สิทธิส่วนได้เสียของผู้เป็นหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่

Download Report

Transcript สิทธิส่วนได้เสียของผู้เป็นหุ้นส่วนหลังรับหุ้นส่วนใหม่

การเปลีย่ นแปลง
ส่ วนได้ เสี ยของผู้เป็ นหุ้นส่ วน
การรั บ หุ้ น ส่ วนใหม่
หุ้ น ส่ วนถึ ง แก่ ก รรมหรื อ บอกเลิ ก
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
การรับห้ ุนส่ วนใหม่
1. ซื้อสิทธิส่วนได้ เสี ย
2.นาเงินสดหรือสิ นทรัพย์ มาลงทุน
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
วิธีท่ ี 1 การซือ้ สิทธิส่วนได้
กรณีทหี่ ้ างหุ้นส่ วนตกลงให้ รับหุ้นส่ วนใหม่ โดยให้ ผู้เป็ นหุ้นส่ วนใหม่
ซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยจากผู้เป็ นหุ้นส่ วนเดิม อาจซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยจากหุ้นส่ วน
คนเดียวหรือหลายคน การบันทึกบัญชีโอนสิ ทธิส่วนได้ เสี ยดังนี้
เดบิต ทุนหุ้นส่ วน เดิม
xx
เครดิต ทุนหุ้นส่ วนใหม่
xx
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ตัวอย่ างที่ 1
ก และ ข เป็ นหุ้นส่ วนกันมีทุนคนละ 100,000 บาท ตกลงรับ ค
เข้ าเป็ นหุ้นส่ วนใหม่ โดยซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยจาก ก ครึ่งหนึ่งในราคา 50,000 บาท
รายการบันทึกบัญชี รับหุ้นส่ วนใหม่ โดยซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ย
เดบิต ทุน ก
50,000
เครดิต ทุน ค
50,000
การซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยเป็ นการจ่ ายเงินระหว่ างผู้ซื้อกับผู้ขาย ไม่ ต้องบันทึกการรับเงินค่ า
ขายในห้ างหุ้นส่ วน
***การซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยไม่ ทาให้ ทุนของห้ างหุ้นส่ วนเพิม่ ขึน้ ***
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของผู้เป็ นหุ้นส่ วนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
นาย ก
นาย ข
นาย ค
ทุนรวม
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยก่ อนรับหุ้นส่ วนใหม่
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
เงินลงทุน
อัตราส่ วน
สิ ทธิ
ส่ วนได้ เสี ย
เงินลงทุน
อัตราส่ วน
สิ ทธิ
ส่ วนได้ เสี ย
100,000
1/2
50%
50,000
5/20
25%
1/2
50%
100,ooo
10/20
50%
50,000
5/20
25%
100,000
200,000
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
200,000
หุ้นส่ วนใหม่ จ่ ายเงินซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยแตกต่ างจากทุนทีไ่ ด้ รับ
การรับหุ้นส่ วนใหม่ โดยซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ย ผู้เป็ นหุ้นส่ วนใหม่ อาจจ่ ายเงินให้ กบั
หุ้นส่ วนเดิมมากกว่ า หรือน้ อยกว่ า สิ ทธิส่วนได้ เสี ยทีพ่ งึ จะได้ รับ
สาเหตุอาจเกิดมูลค่ าของสิ นทรัพย์ ดังนั้นในการรับหุ้นส่ วนใหม่ ทาได้ โดย
วิธีค่าความนิยม
