ภาระส่วนเกินภาษีเงินได้ 1/54

Download Report

Transcript ภาระส่วนเกินภาษีเงินได้ 1/54

บทที่ 4 (3)
ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)
กรณีภาษีจากรายได้ (Income Taxation)
1
ภาษีเงินได้ ที่เหมาะสม OPTIMAL INCOME TAXES

ภาษีเงินได้ ทเ่ี หมาะสม คือการเลือกอัตราภาษีตามระดับชันรายได้
้
(how progressive tax rate) ที่ทาให้ ได้ รับ social welfare
สูงสุด ภายใต้ ข้อจากัดที่วา่ รายได้ รัฐบาลสามารถจัดเก็บได้ ตามต้ องการ
choosing the tax rates across income groups to
maximize social welfare subject to a government
revenue requirement.
◦ ปั ญหาสาคัญในกรณีนี ้คือการวิเคราะห์ความเท่าเทียมแนวตัง้ เพราะเป็ นเรื่ อง
อะไรที่วดั ได้ ยาก
◦ รวมทังปั
้ ญหาการที่จะเกิด trade off equity กับ efficiency มากขึ ้น
2
ตัวอย่างการวิเคราะห์ Optimal income taxes

สมมุติให้ มีข้อกาหนดดังนี ้:
◦ ประชาชนทุกๆ คนมี utility เหมือนกันหมด
◦ โดยมี Diminishing marginal utility of income คือรายได้ เพิ่มขึ ้น ทาให้ MUI
ลดลง
◦ มีรายได้ ทงหมดคงที
ั้
่
◦ ทังนี
้ ้สมการอรรถประโยชน์เป็ นแบบ Utilitarian social welfare function

ภายใต้ ระบบการเก็บภาษี เงินได้ ที่เหมาะสมทาให้ ทกุ ๆ คนมีเงินได้ เท่ากันหลังการเก็บ
ภาษี
◦ หมายความว่า หากใครมีรายได้ เกินกว่าค่าเฉลี่ยจะถูกเก็บภาษีที่มี marginal tax rate
100%
◦ สุดท้ ายกาหนดให้ รายได้ รวม (labor supply) อยู่คงที่
3
ภาษี ที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน


โดยหลักแล้ วจะมีการ tradeoff ระหว่างความมีประสิทธิภาพและ
ความเท่าเทียมเสมอในการเก็บภาษี
การเพิ่มการจัดเก็บภาษี ยอ่ มทาให้ มีผลต่อฐานของภาษี ในแง่ที่ผ้ เู ป็ น
ฐานภาษี จะพยายามหลีกเลี่ยงภาระภาษี ทาให้ มีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม ตัวอย่างการเพิ่มภาษี กบั รายได้ ของแรงงานจะมีผลสอง
ประการ:
◦ รายได้ ภาษีที่จดั เก็บเพิ่มขึ ้น ณ ระดับรายได้ ของแรงงานที่กาหนด แต่
ขณะเดียวกัน
◦ เพราะภาษีที่เพิ่มขึ ้น แรงงานจึงลดการหารายได้ ทาให้ มีรายได้ ภาษีลดลง

ในช่วงที่มีอตั ราภาษี สงู อิทธิพลด้ านที่ สอง จะมีความสาคัญมากขึ ้น
เรื่ อยๆ ตามอัตราภาษี ที่เพิ่มขึ ้น
4
Edworth’s Model

ข้ อสมมุติสาหรับแบบจาลอง
◦ ภายใต้ เงื่อนไขขนาดรายได้ ที่กาหนด เป้าหมายคือผลรวมของ utilities
ของทุกๆ คน ในสังคมสูงที่สดุ
 i.e. W = U1 + U2 + U3 + ……+ Un
 โดย n คือจานวนคนในสังคมทังหมด
้
◦ กาหนดทุกๆคน มีutilities function ที่เหมือนกันทังหมด
้
ที่ขึ ้นกับ
รายได้ และมีความเป็ น diminishing marginal utility of
income นัน่ คือเมื่อรายได้ เพิ่มขึ ้นระดับความพอใจจะลดน้ อยลง
◦ ระดับรายได้ รวมของสังคมจะกาหนดให้ คงที่

