและทาการค้าโดยรู ปแบบการ
ก่อสร้างมีความสวยงามแปลกตาและเป็ นเอกลักษณ์ที่เป็ นคุณค่ายิง่
โดยมีลกั ษณะดังนี้
-มีทางเดินด้านหน้าที่เรี ยกว่า หงอคากี่ หรื อ อาเขต
-หลังคาทรงสูงมุงด้วยกระเบื้องดินเผา ซึ่งมีร่องมุมแหลมรู ปตัววี (v) เรี ยก
ร่ องมุมแบบอินเดีย (indian profile) ต่างจาก (chinene profile) ที่เป็ นร่ อง
โค้งคล้ายกระบอกไม้ไผ่ผา่ ครึ่ ง หรื อมีลกั ษณะคล้ายกาบกล้วย
-ประตูหน้าต่างชั้นล่างตกแต่งลวดลายแบบจีน ชั้นบนเป็ นหน้าต่างแบบ
เกร็ ดหรื อบาน กระทุง้ เป็ นเกร็ ดขนาดใหญ่
3.อาคารแบบคฤหาสน์ หรือ อังมอเหลา (แปลว่า ตึกแบบฝรั่ง) เป็ น
ตึก 2 ชั้นขนาดใหญ่ ผนังก่ออิฐ ฉาบปูน มีความหนามากมี
ลวดลายปูนปั้ นและการตกแต่งคล้ายคลึงอาคารตึกแถวทั้งจังหวะ
การจัดช่องหน้าต่างทาให้มีความกลมกลืนกับกลุ่มอาคารตึกแถว
ได้เป็ นอย่างดี
ศาสตร์และศิลป์ แห่งความมงคล
Science and Arts of Fortune
จากศาสตร์แห่งความเชื่อที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมจีนซึ่งสั่ง
สม และถ่ายทอดสื บสานมานานนับปี มักจะมีสญ
ั ลักษณ์ของ
ความเป็ นมงคลเข้ามาเกี่ยวข้องในวิถีชีวติ เสมอ โดยเฉพาะการ
ตกแต่ง ศาสนสถานและที่พกั อาศัย ที่แสดงให้เห็นถึงประเพณี
ความเชื่อในสัญลักษณ์ของความเป็ นมงคล ซึ่งสามารถแบ่งให้
เห็นได้ถึง 3 สัญลักษณ์
•
•
•
•
•
1.ความหมายสั ญลักษณ์ จากสั ตว์
สิ งห์หรื อสิ งโต หมายถึง อานาจบารมีการขจัดสิ่งชัว่ ร้าย
หงส์หรื อนกฟิ นิกซ์ หมายถึง ความงดงาม มีคุณธรรม
นกกระเรี ยน หมายถึง ความยัง่ ยืน เฉลียวฉลาด
มังกร หมายถึง พลังอันสร้างสรรค์
กิเลน หมายถึง วาสนา ความจงรักภักดี
•
•
•
•
•
•
2.ความหมายสั ญลักษณ์ จากพันธุ์พฤกษา
ดอกโบตัน๋ หมายถึง ความเจริ ญรุ่ งเรื อง สง่างาม
ดอกเบญจมาศ หมายถึง ความยัง่ ยืน
ดอกเหมย หมายถึง ความชื่นบาน มีโชคลาภ
องุ่น หมายถึง ความงอกงาม อุดมสมบูรณ์
ไผ่ หมายถึง ความทนทานมัน่ คง
ทับทิม หมายถึง ความมากมายอุดมสมบูรณ์ ป้ องกันสิ่ งชัว่ ร้าย
•
•
•
•
3.สั ญลักษณ์ จากธรรมชาติ
หิ น หมายถึง ความแข็งแกร่ ง คงทนถาวร
เมฆ หมายถึง ความก้าวหน้า โชคดี และสันติภาพ
น้ า หมายถึง ความนิ่มนวล ความสมบูรณ์พนู สุ ข
ภูเขา หมายถึง ความมีอายุยนื ยาว