วิธีโบนัส
*** วิธีค่าความนิยมจะมีผลทาให้ ทุนของห้ างหุ้นส่ วนเปลีย่ นแปลง
ส่ วนวิธีโบนัสจะมีผลทาให้ ทุนของห้ างหุ้นส่ วนไม่ เปลีย่ นแปลง***
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
วิธีค่านิยม
การจ่ ายเงินซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยของหุ้นส่ วนใหม่
กรณีจ่ายน้ อยกว่ าทุนทีไ่ ด้ รับ สาเหตุอาจเกิดจากสิ นทรัพย์
แสดงราคาสู งไปให้ ปรับลดราคาสิ นทรัพย์ ลง หรือ ลดบัญชีค่าความนิยม
กรณีจ่ายมากกว่ าทุนทีไ่ ด้ รับ สาเหตุอาจเกิดจากสิ นทรัพย์
แสดงราคาต่าไปหรือห้ างหุ้นส่ วนมีค่าความนิยม ให้ ปรับเพิม่ ราคาสิ นทรัพย์
หรือ บันทึกค่ าความนิยมขึน้ ในห้ างหุ้นส่ วน
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ตัวอย่ าง
ก และ ข มีทุนคนละ 100,000 และ 80,000 บาท ตามลาดับ กาไร
ขาดทุนแบ่ งเท่ ากัน ตกลงรับ ค เข้ าเป็ นหุ้นส่ วนใหม่ โดยซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยจาก ก และ ข จานวน
100,000 บาท เพือ่ ให้ มีสิทธิส่วนได้ เสี ย 50%
ทุนห้ างหุ้นส่ วนเดิม 180,000 บาท
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของ ค (180,000x50%)=90,000 บาท
แสดงว่ า ค ซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยสู งกว่ า ทุนที่ได้ รับจานวน 10,000 บาท สาเหตุเกิดจากห้ าง
หุ้น ก ข มีค่าความนิยม
สิ ทธิส่วนได้ เสี ย 50% มีค่าความนิยม 10,000
สิ ทธิส่วนได้ เสี ย 100% ค่ าความนิยม
= 10,000x100
50
ค่ าความนิยมของห้ างหุ้นส่ วน ก ข
= 20,000
กรณีที่ 1
ไม่ ได้ ระบุสิทธิส่วนได้ เสี ยของ ก และ ข เป็ นเท่ าใด
ในการรับ ค เข้ าเป็ นหุ้นส่ วนใหม่ เกิดค่ าความนิยม 20,000 แบ่ งให้ ก และ ข ตาม
อัตราส่ วนแบ่ งกาไรขาดทุนก่ อนรับ ค เท่ ากัน
ดังนั้น ก และ ข จะได้ รับค่ าความนิยม คนละ 10,000 บาท
บันทึกค่ าความนิยม
เดบิต ค่ าความนิยม
เครดิต
หลังบันทึกค่ าความนิยม
20,000
ทุน ก
ทุน ข
ทุน ก เพิม่ เป็ น
ทุน ข เพิม่ เป็ น
ทุนรวม
10,000
10,000
110,000 บาท
90,000 บาท
200,000 บาท
ก และ ข โอนสิ ทธิส่วนได้ เสี ยให้ ค คนละ 50%
ทุน ก ทีโ่ อนให้ ค = 110,000x50% = 55,000 บาท
ทุน ข ทีโ่ อนให้ ค = 90,000x50% = 45,000 บาท
รวม
100,000 บาท
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของผู้เป็ นหุ้นส่ วนหลังรับ
ค
ก 55,000 สิ ทธิส่วนได้ เสี ย (55/200x100) = 27.50%
ข 45,000
(45/200x100) = 22.50%
ค 100,000
(100/200x100) = 50.00%
รวม
200,000
= 100.00%
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ก และ ข โอนสิ ทธิส่วนเสี ยเท่ ากับจานวนเงินที่ได้ รับ
ค จ่ ายเงินซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยให้ ก และ ข คนละ 50,000 บาท เพือ่ ให้ มสี ิทธิส่วน
ได้ เสี ยในห้ างหุ้นส่ วน 50%
ทุนรวม หลังรับ ค = 200,000 บาท
