ความเหมาะสมของภาษี 1/54

Download Report

Transcript ความเหมาะสมของภาษี 1/54

บทที่ 4 (2)
ความเหมาะสมของภาษี (Optimal Taxation)
1
ความหมายของความเหมาะสมของภาษี

คุณสมบัติของการเก็บภาษี ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) กับ
ความเท่าเทียม (Equity) ที่ต้องคานึงอยูเ่ สมอในการเก็บภาษี
◦ ความเสมอภาคในแนวนอน (Horizontal Equity)
◦ ความเสมอภาคในแนวดิ่ง (Vertical Equity)


เนื่องจากการจัดเก็บภาษี ทกุ ๆ ครัง้ ก่อให้ เกิดการบิดเบือนของการ
จัดสรรทรัพยากร ยกเว้ นภาษี ที่ไม่ทาให้ ราคาเปรี ยบเทียบ
เปลี่ยนแปลง (ภาษี แบบเหมาจ่าย) และมีผลต่อความเป็ นธรรม
ระหว่างผู้เสียภาษี
ทาให้ การออกแบบภาษี ต้องคานึงว่าจะทาอย่างไรจึงจะทาให้ การ
จัดเก็บภาษี ที่ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาให้ น้อยที่สดุ ที่นาไปสู่
การหลบเลี่ยงภาษี น้อยที่สดุ
2
ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสินค้ า
(Optimal Community Taxation)
เป็ นตัวอย่างที่ดีแสดงการเก็บภาษีที่เหมาะสม เพราะมีปัจจัย
ประกอบทังราคาสิ
้
นค้ า และการจัดสรรทรัพยากรสาคัญ คือเวลา
ที่ใช้ ในการทางานหารายได้
 หลักการพิจารณาคือ จะเก็บภาษี อย่างไร อัตราที่เหมาะสม
สินค้ าใดควรถูกจัดเก็บภาษีอย่างไร ภายใต้ ข้อสมมุติการหา
รายได้ จากภาษีของรัฐบาลต้ องมีภาระภาษีสว่ นเกิน
(Deadweight loss) ที่ต่าที่สดุ โดยไม่ใช่การเก็บแบบ
เหมาจ่าย

3
ความเหมาะสมของภาษีเก็บจากสินค้ า
(Optimal Community Taxation)

Optimal commodity taxation คือการเลือก
อัตราภาษีระหว่างสินค้ าต่างๆ ที่เหมาะสมที่ทาให้ เกิดภาระ
ส่วนเกินน้ อยที่สดุ แล้ วทาให้ รัฐบาลสามารถได้ รับรายได้ ตามที่
กาหนด
4
ตัวอย่างการศึกษา

สมมุติมีผ้ บู ริโภคคนหนึง่ ที่สามารถเลือกการบริโภคสินค้ า 2
ชนิดคือ x และ y และเลือกเวลากากรพักผ่อน (การทางาน) L
โดยมีเงื่อนไขดังนี ้
w (T *  L )  x  Px  y  Py
โดย w = อัตราค่าจ้ าง

T* = time endowment (24 ชัว่ โมง)

Px = ราคาสินค้ า x

Py = ราคาสินค้ า y

5
ตัวอย่าง
จัดเทอมใหม่ได้ คือ
wT *  x  Px  y  Py  wL
สมมุติมีการจัดเก็บภาษีสินค้ าทังสองและการพั
้
กผ่อนเพิ่มขึ ้นโดยรัฐบาลทาให้ เป็ น
wT *  x (1  t ) Px  y (1  t ) Py  w (1  t ) L
6
ตัวอย่างการเก็บภาษีที่เหมาะสม

หารตลอดด้ วย (1+t) จะได้
[


1
(1  t )
] wT *  xPx  yP y  wL
ซึง่ เมื่อเปรี ยบเทียบก่อนและหลังการเก็บภาษี พบว่าการเก็บภาษีอตั รา t
เหมือนเป็ นการเก็บภาษี แบบเหมาจ่าย เพราะเป็ นการทาให้ มูลค่า time
endowment ลดลงในสัดส่วนของอัตราภาษี ที่จดั เก็บ
แต่ความจริ งคือจะเก็บภาษี จากการพักผ่อนอย่างไร ที่เทียบเท่ากับสินค้ าที่
เป็ นรูปธรรมชัดเจนได้ ดังนันการเก็
้
บภาษี ที่ขาดการเก็บจากการพักผ่อนจึง
ทาให้ เกิดการบิดเลือนอย่างแน่นอน
7
ตัวอย่างการเก็บภาษีที่เหมาะสม

ดังนันการเก็
้
บภาษีจากสินค้ าทุกประเภทที่ปรารถนาให้ มีความ
เป็ นกลาง (neutral tax) ในอัตราเดียวกัน ที่ไม่รวมการ
พักผ่อนจึงไม่อาจทาได้ โดยไม่ก่อให้ เกิดความไม่มีประสิทธิภาพ
8
Ramsey Rule’s

เป็ นความพยายามเก็บภาษีที่ทาให้ มีภาระส่วนเกินน้ อยที่สดุ
ขณะที่รัฐบาลยังสามารถได้ รายได้ ภาษีตามต้ องการจานวนหนึง่
9
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสนิ ค้ าที่เหมาะสม Optimal
commodity taxation and Ramsey rule

กฎของ Ramsey คือ:
M D W Li
M Ri

    

