***** 3 (1) ***********************************************: Tax Incidence

Download Report

Transcript ***** 3 (1) ***********************************************: Tax Incidence

บทที่ 3 (1)
ความเท่าเทียมของภาษี
ึ ษาภาระแท ้จริงของภาษี :
กรณีศก
Tax Incidence
1
บทนา
คาถามภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริงคือ ใครเป็ นผู ้ที่
รับภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง?
 Tax incidence คือการประเมินหาว่าใคร
จะเป็ นบุคคลธรรมดาหรือนิตบ
ิ ค
ุ คล ทีเ่ ป็ น
ผู ้บริโภคหรือผู ้ผลิต ทีร่ ับภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง

◦ ซงึ่ ความคิดของภาระภาษี อาจมีมม
ุ มองที่
แตกต่างกันระหว่างผู ้ออกกฎหมายกับประชาชน
่ การขึน
เชน
้ ภาษี เงินได ้นิตบ
ิ ค
ุ คล ทีร่ ัฐบาลอาจ
กล่าวว่านิตบ
ิ ค
ุ คลเป็ นผู ้รับภาระ แต่ผู ้ผลิตอาจ
อ ้างว่าในทีส
่ ด
ุ ก็จะผลักภาระให ้แก่ เจ ้าของ
ปั จจัยการผลิตทีใ่ ชก็้ ได ้
ึ ษาเรือ
◦ ดังนั น
้ การศก
่ งภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง จึง
2
บทนา

ั เจนในกฎหมายหรือระเบียบ
แม ้จะมีความชด
วิธก
ี ารจัดเก็บภาษี ทท
ี่ าให ้เห็นผู ้ทีจ
่ า่ ยภาษี
ได ้ง่าย แต่การตอบสนองต่อภาระภาษี ท ี่
้
นามาใชของตลาดที
ป
่ ระกอบทัง้ ผู ้บริโภค
และผู ้ผลิตทีแ
่ ตกต่างกันทาให ้ภาระที่
แท ้จริงกาหนดได ้ยากลาบาก
3
บทนา

ตัวอย่างในกรณีของประเทศไทยทีม
่ ี
ั สว่ นของภาษี ทางอ ้อม โดยเฉพาะ
สด
ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ สูง ทาให ้เห็นว่าภาระที่
่ ู ้ทีจ
แท ้จริงนัน
้ อาจไม่ใชผ
่ า่ ยภาษี เพือ
่ การ
แลกเปลีย
่ น
4
บทนา

ึ ษาในบทนีค
เป้ าหมายการศก
้ อ
ื การวิเคราะห์
หา ”เท่าเทียมของภาษี” โดยมีหวั ข ้อ
ึ ษาคือ
ศก
ึ ษากรณีดล
◦ การศก
ุ ยภาพบางสว่ น ทีต
่ ้องมี กฎ
ของภาระภาษี Three rules of tax incidence
◦ การวิเคราะห์ดล
ุ ยภาพทั่วไปของภาระภาษี
General equilibrium tax incidence
5
กฎ 3 ข ้อของภาระภาษี
◦ กฎหมายหรือระเบียบของการจ่ายภาษี ไม่ได ้
แสดงผู ้รับภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง
◦ มิตด
ิ ้านของตลาด (side of market) ทีม
่ ี
จัดเก็บภาษี ไม่มส
ี ว่ นเกีย
่ วข ้องกับการกระจาย
ตัวของภาระภาษี
◦ หากใคร (ผู ้ผลิตหรือผู ้บริโภค) มีความ
ยืดหยุน
่ น ้อย (Inelasticity) ก็จะเป็ นฝ่ ายทีต
่ ้อง
รับภาระภาษี มากกว่า
6
กฎหมายหรือระเบียบของการจ่ายภาษี ไม่ได ้
แสดงผู ้รับภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง
 Statutory incidence คือภาระภาษี ทเี่ ป็ น
จานวนเงินภาษี ทจ
ี่ า่ ยให ้แก่รัฐบาลตาม
กฎหมายทีก
่ าหนดการจัดเก็บจากผู ้อยูใ่ น
ี ภาษี
ข่ายเสย
◦ ตัวอย่างภาษี เงินได ้ ภาษี มล
ู ค่าเพิม
่ ภาษี น้ ามัน
เป็ นต ้น

