5การเกษตรแบบผสมผสาน508

Download Report

Transcript 5การเกษตรแบบผสมผสาน508

การเกษตรแบบผสมผสาน เป็ นระบบ
เกษตรกรรมแบบดัง้ เดิมทีม
่ ี
การผสม กลมกลืน และเกือ
้ กูลซงึ่ กันและกันตาม
ธรรมชาติ มีตวั อย่างให ้เห็นในหลายประเทศทั่ว
่ ใน ประเทศจีน มีการเลีย
โลก เชน
้ งสุกรผสมผสาน
ั ว์น้ า และในประเทศญีป
กับการเลีย
้ งสต
่ น
ุ่ มีการ
เลีย
้ งปลาในนา ข ้าว เป็ นต ้น สาหรับประเทศไทย
ในอดีต ไม่มรี ะบบการเกษตรแบบผสมผสานที่
ั เจนนั ก ระบบการเกษตรดัง้ เดิมของไทยน่าจะ
ชด
ใกล ้เคียงกับระบบทีเ่ รียกว่า
“ไร่นาสวนผสม” เนือ
่ งจากเป็ น ระบบการเกษตรทีม
่ ี
ี หรือเพือ
ี่ ง
เป้ าหมายเพือ
่ การยังชพ
่ ลดความเสย
การเกษตรแบบผสมผสาน เป็ นการจัดระบบ
ของกิจกรรมการผลิตใน
ั ว์ ประมง ให ้มีการผสมผสานอย่าง
ไร่นา ได ้แก่ พืช สต
ต่อเนือ
่ งและเกือ
้ กูลใน
การผลิตซงึ่ กันและกัน โดยการใช ้ ทรัพยากรทีม
่ อ
ี ยูใ่ น
่ ดิน น้ า แสงแดดอย่างเหมาะสมเกิด
ไร่นา เชน
ประโยชน์สงู สุด มีความสมดุล ของภาพแวดล ้อมอย่าง
ต่อเนือ
่ งและเกิดผลในการเพิม
่ พูนความอุดมสมบูรณ์
ของทรัพยากร ธรรมชาติด ้วย
เกษตรแบบผสมผสาน
(Integrated Farming)
http://banglamung.chonburi.doae.go.th/New%20
Theory.htm
โดยเนือ
้ หาสาระของเกษตรแบบผสมผสานมี 4 ประการ
คือ
1. ประกอบด ้วยกิจกรรมการผลิตตัง้ แต่ 2 ชนิดขึน
้ ไป อาจ
ั ว์กบ
ั ว์ หรือ
เป็ นการผสมผสานระหว่างพืชกับพืช สต
ั สต
ั ว์กบ
สต
ั พืช
2. กิจกรรมการผลิตแต่ละชนิดจะต ้องเกือ
้ กูลกันเป็ นวงจร
โดยพิจารณาจาก
้
การหมุนเวียนการใชประโยชน์
เกีย
่ วกับอาหาร อากาศและ
พลังงาน
3. ก่อให ้เกิดประโยชน์สงู สุดทัง้ ต่อมนุษย์และสงิ่ แวดล ้อม
้
4. ใชแรงงานคนเป็
นหลัก โดยเป็ นแรงงานทีม
่ อ
ี ยูภ
่ ายใน
ครอบครัว ครอบครัวเกษตรกรต ้องมีความใจเย็นและ
เข ้าใจ มีความอดทนมุมานะในการทากิจกรรมอย่าง
http://www.nicaonline.com/new-96.htm
http://tree-plus.blogspot.com/2013/07/blogpost_9.html
ประเภทของระบบเกษตรแบบผสมผสาน มีดงั นี้
1. แบบดัง้ เดิม เป็ นประเภททีม
่ ก
ี ารผลิตเพือ
่ กินเพือ
่ ใช ้
่ การปลูกพืชเลีย
เป็ นหลักในครัวเรือนหรือชุมชน เชน
้ ง
ั ว์ เลีย
้ อ
สต
้ งปลา เพียงเพือ
่ ประโยชน์สาหรับใชหรื
บริโภคในครัวเรือนเท่านัน
้
ิ ค ้า
2. แบบกึง่ การค ้า เป็ นประเภททีเ่ กษตรกรผลิตสน
การเกษตรชนิดเดียวซงึ่ อาจจะเป็ นข ้าวหรือพืชไร่ก็
ตาม โดยผลิตเพือ
่ เป็ นอาหารและเป็ นรายได ้หลัก แต่
เนือ
่ งจาก
ี่ งในด ้านความแปรปรวนของ
การผลิตมี ความเสย
ั รูพช
สภาพแวดล ้อมเกิดการระบาดของศต
ื ความไม่
แน่นอน ของราคาผลผลิต จึงหันมาดาเนินการผลิตใน
ระบบเกษตรแบบผสมผสานซงึ่ เป็ นวิธห
ี นึง่ ทีส
