442 บทที่ 4

Download Report

Transcript 442 บทที่ 4

บทที่ 4 (1)
ประสิทธิภาพภาษี (Efficiencies) และภาระภาษีสว่ นเกิน
(Excess Burden หรื อ Deadweight Loss)
1
เกริ่ นนา
การเก็บภาษีก่อให้ เกิดปั ญหากับผู้ที่ต้องรับภาระภาษี ดังนันทุ
้ กๆ
ฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องจะพยายามหลบหลีกที่ต้องรับภาระภาษี
 วิธีการหลบหลีกภาษี จะแตกต่างกันไป ตามความสามารถของ
แต่ละฝ่ าย ซึง่ อาจก่อให้ เกิดความไม่มีประสิทธิภาพของการใช้
ทรัพยากร

◦ ตัวอย่าง กรุงเทพฯ มีรถมอเตอร์ ไซด์รับจ้ าง รถตู้ให้ บริการระหว่าง
จังหวัด ฯลฯ สะท้ อนปั ญหาการหลบเลี่ยงภาระภาษี

นัน่ คือวอธีการของตลาดที่จะไม่ปล่อยให้ ภาษีผา่ นมาเฉยๆ แต่จะ
พยายาม minimize ภาระภาษีมากที่สดุ ตราบใดที่สามารถ
สร้ างการทดแทน (substitution) ระหว่างการบริโภคกันได้
2
เกริ่ นนา
ในบทนี ้จึงเป็ นการศึกษาถึงผลที่เกิดจากความพยายามหลบ
เลี่ยงภาษีที่ทาให้ เกิดความไม่ประสิทธิภาพในการใช้ ทรัพยากร
หรื อต้ นทุนความไม่ประสิทธิภาพ (Cost of
Inefficiency) สาหรับสังคม
 ในกรณีที่ตลาดทาหน้ าที่ได้ สมบูรณ์ (โดยไม่มีปัญหาความ
ล้ มเหลวของตลาด) ภายใต้ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ประสิทธิภาพ
ของสังคม (social efficiency) จะสูงที่สดุ โดยที่ไม่มีการ
แทรกแซงของรัฐบาล