ก และ ข โอนทุน ให้ ค คนละ 50,000 บาท
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของผู้เป็ นหุ้นส่ วนหลังรับ
ก 60,000 สิ ทธิส่วนได้ เสี ย
ข 40,000
ค 100,000
รวม
200,000
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ค
(60/200x100)
(40/200x100)
(100/200x100)
= 30%
= 20%
= 50%
= 100%
หลังรั บ ค สิทธิส่วนได้ เสียของ ก และ ข เท่ ากับ 25%
ข้ อตกลงของห้ างหุ้นส่ วน หลังรับ ค สิ ทธิส่วนได้ ของผู้เป็ นหุ้นส่ วนแต่ ละรายเป็ นดังนี้
ก
=
25%
ข
=
25%
ค
=
50%
รวม
100%
หากต้ องการให้ ทุน ก และ ข คงเหลือ 25%
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
= 200,000x25%
=50,000 บาท
บัญชีทุนที่ ก และ ข ต้ องโอนให้ ค
ทุน ก
ทุนรวมหลังปรับปรุงสิ นทรัพย์
ทุนคงเหลือหลังโอนให้ ค
จานวนทีต่ ้ องโอนให้ ค
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ทุน ข
110,000 90,000
50,000 50,000
60,000 40,000
รายการบันทึกบัญชีรับ ค เป็ นหุ้นส่ วนใหม่
บันทึกค่ าความนิยม
เดบิต ค่ าความนิยม
เครดิต ทุน ก
ทุน ข
บันทึกโอนสิ ทธิส่วนได้ เสี ยให้ ค
เดบิต ทุน ก
ทุน ข
เครดิต ทุน ค
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
20,000
10,000
10,000
60,000
40,000
100,000
สรุ ป สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของผู้เป็ นหุ้นส่ วนหลังรับ ค
ยอดคงเหลือ ทุนก่อนตีราคา
ในบัญชีทุน
ใหม่
ตีราคา
สินทรัพย์ เพิม่
ทุนหลังตีราคา
ใหม่
ทุนที่โอนให้ ค
(50%)
ทุน นาย ก
100,000
10,000
110,000
(60,000)
50,000
25%
ทุน นาย ข
80,000
10,000
90,000
(40,000)
50,000
25%
100,000
100,000
50%
200,000
100%
ทุน นาย ค
180,000
20,000
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
200,000
ทุนหลังโอนให้
ค
สิทธิ
ส่ วนได้ เสีย
วิธีโบนัส
กรณีห้างหุ้นส่ วนไม่ ต้องการตีราคาสิ นทรัพย์ ใหม่ ทุนรวมของห้ างหุ้นส่ วนยังเท่ าเดิม
ค ซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ยจาก ก และ ข จานวน 100,000 บาทเพือ่ ให้ มสี ิ ทธิส่วนได้
เสี ย 50%
ทุนรวมของห้ างหุ้นส่ วน 180,000 = 100%
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยที่ ค ได้ รับ 50%
= 90,000
ค ต้ องลงทุน
100,000
ค จ่ ายเงินลงทุนสู งกว่ าบัญชีทุนทีไ่ ด้ รับ
10,000
ก และ ข แบ่ งกาไรขาดทุนเท่ ากัน ก และ ข ได้ รับเงินเกินกว่ าบัญชีทุนคนละ 5,000 บาท
(สมมติ ค จ่ ายเงินให้ ก และ ข คนละ 50,000 ดังนั้นต้ องโอนทุนให้ ค คนละ 45,000)
**เงินทีน่ ามาลงทุนเป็ นการให้ ส่วนตัว ไม่ ต้องบันทึกการรับเงินบันทึกเฉพาะการโอนทุน**
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
สมมติ สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของ ก และ ข หลังรับ ค คงเหลือคนละ 25%
ต้ องการทุน ก และ ข คงเหลือคนละ 25%
ทุนรวม 180,000 = 100%