Economic incidence คือภาระภาษี ทวี่ ัด
จากการเปลีย
่ นแปลงขนาดของทรัพยากร
ระหว่าง economic agent ทีเ่ ป็ นผลจากทีม
่ ี
การเก็บภาษี
่ การเก็บภาษี น้ ามันดีเซลเพิม
◦ เชน
่ ขึน
้ 1 บาท ทา
7
กฎหมายหรือระเบียบของการจ่ายภาษี ไม่ได ้
แสดงผู ้รับภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง

เมือ
่ เก็บภาษี จากผู ้ผลิต ทาให ้ผู ้ผลิตสามารถ
ิ ค ้าทีข
เพิม
่ ราคาสน
่ ายเพือ
่ เป็ นการชดเชยภาระ
ภาษี ทเี่ พิม
่ ขึน
้ กระบวนการนีค
้ อ
ื วิธก
ี ารผลัก
ภาระภาษี ของผู ้ผลิต นั่นคือ
◦ ภาระภาษี ผู ้ผลิต = (pretax price – post tax price) +
tax payments of producers (ภาษี จา่ ยโดยผู ้ผลิต)


เมือ
่ เก็บจากผู ้บริโภค ผู ้บริโภคจะผลักภาระ
โดยการไม่ยอมรับราคีก
่ าหนดใหม่ ทาให ้ราคา
ิ ค ้าต ้องลดลงเพือ
ื้ ภาระจึงกลับ
สน
่ จูงใจให ้ซอ
่ ู ้ขาย
ไปสูผ
ภาระภาษี ผู ้บริโภค คือ:
◦ ภาระภาษี ผู ้บริโภค = (post tax price – pretax price)
8
+ tax payments of consumers (ภาษี จา่ ยโดย
Price per
gallon (P)
The burden of the
(a)
Price per
tax is split
gallon (P)
between
้ ภาษี 0.50
consumers and การขึน
shifts the effective
Initially,
producers
S1 supply curve.
equilibrium entails
a price of 1.50
2.00
and a quantity of
100 units.
(b)
S2
S1
B
C
P2 = 1.80
P1 = 1.50
A
Consumer burden = 0.30
P1 = 1.50
A
0.50
Supplier burden = 0.20
D
Q1 = 100
Quantity in billions
of gallons (Q)
D
Q2 = 90
Quantity in billions
of gallons (Q)
10
กฎหมายหรือระเบียบของการจ่ายภาษี ไม่ได ้แสดง
ผู ้รับภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริง
จากรูปราคาทีด
่ ล
ุ ยภาพของตลาดคือ 1.50
บาทต่อ gallon และปริมาณดุลยภาพคือ 100
gallons
 เมือ
่ มีการเก็บภาษี เพิม
่ ขึน
้ 0.50 ทาให ้
marginal costs ของผู ้ผลิตเพิม
่ ขึน
้ ไปเป็ น
supply curve S2
 ทีร่ าคาตลาด ณ ดุลยภาพ มี excess demand
จานวน 20 gallons; ราคาเพิม
่ เป็ น 1.80 ทีท
่ า
ให ้ตลาดกลับมาได ้ดุลยภาพใหม่

11

ราคาของน้ ามันทีเ่ พิม
่ ขึน
้ จึงมีผล สอง
ประการ:
่
◦ ทำให ้รำคำตลำดเปลียนแปลง
◦ ผู ้ผลิตต ้องจ่ายภาษี ให ้แก่รัฐบาล

จากสมการ
◦ ภาระภาษี ผู ้บริโภค = (posttax price – pretax
price) + ภาษี จา่ ยโดยผู ้บริโภค ดังนัน
้
◦ ภาระภาษี ผู ้บริโภค = (1.80 - 1.50) + 0 = 30
◦ ภาระภาษี ผู ้ผลิต = (pretax price – posttax price)
+ ภาษี จา่ ยโดยผู ้ผลิต ดังนัน
้
◦ ภาระภาษี ผู ้ผลิต = (1.50 - 1.80) + 0.50 = 20
12
จากการวิเคราะห์พบว่าผู ้ผลิตจะไม่รับภาระ
ตามจานวนภาษี ทจ
ี่ า่ ย แต่จะเป็ นจานวนที่
น ้อยกว่า เพราะบางสว่ นของภาษี จะถูกผลัก
ให ้กับผู ้บริโภคในรูปของราคาทีเ่ พิม
่ สูงขึน
้
่ นต่างของราคาทีเ่ กิดจากภาษี นเี้ รียกว่า
 สว
tax wedge ซงึ่ คือราคาทีแ
่ ตกต่างกัน
ระหว่างผู ้ผลิตและผู ้บริโภค