3
เกริ่ นนา

แต่การเก็บภาษีหรื อแทรกแซงของรัฐบาล ทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคและใช้ ทรัพยากรของสังคม
4
มอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง
A
กรณีก่อนจะมีการเก็บภาษี
การเลือกบริโภคสินค้ าทังสอง
้ อยูท่ ี่
C1 และ T1
E1
C1
T1
D
บริ การ Taxi
5
เมื่อมีการเก็บภาษี กบั การให้ บริการแท๊ กซี่
การใช้ บริการของสินค้ าทังสองเปลี
้
่ยนเป็ น C2 และT2
จะมีการบริโภคมนเตอร์ ไซค์รับจ้ างเพิ่มเพื่อเป็ นการหนี
ภาระภาษี
มอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง
A
C2
E2
E1
C1
F
T2
T1
D
บริ การ Taxi
6
มอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง: C
A
Ca
C2
E2
เมื่อมีการเก็บภาษีกบั การให้ บริ การแท๊ กซี่
การใช้ บริ การของสินค้ าทังสองเปลี
้
่ยนเป็ น C2 และT2
จะมีการบริ โภคมนเตอร์ ไซค์รับจ้ างเพิ่มเพื่อเป็ นการหนี
ภาระภาษี
หลังภาษีจะได้ บริ โภค taxi เท่ากับ T2 ซึง่ เดิมจะ
สามารถบริ โภค C ณ T2 ได้ เท่ากับ Ca แต่ขณะนี ้จะ
ได้ เพียง Ca โดยระยะ ระหว่าง Ca C2 คือ
ความไม่มีประสิทธิภาพจากการต้ องเปลี่ยน
พฤติกรรมการบริ โภค หรื ออาจเรี ยกว่าเป็ น
ภาระภาษีในรูปของการลดการบริ โภคสินค้ า
E1 ในรูปสนค้ าของสินค้ า C
C1
F
T2
T1
D
บริ การ Taxi: T
7
มอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง: C
A
Ca
C2
G
เราอาจหามูลค่าของภาษีที่เก็บได้ โดย การคูณระยะ Ca C2 ด้ วย
ราคาต่อหน่วยของ C จะได้ มลู ค่าภาษีทงหมด
ั้
ณ ดุลยภาพใหม่ที่ E2 ที่มีความพอใจต่ากว่าที่ E1
เพราะระยะ GE2 เปรี ยบเสมือนขนาดภาษีที่จ่ายออกไป ดังนัน้
อาจใช้ Equivalent Variation มาใช้ วดั ขนาดของภาระภาษี
เพราะการมีภาษีเหมือนทาให้ รายได้ ลดลง
E2
E1
C1
F
T2
T1
D
บริ การ Taxi: T
8
มอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง: C
A
Ca
G
H
ภาษี
C2
Equivalent variation หาได้ โดยการลากเส้ นขนานกับ AD
ณ ความพอใจเท่ากัน
จะเห็นได้ ว่าขนาดภาระภาษีแท้ จริ งกับ equivalent
variation ไม่เท่ากัน โดยมีสว่ นต่างคือ NE2 คือภาระภาษี
ส่วนเกินนัน่ เอง
M
Equivalent Variation
E2
N
E1
C1
C3
E3
F
T2
T3
I
T1
D
บริ การ Taxi: T
9
ข้ อสังเกตุจากตัวอย่าง
หากเปลี่ยนการเก็บภาษีแบบต่อหน่วย (Unit tax) ที่มีผลให้
ราคาเปรี ยบเทียบระวห่างสินค้ าเปลี่ยนไป ไปสูก่ ารเก็บภาษีแบบ
เหมาจ่าย (Lump Sum Tax) ที่ไม่ทาให้ ราคาเปรี ยบเทียบ
เปลี่ยน จะช่วยแก้ ไขปั ญหาการเกิดภาระส่วนเกินหรื อไม่
 คำตอบ: หากเป็ นการเก็บภาษี แบบ Lump sum จะไม่มี
ภาระส่วนเกินต่อสังคม เพราะราคาเปรี ยบเทียบไม่ได้ เปลี่ยน ไม่
มีการเปลี่ยนของพฤติกรรมผู้บริโภค

10
ข้ อสังเกตุจากตัวอย่าง
แต่ทาไมภาษีแบบ lump sum จึงไม่คอ่ ยเห็นมีการใช้ จริง
 คำตอบ: เพราะความไม่เป็ นธรมมอาจมีผลต่อการเลือกใช้ ภาษี
แบบ lump sum เนื่องจากผู้มีรายได้ น้อยต้ องจ่ายภาษีเท่าๆ
กับผู้มีรายได้ มาก ถึงแม้ จะมีความพยายามปรับการเสียภาษีโดย
ให้ เก็บแตกต่างกันตามรายได้ แต่ผลจะทาให้ ผ้ มู ีเงินได้ ปรับการ
ตัดสินใจการทางาน และการออมจนทาให้ ภาระภาษีไม่แตกต่าง
กัน ทังนี
้ ้แต่ละคนยังมีความสามารถปรับระดับการหารายได้ ของ
ตนเอง ด้ วยเหตุผลดังกล่าวทาให้ การใช้ Lump sum tax
จึงหันไปเก็บจากฐานความสามารถจ่าย “ability-to-pay”
แทน

11
ข้ อสังเกตุจากตัวอย่าง
หากภาษีเงินได้ เก็บจากรายได้ ของบุคคลแล้ ว จะไม่ทาให้ มี ภาระ
ส่วนเกินได้ หรื อไม่?
 คำตอบ: ไม่ใช่ เพราะแม้ รายได้ จะนาไปใช้ ในการบริ โภคสินค้ าต่างๆ
การเก็บภาษีเงินได้ อาจไม่ทาให้ ราคาสินค้ าโดยเปรี ยบเทียบไม่
เปลี่ยนแปลง แต่ยงั มีการบริโภคอื่นที่ไม่มีราคาในตลาด คือการ
พักผ่อน ดังนันการเก็
้
บภาษีเงินได้ ยอ่ มมีภาระส่วนเกินอยูด่ ี