ภายใต้ ข้อสมมุตินี ้จะพบว่า เมื่อต้ องการ maximize social
welfare เป็ นไปได้ เมื่อ marginal utilities of income
เหมือนกัน ซึง่ เป็ นไปได้ กรณีเดียวคือ เมื่อประชาชนมีระดับรายได้ ที่
เท่ากัน
5
Edworth’s Model
นัยยะต่อนโยบายการเก็บภาษีจงึ ชัดเจนว่าจพทาการเก็บภาษีได้
สวัสดิการสูงสุด เมื่อกาหนดให้ รายได้ หลังภาษีระหว่างบุคคล
after tax income เท่ากันให้ มากที่สดุ
 หมายความว่า ควรจัดการเก็บภาษี จากคนรวยก่อน เพราะมี
marginal utility ต่ากว่า เพื่อให้ สวัสดิการลดลงมาสูร่ ะดับ
ใกล้ เคียงกับคนจน
 หากรัฐบาลต้ องการายได้ เพิ่มขึ ้นจึงสามารถขยับการเก็บภาษี
ไปสูค่ นจนต่อไป และแม้ จะมีความสมดุลของสวัสดิการแล้ วหาก
เก็บภาษีเพิ่มก็ควรกระจายระหว่างทังสองกลุ
้
ม่ อย่างเท่าๆ กัน

6
การศึกษาใหม่ (Modern Studies)
ปั ญหาของ Edworth’s model คือการกาหนดให้ รายได้
คงที่ และการวัดความเท่าเทียม
 ด้ านการระบุให้ รายได้ คงที่ การเพิ่มอัตราภาษี จะไม่มีผลต่อระดับ
ผลผลิตที่ผลิต เพราะการเก็บภาษีจะบิดเบือนการตัดสินใจของ
แรงงานที่นาไปสูป่ ั ญหาภาระส่วนเกิน ซึง่ ในแบบจาลองของ
Edworth ไม่ได้ คิดถึงปั ญหาต้ นทุนที่เกิดจากการสร้ างความ
เท่าเทียมกันระหว่างบุคคลจากภาษีที่เก็บ
 ด้ านการวัดความเท่าเทียม คุณค่าของเวลาหรื อสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่
รายได้ ไม่สามารถแสดงได้ ในแบบจาลองของ Edworth

7
การศึกษาใหม่ (Modern Studies)

การประยุกต์นาแรงจูงใจการทางานประกอบการพิจารณา
Stern (1987) ที่กาหนดแนวทางการเก็บภาษีตามสมการ
◦ Revenue = -α + t * Income
รายได้ ภาษี
t = marginal tax rate
α=
lump sum
grant
รายได้ Income
8
การศึกษาใหม่ (Modern Studies)
โดยที่ ทัง้ α และ t มีคา่ เป็ นบวก
 หากสมมุติ α มีคา่ เท่ากับ 3,000 และ t = 0.25
 ดังนัน้ หากบุคคลมีรายได้ เท่ากับ 20,000 บาท
 จะมีภาระภาษี เท่ากับ -3000 + 0.25(20,000) = 2,000
 และหากรายได้ เป็ น 6,000 ภาระภาษี เหลือ = - 1,500 หรื อแทน
จะเสียภาษีกลับได้ รับเงินอุดหนุนช่วยเหลือแทน

9
การศึกษาใหม่ (Modern Studies)
จากรูปจะพบว่าเมื่อรายได้ = 0 ภาระภาษีจะติดลบ หรื อคือการให้
อุดหนุนของรัฐบาล = α
 ในกรณีนี ้พบว่า t มีสดั ส่วนคงที่ ซึง่ เรี ยกว่า flat income rate

รายได้ ภาษี
t = marginal tax rate
α=
lump sum
grant
รายได้ Income
10
ข้ อสังเกตุ
แม้ วา่ อัตราภาษี จะเป็ นแบบคงที่ แต่การจัดเก็บนันยั
้ งเป็ นแบบ
ก้ าวหน้ า เพราะคนที่มีรายได้ สงู จะต้ องเสียภาษี ในจานวนที่มากกว่าผู้
ที่มีรายได้ น้อย
 ความเป็ นภาษี แบบก้ าวหน้ านี ้ จะมีความก้ าวหน้ าเท่าใดนัน้ ขึ ้นกับ
อัตราของ t และ α
 โดยหาก t มีคา่ มากขึ ้นยิ่งมีความก้ าวหน้ ามากเท่านัน้ แต่มีภาระ
ส่วนเกินมากขึ ้นตามไปด้ วย
 ขณะที่ถ้าค่า α มากเท่าใด ยิ่งจะลดความก้ าวหน้ า แต่มีภาระ
ส่วนเกินน้ อยลง
 ดังนันความเหมาะสมของภาษี
้
จงึ เป็ นหาความพอดีระหว่าง t และ α
ที่ทาให้ สวัสดิการสังคมสูงสุด ณ ระดับรายได้ ภาษี ที่รัฐบาลจัดเก็บ