่ ามารถ
ี่ งได ้
ลด ความเสย
3. แบบเชงิ การค ้า เป็ นประเภททีเ่ หมาะสมกับ
ความสาคัญของการทาเกษตรแบบผสมผสาน
1. เกษตรกรพึง่ พาตนเองได ้โดยไม่จาเป็ นต ้องกู ้ยืมเงิน
ิ
มาลงทุน เมือ
่ สภาวะ ราคาพืชผลผันแปรเกิดหนีส
้ น
เกษตรกรสามารถนาเอาปั จจัยการผลิตทีม
่ อ
ี ยูใ่ นท ้องถิน
่
้ ้
มาใชให
ี เงินทองซอ
ื้ มา เมือ
เกิดประโยชน์สงู สุดโดยไม่เสย
่ ลด
รายจ่าย เพิม
่ รายได ้ เกษตรกร
ก็สามารถอยูไ่ ด ้ ยืนอยูบ
่ นขาของตัวเองโดยมี
ี ทีผ
ปั จจัยพืน
้ ฐานสาหรับดารงชพ
่ ลิต
ได ้เองก็สามารถมีความสุขได ้อย่างยั่งยืน
2. เพือ
่ เพิม
่ ผลผลิตต่อพืน
้ ทีโ่ ดยมีการจัดการเรือ
่ งทุน
ิ ธิภาพ ก่อให ้เกิด
ทีด
่ น
ิ และแรงงานอย่างมีประสท
่ การเลีย
ผลผลิตต่อหน่วยการผลิตสูง เชน
้ งปลาในนา
ข ้าว
ทาให ้ได ้ทัง้ พืช ผลผลิตข ้าวและปลา ในพืน
้ ทีเ่ ดียวกัน
ี่ งในการผลิต ใน
4. เกษตรแบบผสมผสานลดความเสย
ี หาย หรือความไม่แน่นอนและ
ด ้านการผลิตทีอ
่ าจ เสย
ี เปรียบเรือ
เสย
่ งราคา ตลอดจนไม่แน่นอนของดินฟ้ า
อากาศ
ื่ มโทรมให ้กลับคืนสู่
5. ปรับปรุงสภาพแวดล ้อมทีเ่ สอ
สภาพทีอ
่ ด
ุ มสมบูรณ์ได ้ เพราะการปลูกไม ้ยืนต ้นไม่วา่
้
จะเป็ นไม ้ผลหรือไม ้ใชสอยในระบบเกษตรแบบ
ั ว์จะเป็ นปุ๋ย
ผสมผสานจะชว่ ยให ้เกิด ความร่มเย็น มูลสต
ั ว์และทาปุ๋ยอินทรีย ์
แก่พช
ื เศษพืชเป็ นอาหารสต
6. เกษตรกรมีงานทาตลอดปี จะชว่ ยแก ้ปั ญหาการ
อพยพแรงงานจากชนบท เข ้าสูเ่ มือง ตัดปั ญหาการขาย
แรงงาน การก่ออาชญากรรม การค ้ามนุษย์ เป็ นต ้น
้ งงานในการเกษตรลง เพราะปั จจัยการ
7. ลดการใชพลั
8. รักษาสภาพทางนิเวศวิทยา การทาเกษตรแบบ
ผสมผสานเป็ นการเพิม
่ พูน ความอุดมสมบูรณ์ให ้กับคน
รักษาความสมดุลย์ให ้กับสภาพแวดล ้อมซงึ่ ความ
่ ก๊าซ
สมดุลย์จะเกิดขึน
้ เอง ตามธรรมชาติ เชน
ไนโตรเจนในธรรมชาติจะถูกเปลีย
่ นเป็ นอินทรียว์ ัตถุโดย
ั อยู่ ในรากพืชตระกูลถั่วและสาหร่ายส ี
จุลน
ิ ทรียท
์ อ
ี่ าศย
เขียวแกมน้ าเงิน จนทาให ้ไนโตรเจนทีอ
่ ยูใ่ นรูปทีพ
่ ช
ื จะ
้
สามารถ นาไปใชประโยชน์
ได ้ สว่ นธาตุอาหารอืน
่ ๆ พืช
สามารถสะสมพลังงานแสงแดดในรูปของเนือ
้ ไม ้ อาหาร
และโปรตีน เศษซากพืชทีร่ ว่ งหล่นบนพืน
้ ดินจะเน่า
กลายเป็ นอาหารพืช
แหล่งอ้างอิง
http://chumphontrip.com/integrated-farming.html
จัดทาโดย
นางสาวชนิ สรา
เดือนเพ็ญ
เลขที่ 12
นางสาวนรมน
เด่นประภัสร ์ เลขที่ 19
นางสาวนิ ภท
ั รา
บุตรชา
เลขที่ 22
นางสาวบุษกร
อนุ สนธิ ์
เลขที่ 25
่
นางสาวพลอยไพรินทร ์
หมืนโฮ้
ง
เลขที่ 29
นางสาวเพชรประกาย
สมใจ
เลขที่ 31
นางสาวภาพิมล
สันป่ าแก้ว
เลขที่ 33
นางสาววลัยพรรณ
ดวงหอม
เลขที่ 35
นางสาวศุภส
ิ รา
ธิตธ
ิ รรมเกียรติ
เลขที่ 36