MRSlC = MRTlC



MRSlT = MRTlT
MRSTC = MRTTC
12
ข้ อสังเกตุจากตัวอย่าง
การเก็บภาษีเงินได้ เปรี ยบเสมือนเก็บภาษีกบั สินค้ าทุกๆ ชนิดใน
อัตราเดียวกัน แต่ไม่ได้ เก็บจากการพักผ่อนของบุคคล
 หากการเก็บภาษี เงินได้ ทาให้ คา่ จ้ างที่ลกู จ้ างได้ เดิมเท่ากับ w
กลายเป็ น (1-t)*w ทาให้ MRSlC = (1-t)*w/Pc
 แต่นายจ้ างยังคงคิดการจ้ างงานที่อตั ราค่าจ้ างเท่ากับ w หรื อที่

MRTlC = W/Pc
 ดังนันเงื
้ ่อนไขการจ้ างของนายจ้ างและลูกจ้ างจึงไม่เท่ากัน

13
ข้ อสังเกตุจากตัวอย่าง
หากเส้ น demand ไม่เปลี่ยนแปลงการบริโภคเพราะภาษี
หมายความว่าจะไม่มีภาระส่วนเกินใช่หรื อไม่?
 คำตอบ: กรณีนี ้คือการที่ demand เป็ น inelasticity ไม่
มีการเปลี่ยนแปลงขนาดการบริโภคแม้ วา่ ราคาจะเป็ นเท่าใดก็
ตามคือที่ T2 = T3 กรณีนี ้ยังคงมีภาระส่วนเกินจากภาษีที่เก็บ
เท่ากับระยะ E1E2 โดยจากรูป (หน้ าถัดไป) ภาระส่วนเกินคือ
NE2 ขณะที่ equivalent variation = RE3
 เหตุผลเพราะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริ โภค โดยที่ต้องลด
การบริโภค C จาก เดิม C1 เป็ น C2

14
มอเตอร์ ไซค์รับจ้ าง: C
A
C1
E1
H
R
C2
N
E2
E3
C3
F
T2= T3
I
T1
D
บริ การ Taxi: T
15
ข้ อสังเกตุจากตัวอย่าง
จากรูปการเคลื่อนจาก E1 ไปสู่ E2 คือ uncompensated
response เพราะเป็ นการบริโภคที่เปลี่ยนทังจากรายได้
้
ที่สญ
ู เสีย
ไป บวก กับ การเปลี่ยนแปลงราคาที่ทาให้ การบริโภคเปลี่ยนแปลง
ตามไปด้ วย สามารถแยกออกได้ เป็ น
 E1E2 ผลการบริ โภคลดลงเพราะภาษี ทาให้ รายได้ ลดลง เรี ยกว่า
income effect
 E3E2 ผลการบริ โภคที่เปลี่ยนจากราคาเปรี ยบเทียบเปลี่ยนแปลงไป
ทาให้ ต้องชดเชยรายได้ เพื่อรักษาความพอใจให้ เท่าเดิม เพราะ T ถูก
เก็บภาษี เรี ยกช่วงนี ้ว่า Compensated response หรื อ
Substitution effect

16
สรุปผลจากกรณีตวั อย่าง
แสดงให้ เห็นว่าการที่ประชาชนพยายามลดภาระภาษีได้ สง่ ผลต่อ
ต้ นทุนของสังคมในรูปของประสิทธิภาพที่ลดลง
 เพราะ social efficiency สูงสุดในกรณีที่เป็ นตลาดแข่งขัน
สมบูรณ์ ความพยายามทาให้ ภาระภาษีลดลงเป็ นสาเหตุให้ เกิด
ส่วนเกินของภาระภาษีในรูปของ deadweight loss

17
ภาษีและความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์โดย กราฟ
เป็ นการศึกษาบนพื ้นฐานของความมีประสิทธิภาพไม่ใช่ความ
เท่าเทียม
 จุดสนใจจะเป็ นเรื่ องปริ มาณแทนที่จะเป็ นเรื่ องราคา
 ตัวอย่างเก็บภาษี เพิ่ม0.50 ต่อ gallon
 โดยสมมุติให้ เป็ นภาษ๊ กบ
ั ผู้ผลิตน ้ามัน ดูรูปที่ 1.