◦ ในกรณีนค
ี้ อ
ื สว่ นต่างระหว่างราคาทีผ
่ ู ้บริโภค
จ่ายที่ 1.80 และทีผ
่ ู ้ผลิตได ้รับที่ 1.30
13

คาถามผลลัพธ์จะแตกต่างไปหรือไม่ หาก
เก็บภาษี กบ
ั ผู ้บริโภคแทนทีจ
่ ะเก็บจาก
ผู ้ผลิต
14
The economic
Price per
(P)tax
burdengallon
of the
is identical to the
previous case.
S
Imagine imposing
newtax onis
Thethe
quantity
demanders
equilibrium
pricerather
identical
to the
than
suppliers.
is $1.30,
and
case
when
thethe
tax
quantity
is 90.on
was
imposed
A supplier.
the
Consumer burden
P1 = 1.50
P2 = 1.30
1.00
Supplier burden
C
B
0.50
D2
Q2 = 90 Q1 = 100
D1
Quantity in billions
of gallons (Q)
15
ดุลยภาพตลาดเริม
่ ต ้นทีป
่ ริมาณ 100
gallons ณ ราคาขายที่ 1.50 บาท/gallon.
 แม ้ความอยากจะจ่ายให ้แก่ผู ้ผลิตไม่
เปลีย
่ นแปลง แต่การเพิม
่ ภาษี อก
ี gallon ละ
0.50 บาท ทาให ้ความอยากจะจ่ายของ
ผู ้บริโภค หรือ consumers’ willingness ที่
ให ้กับผู ้ผลิตลดลง 0.50 บาท (เพราะ
ผู ้บริโภคต ้องรับภาระจ่ายภาษี ให ้กับรัฐบาล)
ดังนัน
้ เสน้ demand curve shifts เป็ น D2
 ณ ราคาดุลยภาพของตลาด จะมี excess
supply ของน้ ามัน ผู ้ผลิตจึงต ้องลดราคาลด
เหลือ 1.30 บาทเพือ
่ ขจัดสว่ นเกินของ

16

ทานองเดียวกัน ภาษี น้ ามันมีผลสองอย่าง:
◦ ทาให ้ราคาตลาดเปลีย
่ นแปลง
◦ ผู ้บริโภคต ้องจ่ายภาษี ให ้แก่รัฐบาล

ภาระภาษี ผู ้บริโภค= (posttax price – pretax
price) + ภาษี จา่ ยให ้แก่รัฐบาลโดยผู ้บริโภค
◦ ภาระภาษี ผู ้บริโภค = (1.30 - 1.50) + 0.50 =
0.30

ภาระภาษี ผู ้ผลิต= (pretax price – posttax
price) + ภาษี ทจ
ี่ า่ ยโดยผู ้ผลิต
◦ ภาระภาษี ผู ้ผลิต= (1.50 – 1.30) + 0 = 0.20
17
มิตด
ิ ้านของตลาดทีม
่ จ
ี ัดเก็บภาษี ไม่มส
ี ว่ น
เกีย
่ วข ้องกับการกระจายตัวของภาระภาษี
ข ้อสงั เกตภาระภาษี จะเท่ากันทัง้ สองกรณี
ไม่วา่ จะจัดเก็บจากฝ่ ายใด
ึ ษานีจ
 กรณีศก
้ งึ สรุปได ้ว่าการเก็บภาษี ไม่วา่
จะดาเนินการจากด ้านไหนไม่มผ
ี ลต่อการ
กระจายของภาระภาษี

18
มิตด
ิ ้านของตลาดทีม
่ จ
ี ัดเก็บภาษี ไม่มส
ี ว่ น
เกีย
่ วข ้องกับการกระจายตัวของภาระภาษี

การเก็บภาษี ทเี่ ป็ นอยูใ่ นตลาดเดีย
่ ว (Partial
equilibrium) จะมีผลต่อราคาสองประเภท
◦ ราคารวม gross price คือราคาในตลาด
◦ ราคาหลังหักภาษี after-tax price คือราคารวม
หัก ด ้วย ภาษี (กรณีทเี่ ก็บภาษี จากผู ้ผลิต) หรือ
บวกจานวนภาษี (กรณีทเี่ ก็บจากผู ้บริโภค)
19
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand กับ
ภาระภาษี
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand จะ
มีผลกับภาระภาษี ทแ
ี่ ต่ละฝ่ ายจะได ้รับ
 โดยทั่วไปหากฝ่ ายใดมีความยืดหยุน
่ มาก
(elastic) จะพยายามหลบเลีย
่ งภาระภาษี ได ้
ง่ายกว่ากรณีทม
ี่ ค
ี วามยืดหยุน
่ ตา่ (inelastic)