ต้ องการให้ มที ุนคงเหลือ 25% หลังรับ ค
= 180,000 x25% = 45,000 บาท
ดังนั้นทุนที่ ก และ ข ต้ องโอนให้ ค
ก โอนให้ ค (100,000-45,000)= 55,000 บาท
ข โอนให้ ค (80,000-45,000) = 35,000 บาท
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
สรุ ป สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของผู้เป็ นหุ้นส่ วนหลังรับ ค
ยอดคงเหลือ
ในบัญชีทุน
ทุน นาย ก
ทุน นาย ข
ทุน นาย ค
ทุนก่ อนรับ
หุ้นส่ วนใหม่
ทุนทีโ่ อนให้ ค
(50%)
100,000
(55,000)
45,000
25%
80,000
(35,000)
45,000
25%
90,000
90,000
50%
180,000
100%
180,000
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ทุน
สิ ทธิ
หลังโอนให้ ค ส่ วนได้ เสี ย
ข้ อควรสั งเกต
การรับหุ้นส่ วนใหม่ วธิ ีที่ 1 ซื้อสิ ทธิส่วนได้ เสี ย
1. จะไม่ บันทึกการรับเงินจากการขายสิ ทธิส่วนได้ เสี ย ถือเป็ นการ
ให้ ส่วนตัว บันทึกเฉพาะรายการโอนทุนจากหุ้นส่ วนเดิม ให้ หุ้นส่ วนใหม่
2. ผลต่ างของจานวนเงินทีจ่ ่ ายให้ สูงกว่ าหรือตา่ กว่ าทุนที่ได้ รับ
เลือกปฏิบัติได้ 2 วิธี คือ
วิธีค่าความนิยม มีผลทาให้ ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่ เพิม่ ขึน้
วิธีโบนัส ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่ ไม่ เปลีย่ นแปลง (เท่ าเดิม)
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
วิธีที่ 2 การนาสิ นทรัพย์ มีลงทุน
การนาสิ นทรัพย์ มีลงทุนในห้ างหุ้นส่ วน การนาสิ นทรัพย์ มาลงทุน
แยกเป็ นกรณีต่าง ๆ ดังนี้
1. ลงทุนในราคาตามบัญชี
2. ตีราคาสิ นทรัพย์ ของห้ างหุ้นส่ วนใหม่ (ให้ ค่าความนิยมแก่ หุ้นส่ วนเดิม)
3. ไม่ ตีราคาสิ นทรัพย์ ของห้ างหุ้นส่ วนใหม่ (ให้ โบนัสแก่หุ้นส่ วนเดิม)
4. ตีราคาสิ นทรัพย์ ของห้ างหุ้นส่ วนใหม่ (ให้ ค่านิยมแก่หุ้นส่ วนใหม่ )
5. ไม่ ตีราคาสิ นทรัพย์ ของห้ างหุ้นส่ วนใหม่ (ให้ โบนัสแก่หุ้นส่ วนใหม่ )
***ข้ อสั งเกต 2,3 ลงทุนสู งกว่ าทุน 4,5 ลงทุนต่ากว่ าทุน ***
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ตัวอย่ าง 2
ก และ ข มียอดคงเหลือบัญชีทุนคนละ 80,000 บาท กาไรขาดทุน
แบ่ งเท่ ากัน ตกลงรับ ค เข้ าเป็ นหุ้นส่ วนใหม่ โดยนาเงินสดมาลงทุน 80,000 บาท
เพือ่ ให้ ได้ สิทธิส่วนได้ เสี ย 1/3 ของทุน
บัญชีทุนรวมหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
ทุนหุ้นส่ วนเดิม(80,000x2) 160,000 บาท
สิ นทรัพย์ ห้ ุนส่ วนใหม่
80,000 บาท
ทุนรวม
240,000 บาท
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของหุ้นส่ วนใหม่ 1/3 ของทุนรวม 240,000
บาท
= 80,000 บาท
แสดงให้ เห็นว่ า ค ลงทุนในห้ างหุ้นส่ วนในราคาตามบัญชี
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
การบันทึกบัญชี หุ้นส่ วนใหม่ ลงทุนในราคาตามบัญชี
เดบิต เงินสด
เครดิต ทุน ค
