คนจีนกับการพัฒนาเมืองภูเก็ต
Download
Report
Transcript คนจีนกับการพัฒนาเมืองภูเก็ต
คนจีนกับการพัฒนาในภูเก็ต
ภูเก็ตเกาะแห่ งหนึ่งชายฝั่งทะเลอันดามันของประเทศ
ไทย เป็ นเส้ นทางการเดินเรือมาตั้งแต่ พทุ ธศรรตวรรต
16 รู้กนั ในชื่อในชื่อ แหลมจังซีลอน หรือ ท่ องคา หรือ
ทุ่งคา ต่ อมาใช้ ชื่อภูเก็ตจนถึงปัจจุบัน
เกาะภูเก็ตแต่ เดิมเป็ นเกาะร้ างต่ อมาชาวซาไก คนป่ า
หรือชาวเล มาบุกเบิกตั้งรกราก
ชาวจีนทีอ่ ยู่ทางภาคใต้ ของประเทศจีนเช่ น ชาวจีนจาก
มณฑลฮกเกีย้ น กวางตุ้ง ไหหลา สามารถออกทะเลได้
ง่ ายจึงมีชาวจีนจากพืน้ ที่เหล่ านีอ้ พยพมาทางานใน
เอเชียอาคเนย์ เป็ นจานวนมาก
ผู้อพยพชาวจีนเหล่ านีท้ งิ้ ประเทศอันเนื่องจากความ
ยากลาบาก อันเกิดจากเศรษฐกิจที่ตกต่า ปัญหา
สงครามกลางเมือง และภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ชาวจีนที่มีนิสัยขยันขันแข็ง หนังเอาเบาสู้ มัธยัสถ์
อดทนและมีทกั ษะทางการค้ าทาให้ กลุ จี ีนหลายคนถีบ
ตัวจากกรรมกรหรือผู้ทาการค้ าเล็กๆน้ อยๆ ก้ าวมาเป็ น
นายเหมืองอย่ างเต็มภาคภูมิ เศรษฐี กลุ่มนีบ้ างคนเป็ น
คนจีนมาจากปี นัง บ้ างก็มาจากเมืองจีนโดยตรง ส่ วน
ใหญ่ เป็ นจีนฮกเกีย้ น
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั้งเกล้ าเจ้ าอยู่หัวถึง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว เป็ นยุคทีช่ าวจีน
อพยพมาอยู่ภูเก็ตมากทีส่ ุ ด เนื่องจากทัว่ โลกต่ างต้ องการแร่
ดีบุก ทาให้ พระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ
ระนอง) ณ นั้นดารงตาแหน่ งสมุหเทศภิบาลมณฑลภูเก็ต ได้
ส่ งเรือไฟไปรับคนจีนจาก เอ้ หมึง มณฑลฮกเกีย้ นมา จึงทา
ให้ คนจีนเริ่มเข้ าสู่ เกาะภูเก็ตมากขึน้
คนจีนใช้ การเดินทางด้ วยเรือผ่ านทางช่ องแคบมะละกา
เข้ ามาในจังหวัดภูเก็ต
หลังจากคนจีนเข้ ามาในจังหวัดภูเก็ตอาชีพส่ วนมากทีท่ าคือ
รับจ้ างขุดเหมืองแร่ ล้ างแร่ เป็ นแรงงานในเหมืองแร่
ภูเก็ตเป็ นจังหวัดที่มีคนเชื้อสายจีนอาศัยอยู่มากทีส่ ุ ดใน
ประเทศไทยมาตั้งแต่ ราวรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ปี พ.ศ. 2478 พบชาวจีน
ในภูเก็ตเพียง 11350 คน และมีคนไทย 15188 คน