18
รูปที่ 1
Price per
gallon (P)
S2
S1
ภาษีทาให้เกิด
ภาระส่วนเกิน.
B
P2 = 1.80
DWL
P1 = 1.50
A
0.50
ภาษีทาให้เส้น supply shift
ซ้าย
C
D1
Q2 = 90 Q1 = 100
Q
19
ภาษีและความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์โดย กราฟ
ก่อนภาษีน ้ามันขายที่ 100 หน่วย หลังภาษีปริมาณขายเหลือเพียง
90 หน่วย
 เส้ น demand curve แสดง social marginal benefit
จากการบริโภคน ้ามัน และเส้ น supply curve แสดง social
marginal cost
◦ SMB=SMC ที่ปริ มาณบริ โภคเท่ากับ 100 หน่วย
 การผลิตที่น้อยลงทาให้ เกิด deadweight loss

20
ภาษีและความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์
Elasticities เป็ นปั จจัยกาหนดขนาดความไม่มีประสิทธิภาพของภาษี
ผลต่อประสิทธิภาพจากการเก็บภาษีจะไม่แตกต่างว่าเป็ นการ
เก็บภาษีจากด้ าน demand หรื อ supply
 price elasticities ของ supply และ demand
กาหนดการกระจายของภาระภาษีเหมือนกับการกาหนดความ
ไม่มีประสิทธิภาพของภาษี
 elasticities หมายถึงการเปลี่ยนขนาดของปริ มาณ ซึง่ นาไปสู่
การเกิด deadweight loss มากขึ ้นด้ วย
 รู ปที่ 2 แสดง deadweight loss ที่เพิ่มตามขนาดของค่า
ความยืดหยุน่

21
รูปที่ 2
P
Demand is fairly inelastic,
and DWL is small.
(a) Inelastic Demand
P
S2
(b) Elastic demand
Demand is more
elastic, and DWL
is larger.
S1
S2
S1
B
P2
B
DWL
P1
P2
P1
A
ภาษ๊ ที่เก็บเพิ่ม
0.50
DWL
A
C
C
D1
ภาษ๊ ที่เก็บเพิ่ม
0.50
D1
Q2 Q1
Q
Q2
Q1
Q
22
ภาษีและความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์
Elasticities เป็ นปั จจัยกาหนดขนาดความไม่มีประสิทธิภาพของภาษี
 การมี inelastic demand ทาให้ มีการเปลี่ยนราคาตลาด
มาก แต่ปริ มาณเปลี่ยนเล็กน้ อย
 ตรงกันข้ ามการมี elastic demandราคาเปลี่ยนมากกว่า
และผู้ผลิตรับภาระภาษีมากกว่า แต่มีการเปลี่ยนจานวน
ปริ มาณมากกว่า ทาให้ deadweight loss มีจานวนมาก
ขึ ้น
23
ภาษีและความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์
Elasticities เป็ นปั จจัยกาหนดขนาดความไม่มีประสิทธิภาพของภาษี

โดยสรุปความไม่มีประสิทธิภาพที่เกิดจากการเก็บภาษี มาจาก
การเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อเลี่ยงภาระภาษีของประชาชน ทังที
้ ่มา
จากการเปลี่ยนแปลงการผลิต เช่นการปรับทดแทนการใช้ ปัจจัย
การผลิตของผู้ผลิต หรื อการปรับการบริโภคสินค้ าที่ทดแทนกัน
ของผู้บริโภค
24
ตัวอย่ ำงกำรเลี่ยงภำษีในประเทศไทย
ในโลกความเป็ นจริงพฤติกรรมการเลี่ยงสามารถแสดงอกได้
หลายรูปแบบ
 ตัวอย่างการเก็บภาษี ป้ายของประเทศไทยที่จดั กับป้ายที่มี
ข้ อความภาษาต่างประเทศมากกว่าภาษาไทย ทาให้ เพื่อเป้นการ
เลี่ยงภาระภาษีจงึ มีการทาป้ายที่เป็ นภาษาไทยตัวเล็ก แต่
ภาษาต่างประเทศตัวใหญ่ เพื่อให้ มีความเป็ นป้ายภาษาไทย