11
ภาษี ที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน
เส้ น Laffer curve เป็ นเส้นทีแ่ สดงความสัมพันธ์ ดงั กล่าว และ
ถูกใช้ เป็ นเครื่ องมือการจัดการด้ าน supply side ในบาง
ช่วงเวลา
 เส้ น Laffer Curve แสดงให้ เห็นว่ารัฐบาลไม่สามารถเพิ่ม
อัตราภาษีได้ ตลอดเวลา เพราะการเพิ่มอัตราภาษีสงู เกินไป ทา
ให้ ฐานภาษีจะหลบเลี่ยงการเสีย และรายได้ ภาษีอาจไม่ได้ เพิ่ม
ตามที่คาดการณ์

12
Figure 7
เส้น Laffer curve ณ จุดสูงสุด
การเพิม
่ อัตราไมท
่ าให้รายได้
ภาษีเพิม
่ ขึน
้
รายได้ ภาษี
ด้ านที่ควรจะเป็ น
0
ไม่ควรเป็ น
τ*%
100% อัตราภาษี
13
ภาษี ที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน
เป้าหมายของภาษี ที่เหมาะสมคือการวิเคราะห์ที่สามารถแสดงโครงสร้ าง
ภาษี ที่ทาให้ สวัสดิการสังคมสูงสุด พร้ อมกับรายได้ ภาษี สงู ที่สดุ ด้ วย
 ซึง่ เงื่อนไขที่สามารถทาให้ ได้ เป้าหมายการเก็บภาษี ดงั กล่าวสามารถแสดง
เงื่อนไขการเก็บภาษี ได้ คือ:

MU i
 
M Ri

โดย MUi คือ the marginal utility ของบุคคลทัว่ ไปที่ i และ
MR คือ marginal revenue จากบุคคลตางๆ
่
14
ตัวอย่างภาษี เงินได้ ที่ เหมาะสม

ความหมายของความเหมาะสมของภาษีเงินได้ คือการที่ต้องมี
การคานึงถึงผลลัพธ์การจัดเก็บภาษีในเรื่ องต่อไปนี ้:
◦ ความเท่าเทียมในแนวตัง้ Vertical equity
◦ การตอบสนองของพฤติกรรมของบุคคล Behavior responses

จากความเหมาะสมของภาษีดงั กล่าว แสดงให้ เห็นถึงความ
เท่ากันของสัดส่วน M U   สาหรับทุกๆ คนในสังคม
i
M Ri

ซึง่ นาไปสูอ่ ตั ราภาษีที่สงู สาหรับคนรวย และอัตราภ๊ าที่ต่าสาหรับ
คนจน
15
MU/MR
คนจน
ความเหมาะสมของภาษีเงินได้
ทาให้สั ดส่วน MU/MR เทากั
่ น
ทุกๆ คน
คนรวย
 MU 
 MU 
λ




MR
MR

 poor 
 rich
10%
20%
อัตราภาษี
16
ต้ นทุนของการจัดเก็บภาษี
การวิเคราะห์ความเหมาะสมของภาษีที่ผา่ นมาสมมุติวา่ การเก็บ
ภาษีไม่มีต้นทุนใดๆ ซึง่ ไม่เป็ นความจริง
 การเก็บภาษี เหมือนการให้ บริ การอื่นๆ ที่จาเป็ นต้ องมีทรัพยากร
หรื อต้ นทุนในการบริหารจัดการ โดยต้ นทุนนันประกอบทั
้
งสอง
้
ฝ่ ายคือ

◦ ต้ นทุนของเจ้ าหน้ าที่จดั เก็บ และ
◦ ต้ นทุนของผู้เสียภาษี
 ต้ นทุนการทาบัญชีเพื่อเสียภาษี
 ต้ นทุนอื่นๆ เช่น เวลาที่ใช้ ในการเสียภาษี
17
ต้ นทุนการเสียภาษี