ปัจจุบันประชากรส่ วนใหญ่ ของจังหวัดภูเก็ตเป็ นชาว
จีนฮกเกีย้ นโดยส่ วนมากและกลายเป็ นชาวไทยเชื้อสาย
จีนฮกเกีย้ นภูเก็ต หรือเรียกอีกอย่างว่ า บาบ๋ าภูเก็ต
เดิมจังหวัดภูเก็ตมีโรงเรียนจีนอยู่หลายแห่ ง แต่ ถูกสั้ งปิ ด
เนื่องจากเหตุการณ์ ทางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่
ผู้นาคลัง่ ในการเป็ นชาตินิยม และ กลัวลัทธิคอมมิวนิส ทาให้
โรงเรียนจีนถูกสั้ งปิ ดไปจานวนมาก จึงเหลือเพียงแห่ งเดีย่ ว
ในภูเก็ต ในอดีตการสอนจะแน่ ให้ เด็กจงรักภักดีต่อมาตุภูมิ
แผ่ นดินจีน ทาให้ ทางรัฐบาลแกร่ งว่ าหายปล่ อยไปชาวจีน
พวกนี่จะไม่ แกร่ งกลัวต่ อกฎหมายไทย
ชาวจีนฮกเกีย้ นภูเก็ตมีวฒ
ั นธรรมเป็ นของตัวเองโดยมี
การผสมทางวัฒนธรรม ไทย กับ จีน โดยไม่ แบ่ งแยกได้
ชัด ในวันตรุษจีนเราก็ไหว้ บรรพบุรุษ และในเทศกาล
เดือน10 เราก็ไปวัดทาบุญ เราตักบาตรระหว่ างเรากิน
เจอยู่ ภูเก็ตมีวฒ
ั นธรรมการกิน การอยู่ เป็ นของตัวเอง
ทาให้ วฒ
ั นธรรมจีนฮกเกีย้ นของภูเก็ตผสมสานกลับ
วัฒนธรรมไทยแบบลงตัว คือมีความเป็ นจีนมากและ
ลงตัวกับความเป็ นไทยโดยไม่ แย้งต่ อกัน
ประเพณีโดยส่ วนมากในภูเก็ตจะปฏิบัติตามประเพณีนิยมของชาวจีน
ฮกเกีย้ นและชาวจีนบาบ๋ าทีผ่ ูกพันกับชีวติ ตั้งแต่ เกิด แต่ งงาน จนสิ้นชีวติ
และประเพณีความเชื่อต่ างๆ
มั๋วโง้ ย หรือ พีธีครบเดือน เมื่อเด็กชาวจีนบาบ๋ าภูเก็ตมีอายุครบหนึ่งเดือน
พ่อแม่ จะจัดเตรียม ไข่ ต้มย่ อมสี แดง อิว๋ ปึ่ ง อั้งกู้โก้ย และ ฮวดโก้ย เพือ่ นาไป
ไหว้ เทพเจ้ าทีศ่ าลเจ้ า โดยนิยมชาวภูเก็ตนิยมเดินทางไปทีศ่ าลเจ้าปุดจ้ อ เพือ่
ไหว้ ขอพรและฝากลูกให้ พระกวนอิมปุดจ้ อช่ วยคุ้มครองดูแล และ จะตั้งชื่อ
จีนใหเแก่เด็กในเวลานีเ้ อง พ่อแม่ จะจัดเตรียม ไข่ ต้มย่ อมสี แดง อิว๋ ปึ่ ง อั้งกู้
โก้ย และ ฮวดโก้ย ไว้ อกี หลายชุ ดเพือ่ เอาไปให้ ญาติผู้ใหญ่ แสดงถึงการฝาก
ตัวและทาความเคารพและจะได้ ซองอั้งเป่ าตอบแทนมา
ต่ อมาเมือ่ หมดยุคการทาเหมืองแร่ คนจีนก็เริ่มหันมาค้ าขาย
เริ่มจากขายกาแฟ โกปี้ ในเหมืองแร่ ขายของชา ขายอุปกรณ์
ทาเหมืองแร่
ปัจจุบันทีม่ ชี ื่อเสี ยงได้ แก่
หมีฮ่ กเกีย๊ น
ข้ าวมันไก่ ไหหลา เย็นตาโฟ ติ่มซา