25
ตัวอย่ ำงรูปแบบภำระส่ วนเกินในประเทศไทย
26
การคานวณภาระส่วนเกิน

สูตรการคานวณภาระส่วนเกินของภาษี พิจารณารูป 3 ประกอบ:
1
2
* * Pb * q * (tb )
2



จากสูตรเห็นได้ วา่ ภาระส่วนเกินของภาษี จะเพิ่มตามขนาดของค่าความยืดหยุน่
และ
ภาระส่วนเกินจะเพิ่มตามขนาดของอัตราภาษี นัน่ คือหากขนาดภาษี มากขึ ้น
ภาระส่วนเกินย่อมจะเพิ่มตามไปด้ วย
ค่าภาระส่วนเกินนี ้จะติดลบเสมอ เพราะการเก็บภาษีทาให้ q ลดลงเสมอ
27
P
(1+tb)Pb
Pb
รูปที่ 3
f
g
S’b
ภาระส่วนเกิน
i
d
h
Sb
รายได้ ภาษี
Db
q2
q1
Q
28
สูตรการหาภาระส่วนเกิน
จากรูปที่ 4 พื ้นที่ภาระส่วนเกินเท่ากับ dfi
1
* df * di
 หาขนาดพื ้นที่ dfi โดยให้ เป็ น A =

2
df = ∆Pb = (1+tb ) * Pb - Pb = tb * Pb
 di = ∆q ที่เกิดจากราคาเปลี่ยนแปลง เพราะภาษี
 เพราะว่าค่าความยืดหยุน
่

qPb

Pb q
29
สูตรการหาภาระส่วนเกิน

จัดเทอมใหม่ได้
 q 

q   

P
b
P 
 b 

แต่เพราะว่า ∆Pb = tb * Pb ดังนันจะได้
้
q
q   *
* (tb * Pb )   * q * tb
Pb

30
สูตรการหาภาระส่วนเกิน



และจาก di = ∆q แทนค่าทัง้ di และ df กลับใน A จะได้
1
A  ( di)(df )
2
1
 ( * q * tb )(tb Pb )
2
= 1
2
* * Pb * q * (tb )
2
31
การกาหนดขนาดของภาระภาษี สว่ นเกิน
การที่สตู รภาระส่วนเกินมีคา่ ยกกาลัง 2 ของภาษีแสดงให้ เห็นถึง
อิทธิพลของภาษีที่จะเพิ่มเป็ นทวีคณ
ู เมื่อมีการเก็บภาษี
 การเพิ่มของภาระภาษีนี้เรี ยกว่ า Marginal
deadweight loss คือการเพิ่มของ ต่อหน่วยของภาษีที่
เพิ่มขึ ้น

32
รูปที่ 3
S3
P
D
P3
B
P2
P1
S2
S1
The next $0.10 tax creates
a larger marginal DWL,
TheBCDE.
first $0.10 tax creates
little DWL, ABC.
A
C
0.10
E
0.10
D1
Q3 Q2 Q1
Q
33
การกาหนดขนาดของภาระภาษี สว่ นเกิน
จากรูปเมื่ออัตราภาษีเพิ่มจาก 0.10 เป็ น 0.20
deadweight loss เพิ่มเป็ นพื ้นที่ DBCE
 พื ้นที่ DBCE ใหญ่กว่าพื ้นที่ BAC และ deadweight
loss รวมคือ DAE
 การเก็บภาษี ที่ทาให้ เคลื่อนห่างออกจากดุลยภาพของตลาด
แข่งขันยิ่งทาให้ ภาระส่วนเกิดของสังคมยิ่งเพิ่มมากขึ ้นเป็ นลาดับ