20
ตัวอย่าง
ราคาต่อแกลอน(P)
D
P2 = 2.00
S2
S1
ด ้วย perfectly inelastic demand,
ผู ้บริโภคจะรับภาระภาษี ทงั ้ หมด
Consumer burden
P1 = 1.50
0.50
Q1 = 100
ปริมาณ (Q)
21
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand กับ
ภาระภาษี

จากรูปดุลยภาพใหม่มรี าคาตลาดที่ 2 บาท
การเก็บภาษี ท ี่ 0.5 บาท ทาให ้ราคาเพิม
่ ขึน
้
เต็มทีท
่ ี่ 0.50 บาท จากราคาเดิมConsumer
tax burden = (posttax price – pretax price)
+ tax payments of consumers
◦ Consumer tax burden = (2.00 - 1.50) + 0 = 0.50
บาท

Producer tax burden = (pretax price –
posttax price) + tax payments of producers
◦ Producer tax burden = (1.50 - 2.00) + 0.50 = 0
22
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand กับ
ภาระภาษี
 ข้อสังเกต: แม ้ว่าภาษี จะถูกจัดเก็บจาก
ด ้านผู ้ผลิตก็ตาม แต่ภาระภาษี ทแ
ี่ ท ้จริงจะ
ถูกผลักให ้แก่ผู ้บริโภคเต็มจานวน
 Full shifting คือกรณีทฝ
ี่ ่ าหนึง่ ฝ่ ายใดที่
เกีย
่ วข ้องกับการแลกเปลีย
่ นต ้องรับภาระ
ภาษี ทงั ้ หมด จากกรณีตวั อย่างพบว่า
◦ การทีม
่ ี perfectly inelastic demand ผู ้บริโภคจะ
รับภาระภาษี ทงั ้ หมด
23
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand กับ
ภาระภาษี

กรณีทม
ี่ ี perfectly elastic ของผู ้บริโภค
24
ตัวอย่าง
ที่ 2
Price per
gallon (P)
S2
S1
0.50
With perfectly elastic demand,
producers bear the full burden.
D
P1 = 1.50
Supplier burden
1.00
Q2 = 90
Q1 = 100
Quantity in billions
of gallons (Q)
25
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand กับ
ภาระภาษี
ราคาดุลยภาพของตลาดอยูท
่ ี่ 1.50 ณ ราคา
เริม
่ ต ้นเดิม
 Consumer tax burden = (posttax price –
pretax price) + tax payments of consumers

◦ Consumer tax burden = (1.50 - 1.50) + 0 = 0

Producer tax burden = (pretax price –
posttax price) + tax payments of producers
◦ Producer tax burden = (1.50 - 1.50) + 0.50 =
0.50
26
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand กับ
ภาระภาษี
ในกรณีนผ
ี้ ู ้ผลิตรับภาระภาษี ทงั ้ หมด เพราะ
ผู ้บริโภคสามารถหลบเลีย
่ งการจ่ายภาระ
ื้ สน
ิ ค ้าทีถ
ภาษี โดยการหยุดซอ
่ ก
ู เก็บนัน
้
(เพือ
่ เลีย
่ งราคาทีส
่ งู ขึน
้ )
 ข ้อสรุป:
◦ ฝ่ ายใดมี inelasticity ไม่วา่ จากด ้าน supply
หรือ demand จะเป็ นผู ้ทีร่ ับภาระภาษี
◦ แต่หากมี elasticity ไม่วา่ จากด ้าน supply
หรือ demand จะทาให ้สามารถเลีย
่ งภาระ
ภาษี ได ้

27
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand
กับภาระภาษี
◦ คุณลักษณะของ Demand ทีม
่ ค
ี วามยืดหยุน
่
ิ ค ้า
มากคือเมือ
่ มีความสามารถในการหาสน
ื้ ผ ้า
ทดแทนได ้ง่าย (ตัวอย่าง อาหาร เสอ
ฯลฯ)
◦ Demand ทีม
่ ค
ี วามยืดหยุน
่ ตา่ คือเมือ
่ มี
ิ ค ้าทดแทนได ้
ความสามารถในการหาสน
่ ยารักษาโรค น้ ามันเชอ
ื้ เพลิง)
ยาก(เชน
◦ กรณี Supply ทีม
่ ค
ี วามยืดหยุน
่ มาก เกิดขึน
้
เมือ
่ ผู ้ผลิตมีทางเลือกในการผลิตหรือใช ้
่ การผลิต
ปั จจัยการผลิตได ้หลายชนิด เชน
ื้ ผ ้า อาหาร
เสอ
◦ Supply ทีม
่ ค
ี วามยืดหยุน
่ ตา่ คือการผลิตที่
หาปั จจัยการผลิตยากหรือจากัด หรือมี
ิ ค ้า เชน
่
เทคโนโลยีการผลิตทีเ่ ฉพาะสน
28
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand
กับภาระภาษี