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
80,000
80,000
ตัวอย่ างที่ 3
จากตัวอย่างที่ 2
สมมติให้ ค นาเงินมาลงทุนในห้ างหุ้นส่ วน 100,000 บาท เพือ่ ให้ มสี ิ ทธิส่วนได้
เสี ย 1/3 ของทุน
เกณฑ์ การพิจารณา
ทุนรวมหลังรับ ค (160,000+100,000) 260,000
สิ ทธิส่วนได้ เสี ย ของ ค (260,000x1/3)
86,666.67
**แสดงให้ เห็นว่ า ค ลงทุนในราคาสู งกว่ าบัญชีทุนทีไ่ ด้ รับ**
กรณีหุ้นส่ วนใหม่ ลงทุนสู งกว่ าบัญชีทุน ในการรับหุ้นส่ วนใหม่ ทาได้ 2 วิธี คือ
1. วิธีค่าความนิยม
2. วิธีโบนัส
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
หุ้นส่ วนใหม่ ลงทุนสูงกว่ าทุน วิธีค่าความนิยม
หากไม่ มกี ารปรับปรุ งสิ นทรัพย์ เพิม่ ให้ ถือว่ าหุ้นส่ วนใหม่ ให้ ค่าความนิยมแก่ ห้ ุนส่ วนเดิม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. คานวณทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
=
ทุนของหุ้นส่ วนใหม่
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยของหุ้นส่ วนใหม่
= 100,000
ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
1/3
= 100,000 x 3
= 300,000
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
หุ้นส่ วนใหม่ ลงทุนสูงกว่ าทุน วิธีค่าความนิยม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
2. คานวณค่ าความนิยม
ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
หัก สิ นทรัพย์รวม
สิ นทรัพย์ ห้ ุนส่ วนเดิม 160,000
สิ นทรัพย์ ห้ ุนส่ วนใหม่ 100,000
ค่ าความนิยม
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
300,000
260,000
40,000
หุ้นส่ วนใหม่ ลงทุนสูงกว่ าทุน วิธีค่าความนิยม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
3. บันทึกค่ าความนิยมให้ แก่ ห้ ุนส่ วนเดิมตามอัตราส่ วนแบ่ งกาไร (เท่ ากัน)
เดบิต ค่ าความนิยม
เครดิต ทุน ก
ทุน ข
4. บันทึกรายการลงทุนของหุ้นส่ วนใหม่
เดบิต เงินสด
เครดิต ทุน ค
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
40,000
20,000
20,00-0
100,000
100,000
ทุนของผู้เป็ นหุ้นส่ วนหลังรั บหุ้นส่ วนใหม่
ทุน ก
ทุน ข
ทุนก่ อนรับ
หุ้นส่ วนใหม่
รับค่ าความนิยม
ทุนหลังรับ
หุ้นส่ วนใหม่
สิ ทธิส่วนได้ เสี ย
80,000
80,000
20,000
20,000
100,000
100,000
1/3
1/3
100,000
1/3
ทุน ค
รวม
160,000
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
40,000
300,000
หุ้นส่ วนใหม่ ลงทุนสูงกว่ าทุน วิธีโบนัส
สมมติให้ ค นาเงินมาลงทุนในห้ างหุ้นส่ วน 100,000 บาท เพือ่ ให้ มีสิทธิส่วน
ได้ เสี ย 1/3 ของทุน
เกณฑ์ การพิจารณา
ทุนรวมหลังรับ ค (160,000+100,000)
260,000
สิ ทธิส่วนได้ เสี ย ของ ค (260,000x1/3)
86,666
ค จ่ ายสู งกว่ าบัญชีทุนทีไ่ ด้ รับ(100,000-86,666) 13,334
ค ลงทุนในราคาสู งกว่ าบัญชีทุนทีไ่ ด้ รับ**