ทางเลือกในการออกแบบภาษีหรื อเงินอุดหนุนของรัฐบาลจึงต้ อง
พิจารณาต้ นทุนในการบริหาร และการร่วมเสียภาษี
(Compliance) ของผู้เสียภาษี เพราะมีความเป็ นไปได้ ที่
แม้ ภาษีมีความเหมาะสมในการออกแบบ (ประสิทธิภาพและ
ความเท่าเทียม) แล้ วก็ตาม แต่หากมีต้นทุนในการดาเนินการสูง
ก็อาจไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้
18
การหนีภาษี (Tax Evasion)
ข้ อแตกต่างระหว่างการหลบเลี่ยงภาษี (Tax Avoidance)
กับ การหนีภาษี (Tax Evasion)
 การหลบเลี่ยงภาษี คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ
บุคคลเพื่อทาให้ เสียภาษีน้อยลง (โดยไม่ผิดกฎหมาย)
ตัวอย่างเช่น ในประเทศไทยกรณีการกาหนดขนาดบ้ านจัดสรรที่
เล็กกว่า 50 ตารางวา เพื่อเลี่ยงไม่เสียภาษีโรงเรื อนและที่ดิน
หรื อการกาหนดเครื่ องมือตามระดับแอลกอฮอร์ ที่ต่ากว่า 12
degree เพื่อเสียภาษีสรรพสามิตน้ อยลง

19
การหนีภาษี (Tax Evasion)
การหนีภาษี คือ การไม่จ่ายภาษีด้วยวิธีการที่ผิดกฎหมาย เช่น
การไม่รายงานรายได้ ที่ต้องเสียภาษี การไม่แจ้ งการซื ้อหรื อขาย
สินค้ าหรื อบริการที่เกิดขึ ้นจริง
 ปั ญหาสาคัญของการหนีภาษี คือ

◦ การตรวจสอบทาได้ ยากลาบาก
◦ ต้ นทุนการตรวจสอบสูง
◦ ความไม่ชดั เจนของข้ อกฎหมาย ระเบียบต่างๆ
20
การวิเคราะห์การหนีภาษี (Positive Analysis Tax Evasion)
การหนีภาษีของประชาชนต้ องมีแรงจูงใจคือผลตอบแทนจากการ
หนีภาษีได้ สาเร็จ แต่จะมีความเสี่ยงหากถูกจับได้ จะถูกลงโทษ
 ดังนันผู
้ ้ ที่จะหนีภาษีจงึ จะเปรี ยบเทียบต้ นทุนการหนีภาษีหาถูก
จับได้ กับผลประโยชน์ที่ได้ จากการหนีภาษี
 ตัวอย่าง ถ้ าสมมุติอตั ราภาษี รายได้ (marginal income
tax rate: t) เท่ากับร้ อยละ 0.3 ของทุกๆ บาท ทาให้ การหนี
ภาษีจะให้ ผลตอบแทนหรื อประโยชน์เท่ากับร้ อยละ 0.3 ของทุกๆ
บาทที่หนีภาษีได้ เพราะทาให้ ภาระภาษีลดลงเท่าจานวนเงินที่ไม่
ต้ องจ่ายภาษี

21
การวิเคราะห์การหนีภาษี (Positive Analysis Tax Evasion)
ตรงกันข้ าม ด้ านเจ้ าหน้ าที่จดั เก็บภาษีไม่ร้ ูขนาดรายได้ แท้ จริง
ของประชาชน จึงใช้ วิธีการสุม่ ตรวจ ทาให้ มีโอกาสที่จะตรวจสอบ
พบการหนีภาษี
 ดังนันประชาชนจะมี
้
โอกาสความน่าจะเป็ นที่อาจถูกจับได้ เท่ากับ
§
 เมื่อถูกจับได้ จงึ ถูกลงโทษ โดยการเสียค่าปรับเพิ่มตามขนาดการ
หนีภาษี R
 ประชาชนจะเปรี ยบเทียบต้ นทุนและผลประโยชน์ที่ได้ รับจากการ
หนีภาษีตามรูปถัดไป

22
การวิเคราะห์การหนีภาษี (Positive Analysis Tax Evasion)
หากประชาชนรู้ขนาด ต้ นทุนการหนีภาษี คือความน่าจะเป็ นของ
การถูกจับได้ § และขนาดการถูกลงโทษปรับจากการหนีภาษี
รวมทังขนาดผลประโยชน์
้
ในรูปของเงินได้ ที่ไม่ต้องเสียภาษีที่เพิ่ม
ตามขนาดรายได้ ที่มีการหนีภาษี
 ทาให้ สามารถคิดคานวณความคุ้มค่าของการหนีภาษี คือ MB
= t ว่าสมควรทาหรื อไม่
 หากทาให้ ต้นทุนการหนีภาษี สงู ขึ ้น โดยเพิ่ม § หรื อความน่าจะ
เป็ นในการตรวจสอบ และต้ นทุนในการลงโทษ เมื่อถูกจับได้ ทา
ให้ MC จากการหนีภาษีสงู ขึ ้น