กรณี ศก
ึ ษา: ให ้ demand คงที่ และมี supply
ทีเ่ ป็ น inelastic ซงึ่ ผลทีไ่ ด ้คือ ภาระภาษี จะ
ตกกับผู ้ผลิตเป็ นจานวนมาก
29
ตัวอย่าง
P
More inelastic supply, smaller
More
elasticburden.
supply, larger
consumer
consumer burden.
(a) เก็บภาษี กบ
ั ผู ้ผลิตเหล็ก ทีม
่ ท
ี างเลือกปั จจัยการผลิ
ตบ
า่ ภาษี กบ
ิ ค ้าทั่วไปทีม
(b)ตเก็
ั ผู ้ขายสน
่ ท
ี
P
ิ ค ้ามาขายได ้ง่าย
หาสน
S2
S1
Tax
S2
B
P2
P1
Consumer burden
B
P2
Tax
Consumer burden
A
A
P1
D
Q2 Q1
S1
D
Q
Q2
Q1
Q
30
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand
กับภาระภาษี
จากรูป a เมือ
่ มีการเก็บภาษี กบ
ั ผู ้ผลิตทีม
่ ี
เสน้ supply แบบ inelastic – กรณีนค
ี้ อ
ื พ่อค ้า
ทีม
่ ี การผลิตทีต
่ ้องใช ้ fixed capital
investment ในทีน
่ ค
ี้ อ
ื วัตถุดบ
ิ แร่เหล็ก-ผู ้บริโภคจะจ่ายภาระภาษี ทเี่ พิม
่ ขึน
้ เพียง
เล็กน ้อยเท่านัน
้ แต่สว่ นใหญ่ของภาระภาษี
จะรับโดยผู ้ผลิต เพราะไม่มท
ี างเลือกในการ
ผลิตมากนัก
 ในรูป b ทีม
่ ี elastic supply ผู ้บริโภคจะ
รับภาระภาษี เป็ นสว่ นใหญ่

31-
ความยืดหยุน
่ ของเสน้ supply and demand
กับภาระภาษี
ึ ษาเรือ
การศก
่ งภาระภาษี จะสนใจผลด ้านราคา
เป็ นสาคัญ การเปลีย
่ นแปลงด ้านปริมาณที่
เกิดขึน
้ ไม่เป็ นสาระสาคัญ
 เหตุผลทีไ
่ ม่สนใจปริมาณการบริโภค เพราะณ
ึ
ดุลยภาพทัง้ เก่า และใหม่ ผู ้บริโภคไม่รู ้สก
ิ ค ้าทีถ
แตกต่างระหว่างจ่ายเงินเพือ
่ สน
่ ก
ู เก็บ
ิ ค ้าอืน
ภาษี มากขึน
้ หรือนาเงินไปใชจ่้ ายกับสน
่
แทน

32
ราคา
S
ภาระภาษี รับ
โดยผู ้ผลิต
ทัง้ หมด
P1
P2
ภาษี
D1
D2
Q1
ปริมาณ
33
ราคา
S2
D
S1
ภาษี
P2
ภาระภาษี รับ
โดยผู ้บริโภค
ทัง้ หมด
P1
Q1
ปริมาณ
34
ิ ค ้ายิง่ ถูกผลักให ้ผ
จากรูปยิง่ เสน้ supply มีความยืดหยุน
่ มากเท่าไร ภาระภาษี ในรูปของราคาสน
ราคา
S12
S11
S22
P3
S21
ภาษี
P2
P1
D1
1
ปริมาณ
35
จากรูปยิง่ เสน้ Demand มีความยืดหยุน
่ มาก จะสามารถผลักภาระภาษี ให ้ผู ้ผลิตในรูปขอ
ราคา
S1
E0
P1
P2
P3
E1
ภาษี
D1
E2
D2
D2
1
D1
ปริมาณ
36