34
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี
 จากสูตรการคิดขนาดของภาระส่วนเกินที่อตั ราภาษี มีคา่
ยกกาลัง ทาให้ มีผลต่อขนาดภาระส่วนเกินในการ
ออกแบบภาษีในกรณีสาคัญต่อไปนี ้
◦ มีการบิดเบือนก่อนเก็บภาษี Pre-existing distortion
◦ อัตราภาษีก้าวหน้ าสร้ างการบิดเบือนมากขึ ้น
35
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี

Preexisting distortions คือกรณีที่ตลาดมีการิด
เบือนการจัดสรรทรัพยากรก่อนที่จะมีการเก็บภาษี ตัวอย่างเช่น
◦ กรรี ที่มีผลภายนอก (externalities)
36
Figure 4
P
P
S2
S1
In a market with a
preexisting distortion,
taxes can create larger (or
smaller) DWL.
B
S2
S1
SMC
G
E
A
D
C
F
H
D1
D1
Q2 Q1
No positive externality
Q
Q2 Q1 Q 0
Q
Positive externality
37
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี
ภาษีที่ถกู เก็บในรูปแรกมีขนาดของภารส่วนเกินเพียงพื ้นที่
BAC เท่านัน้
 แต่เมื่อมีการบิดเบือนอยูก่ ่อนแล้ ว ตัวอย่างจากรู ป เห็นได้ วา่ มี
การเกิดภาระส่วนเกินอยูแ่ ล้ วจากการที่ผ้ ผู ลิตนันผลิ
้ ตสินค้ าที่
น้ อยกว่าระดับดุลยภาพ มีภาระส่วนเกิน เท่ากับพื ้นที่ (กรณีนี ้
เป็ น positive externalities) แต่เมื่อการภาษีเก็บเพิ่มเข้ า
ไปทาให้ ขนาดภาระส่วนเกินกลายเป็ น GEFH
 ตรงข้ ามถ้ าเป็ น negative externalities การเก็บภาษี ยิ่ง
ทาให้ ผลิตน้ อยลง ยิ่งเกิดผลดีมากขึ ้น แทนที่จะเป็ นผลเสีย

38
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี : กรณีภาษีอตั ราก้ าวหน้ า
จากปั ญหาของภาระส่วนเกิน อาจทาให้ ภาษีแบบก้ าวหน้ าไม่มี
ประสิทธิภาพได้
 ตัวอย่าง– ภาษี ที่เป็ นสัดส่วนที่อตั ราร้ อยละ 20 ของค่าจ้ าง
เปรี ยบเทียบกับภาษีที่เก็บอัตราร้ อยละ 60 กับคนรวย และร้ อย
ละ 0 กับคนจน

39
Figure 5
Wage (W)
S2
S1
DWL เพิม
่ กับอัตราภาษี
ทเี่ พิม
่ ขึน
้
ทาให้อัตราทีน
่ ้ อยจะมีภาระ
ส่วนเกินทีน
่ ้ อยกวา่
Wage (W)
W3=23.90
B
W2=11.18
S3
S2
S1
G
E
W2=22.36
A
W1=10.00
D
W1=20.0
0
F
C
D1
H2=894 H1=1,000
ลูกจ้ างที่อตั ราค่าจ้ างน้ อย
Hours (H)
I
H3=837 H2=894 H1=1,000
D1
Hours (H)
ลูกจ้ างที่อตั ราค่าจ้ างสูง
40
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี : กรณีภาษีอตั ราก้ าวหน้ า
จากรูปภายใต้ ภาษีอตั ราเท่ากัน (Proportional tax) ทัง้
สองภาคการผลิต ภาระภาษีสว่ นเกินคือ BAC และ EDF.
 แต่ภาษี อตั ราก้ าวหน้ าภาระส่วนเกินของภาษี เท่ากับ GDI ซึง่
เก็บจากผู้มีรายได้ มากเท่านัน้