ห้ างหุ้นส่ วนไม่ ต้องการปรับปรุ งสิ นทรัพย์ เพิม่ ให้ ถือเป็ นวิธีโบนัส
เงินของ ค ส่ วนทีส่ ู งกว่ าทุนให้ เพิม่ บัญชีทุนของ ก และ ข ในอัตราเท่ ากัน
**แสดงให้ เห็นว่ า
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
รายการบันทึกบัญชี ลงทุนสูงกว่ าทุน วิธีโบนัส
เดบิต เงินสด
100,000
เครดิต ทุน ก (13,334/2)
ทุน ข (13,334/2)
ทุน ค (100,000-13,334)
6,667
6,667
86,666
ข้ อสั งเกต การลงทุนของหุ้นส่ วนใหม่ สูงกว่ าทุน
วิธีค่าความนิยม คานวณทุนใหม่ ทุนรวมจะสู งกว่ าสิ นทรัพย์ รวม
วิธีโบนัส ไม่ ต้องคานวณทุนใหม่ ทุนรวมจะเท่ ากับสิ นทรัพย์รวม
ครู วรรณภา พงษ์สีมา วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น
ตัวอย่ างที่ 4
ก และ ข มีทุนคงเหลือคนละ 80,000 บาท ตกลงรับ ค เข้ าเป็ น
หุ้นส่ วน ให้ ค นาเงินสด 100,000 บาท มาลงทุนเพือ่ ให้ มสี ิ ทธิส่วนได้ เสี ย
ในห้ างหุ้นส่ วน 40%
เกณฑ์ การพิจารณา
ทุนหุ้นส่ วนเดิม
160,000
สิ นทรัพย์ ห้ ุนส่ วนใหม่
100,000
ทุนรวม
260,000
ค จะได้ รับสิ ทธิส่วนได้ เสี ย 40% (260,000x40%) =104,000
แสดงให้ เห็นว่ า ค ลงทุนต่ากว่ าทุนทีจ่ ะได้ รับ การบันทึกรับหุ้นส่ วนทาได้ 2 วิธี
1. วิธีค่าความนิยม
2. วิธีโบนัส
การรับหุ้นส่ วนใหม่ โดยลงทุนต่ากว่ าทุน วิธีค่าความนิยม
ค ลงทุน 100,000 แต่ ได้ รับทุนสู งกว่ าเงินลงทุน กิจการต้ องการบันทึกค่าความนิยม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. คานวณทุนใหม่
=
ทุนหุ้นส่ วนเดิม
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยหุ้นส่ วนเดิม
=
160,000
=
60%
160,000 x 100 = 266,667
60
การรับหุ้นส่ วนใหม่ โดยลงทุนต่ากว่ าทุน วิธีค่าความนิยม
ขั้นตอนการปฏิบัติ
2. คานวณค่ าความนิยมให้ ห้ ุนส่ วนใหม่
ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่
266,667
หัก สิ นทรัพย์ รวม
260,000
ค่ าความนิยม
6,667
3. บันทึกรับหุ้นส่ วนใหม่
เดบิต เงินสด
100,000
ค่ าความนิยม
6,667
เครดิต ทุน ค
166,667
(ทุน ค = ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่ 266,667 x 40% =106,667)
การรับหุ้นส่ วนใหม่ โดยลงทุนต่ากว่ าทุน วิธีโบนัส
กรณีที่ไม่ ต้องการบันทึกค่ าความนิยม หรือปรับปรุ งสิ นทรัพย์ วิธีนีผ้ ้ เู ป็ นหุ้นส่ วน
เดิมจะยอมลดบัญชีทุนของตนลง การบันทึกบัญชีเป็ นดังนี้
เดบิต เงินสด
100,000
ทุน ก (4,000/2)
2,000
ทุน ข (4,000/2)
2,000
เครดิต ทุน ค
104,000
ข้ อควรสังเกต
การคานวณบัญชีทุน
กรณีหุ้นส่ วนเดิมได้ รับค่ าความนิยม
ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่ =
เงินลงทุนหุ้นส่ วนใหม่
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยหุ้นส่ วนใหม่
กรณีหุ้นส่ วนใหม่ ได้ รับค่ าความนิยม
ทุนหลังรับหุ้นส่ วนใหม่ =
เงินลงทุนหุ้นส่ วนเดิม
สิ ทธิส่วนได้ เสี ยหุ้นส่ วนเดิม