23
การวิเคราะห์การหนีภาษี (Positive Analysis Tax Evasion)
บาท
MC = § x marginal penalty
โดย § คือความเป็ นไปได้ ของการถูกจับได้
MB = t
R*
รายได้ ที่ไม่รายงาน
24
การวิเคราะห์การหนีภาษี (Positive Analysis Tax Evasion)
บาท
MC = § x marginal penalty
MB = t
รายได้ ที่ไม่รายงาน
กรณีนี ้จะไม่มีแรงจูงใจให้ หนีภาษี เพราะความน่าจะเป็ นในการตรวจจับเพิ่มขึ ้น พร้ อมกับ
การลงโทษส่วนเพิ่มถูกกาหนดไว้ สงู เช่นเดียวกัน ด้ วยความเชื่อว่าหากต้ นทุนการหนีภาษีเพิ่ม
และผลประโยชน์จากการหนีภาษีลดลง ทาให้ แนวโน้ มการหนีภาษีจะลดลง
25
การวิเคราะห์การหนีภาษี (Positive Analysis Tax Evasion)

การวิเคราะห์นามาสูข่ ้ อเสนอการออกแบบภาษี ที่เหมาะสมคือ
◦ เพิ่มต้ นทุนการหนีภาษี ขณะเดียวกัน
◦ ลดผลประโยชน์จากการหนีภาษี ทาให้ การออกแบบภาษีมงุ่ ลดอัตราภาษี ให้
น้ อยลง เพื่อทาให้ ผ้ เู สียภาษีร้ ูสกึ ถึงความไม่ค้ มุ ค่าดังกล่าว

แต่การวิเคราะห์ที่เสนอขาดการคานึงถึงประเด็น
◦ ความรู้สกึ (Psychic) ของการหนีภาษีของประชาชนที่เป็ นต้ นทุนอย่างหนึง่
ด้ วย เพราะเชื่อว่าผู้เสียภาษีไม่ใช่คนร้ าย
◦ พฤติกรรมหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Aversion) ทาให้ ไม่อยากเสี่ยงหนี
ภาษี
◦ การเลือกการทางาน (work Choices) เนื่องจากแบบจาลองกาหนดการ
รายงานเงินได้ จากการทางานเท่านัน้ แต่กี่เก็บภาษีจริ งๆ แล้ วมีผลต่อการ
ตัดสินใจทางานและทางเลือกของงานทีท่ า เช่นหากอัตราภาษีเงินได้ สงู
ประชาชนอาจหนีโดยไปทางานทีม่ ีโอกาสหนีภาษีง่าย เช่นงานใต้ ดิน
(underground economy) ที่ไม่ผิดกฎหมาย อาทิงานรับจ้ างต่างๆ ที่
ไม่มีการแสดงรายได้ ที่ชดั เจน
26
การวิเคราะห์เชิง Normative of Tax Evasion

เราความสนใจสาเหตุการหนีภาษีที่ทาให้ เกิด underground economy
หรื อไม่ ซึง่ เป็ นการทาให้ ภาระส่วนเกินสังคมลดลงจากการเก็บภาษี

เพราะการมีเศรษฐกิจใต้ ดินทาให้ social welfare สูงขึ ้น
ตัวอย่างแรงงานที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจใต้ ดินมี ความยืดหยุ่นต่อภาษีสงู กว่าแรงงาน
ทัว่ ไปหรื อไม่
หากเป้าหมายการแก้ ไขปั ญหาการหนีภาษี คือเพื่อลดการหนีภาษีด้วยต้ นทุนที่ต่าที่สดุ
จากการวิเคราะห์การหนีภาษีจึงสมควรที่จะเพิ่มต้ นทุน รวมทังความน่
้
าจะเป็ นในการ
ตรวจจับและลดผลประโยชน์ของการหนีภาษี ซึง่ ทังหมดต้
้
องใช้ ทรัพยากรมากในการ
จัดการ
ทาให้ อาจจับได้ เพียงบางรายเท่านัน้ ทาให้ การตรวจจับการหนีภาษีไม่อาจคิดเพียงการ
ลดการหนีภาษีแต่ต้องคานึงต้ นทุนที่ใช้ ด้วยว่าคุ้มค่ากันหรื อไม่



27