41
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี : กรณีภาษีอตั ราก้ าวหน้ า
ปั ญหาภาระส่วนเกินของภาษีอตั ราก้ าวหน้ าเกิดจาก ที่อตั ราภาษี
ก้ าวหน้ าเก็บจากฐานภาษีที่แคบ การเพิ่มรายได้ จากจานวนผู้
เสียที่มีจานวนน้ อยต้ องเพิ่มอัตราให้ สงู มากขึ ้น ดังนันจึ
้ งทาให้
ภารภาษีเพิ่มมากตามไปด้ วย
 ด้ วยเหตุผลดังกล่าวการออกแบบภาษี จงึ ไม่ควรกระจุกฐานการ
จัดเก็บไว้ กบั กลุม่ คนเพียงบางกลุม่ แต่ควรกระจายฐานภาษี
ออกไปให้ มากๆ เพราะทาให้ ภาระภาษีตกกับทุกๆ คน และภาระ
ส่วนเกินของการเลี่ยงภาษีของผู้จ่ายลดน้ อยลง

43
ภาระส่วนเกินกับการออกแบบภาษี : กรณีภาษีอตั ราก้ าวหน้ า



เพราะสูตรภาระภาษี สว่ นเกินมีอตั ราภาษี ที่ยกกาลังอยู่ ย่อม
หมายความว่าภาระส่วนเกินของภาษี หรื อ DWL จะเพิ่มตามอัตรา
ภาษี หากรัฐบาลมีความต้ องการใช้ จ่ายเพิ่มขึ ้นหรื อลดลง จึงไม่ควร
เพิ่มอัตราภาษี มากๆ เพียงคัรงเดี
้ ยว เพราะการปรับอัตราภาษีนามา
ซึง่ ปั ญหาภาระส่วนเกินเสมอ แต่รัฐบาลควรพิจารณาการปรับอัตรา
ภาษี ที่กระจายออกไปในช่วงเวลา เพื่อให้ สมดุลกับภาระการใช้ จ่าย
หรื อการลดรายจ่ายโดยเฉลี่ยตามช่วงเวลา
ตัวอย่างการเพิ่มรายจ่ายประชานิยมของรัฐบาล จะมีประสิทธิภาพ
มากกว่าหากกระจายการเพิม่ การใช้ จ่ายและเพิม่ อัตราภาษี ไปใน
อนาคตทีละเล็กทีละน้ อย แทนการเพิ่มการขาดดุลจานวนมากในครัง้
ดียว
วิธีการนี ้เรี ยกว่า “tax smoothing” ซึง่ มีความหมายเหมือน
การกระจายการบริ โภคของผู้บริ โภคไปในอนาคต
44
ภาระส่วนเกินกับการอุดหนุน

ภาระส่วนเกินไม่ได้ จากัดอยูเ่ ฉพาะกับการเก็บภาษี เท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงการที่
นโยบายหรื อมาตรการของรัฐบาลทาให้ เกิดพฤติกรรมประชาชนต้ อง
เปลี่ยนไป เช่น เงินอุดหนุนของรัฐบาลเพื่อซื ้อบ้ านหลังแรก
P
u
Ph
w
Sh
m
ภาระส่วนเกิน
v
(1-S)Ph
n
r
S’h
Q
45
ภาระภาษี กบั การตัดสินใจทางานนอกบ้ าน
Y
Y
VMPmkt
VMPhome
Hours
ทางานบ้ าน
Hours
ทางานนอกบ้ าน
46
ภาระภาษี กบั การตัดสินใจทางานนอกบ้ าน
W
W
a
W1
W1
VMPmkt
VMPh
Hours ทางานในบ้ าน
Hours ทางานนอกบ้ าน
47
ภาระภาษีกบั การตัดสินใจทางานนอกบ้ าน
เมื่อทางานนอกบ้ านถูกเก็บภาษี อตั รา t
W
W
ภาระส่วนเกิน
b
a
W2
W1
VMPmkt
(1-t)W2
c
VMPh
Hours ทางานในบ้ าน
H*
Ht
Hours ทางานนอกบ้ าน
48
ภาระภาษี สง่ ออกกับการตัดสินใจบริ โภคของคนไทย
P
P
Px
Pd
P’d
P’x
a
Dx
Dd
Q’d
การบริโภคในประเทศ
Qd
Q’x
Qx
การส่งออก
49