D
คือกาหนดอัตราภาษีระหว่างสินค้ าต่างๆ ที่ทาให้ สัดส่วนระหว่าง
ส่วนเพิ่มของภาระส่วนเกิน (marginal deadweight loss)
กับ รายได้ สว่ นเพิ่มที่เก็บได้ เพิ่ม (marginal revenue
raised) เท่ากันในทุกๆ สินค้ า
10
ราคา
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม
สมมุติมีสินค้ า 2 ชนิดที่ไม่ทดแทนหรื อใช้ ร่วมกัน ทาให้
การเก็บภาษีกบั สินค้ าหนึง่ ที่มีผลกระทบต่อราคา
ของสินค้ าย่อมไม่กระทบอีกสินค้ าหนึง่ โดยสมมุติวา่
Supply ขนานกับแกนนอน
P0+ux
โดยเริ่ มต้ นบริ โภคสินค้ าที่ x0 แต่หลังมีภาษี ราคา
เพิ่มเป็ น P0 + ux ทาให้ การบริ โภคลดเหลือเพียง x1
ทาให้ ภาระส่วนเกินเท่ากับพื ้นที่ abc
b
c
P0
a
X
Dx
∆X
x0
ปริ มาณสินค้ า
1
11
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม
ราคา
ต่อมามีการเก็บภาษีเพิ่มอีกหนึง่ หน่วย เป็ น P0+ux+1
ภาระส่วนเกินเพิ่มเป็ น fec โดยจะหาภาระส่วนเกินส่วนเพิ่มจาก
พื ้นที่ fec – abc เท่ากับขนาดของ marginal
Deadweight loss ที่เท่ากับ พื ้นที่ feab ที่มีค่าเท่ากับ
P0+ux +1
g
½ ∆ x[ux +(ux + 1)] โดย ∆x
คือหน่วยสุดท้ ายของภาระภาษีในรูปสินค้ า x
b
ที่ลดน้ อยลง
f
i
P0+ux
j
e
P0
c
a
∆x
X
X
2
1
Dx
x0
ปริ มาณสินค้ า
12
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม
ขณะนี ้เราสามารถหาค่าภาระส่วนเกินของภาษีได้ แล้ ว สิง่ ที่เหลือคือการหา
ค่ารายได้ ภาษีสว่ นเพิ่ม โดยจากรูปค่ารายได้ ภาษีสว่ นเพิ่มอีกหนึง่ หน่วยคือ
การเก็บเพิ่มจาก ux เป็ น ux+1
 จากรู ปคือพื ้นที่สี่เหลี่ยม ghif แต่การขึ ้นภาษี ยงั มีสว่ นรายได้ ภาษี ที่หายไป
อีกจากภาระส่วนเกิน คือพื ้นที่ ibea
 ผลต่างของรายได้ รายได้ ภาษี สท
ุ ธิจงึ เป็ น พื ้นที่ ghif – ibea โดยสามารถ
เขียนเป็ นสูตรคณิตศาสตร์ ได้ คือ

x2(ux+1) – x1ux
 Marginal excess burden จึงเป็ น 1/2∆x[ux + (ux +1)]ซึง่
มีคา่ เท่ากับ ∆X

13

เพราะว่า 1/2∆x[ux + (ux +1)]
หรื อ ∆xux + ½∆x
สามารถประมาณได้ เท่ากับ ∆xux เนื่องจากค่าเทอมที่สอง มี
ขนาดเล็กจนอาจกาหนดให้ เท่ากับศูนย์
 และค่า 1/∆x เท่ากับ ux/∆X เพราะต่างเท่ากับ slope ของ
เส้ น demand ดังนัน้

∆xux = ∆X
 ซึง่ คือค่า excess burden ของภาษี ที่เพิ่มขึ ้น 1 หน่วยนัน
่ เอง
 ขันตอนถั
้
ดไปคือการหาค่ารายได้ ภาษีที่เพิ่มขึ ้น เพื่อหาสัดส่วน
รายได้ ภาษีที่เพิ่มจากการเพิ่มอัตราภาษี (ux)

14
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม
ราคา
P0+ux +1
g
จากรูปในที่นี ้การหารายได้ ที่เพิ่มจากการเพิ่มแตราภาษี ดงั กล่าวคือ
รายได้ ภาษี = uxX1 (อัตราภาษี คณ
ู กับหน่วยสินค้ าที่ขาย) และ
ขนาดรายได้ ภาษี เท่ากับ hbaj ณ อัตราภาษี คือ ux และเมื่อเพิ่ม
เป็ น ux + 1 ขนาดภาษี เท่ากับ gfih โดยมีเสียภาษี ไป
ibae หรื อเท่ากับ X2 - (X1 – X2)ux
f
b
i
P0+ux
j
e
P0
c
∆x
X2
a
X1
Dx
x0
ปริ มาณสินค้ า
15
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม

เพราะ marginal tax revenue เท่ากับ
X2 (ux +1) – X1ux = X2 + ux(X2 – X1)
 เพราะจากรู ป X2 = X1 - ∆x
 แทนค่าได้ X1 = ∆x -ux ∆x
 แต่เพราะว่า ∆x = ∆X/ux
 ดังนัน้
X1 - ∆X(1 + ux)/ux
 แต่ ux > 1 เสมอ ทาให้ ประมาณได้ เท่ากับ X1 - ∆X
เท่ากับ marginal tax revenue
 marginal excess burden/ เงินรายได้ ภาษี ที่เพิ่มขึ ้น
คือ ∆X/X1 - ∆X

16
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม
สาหรับสินค้ า Y จะได้ เหมือนกันคือ ∆Y/Y1 - ∆Y
 ภายใต้ เงื่อนไขของภาระส่วนเกินน้ อยที่สดุ

∆X/X1 - ∆X = ∆Y/Y1 - ∆Y
จัดเทอมใหม่ได้
 ∆X/X1 = ∆Y/Y1
 ความหมายของสมการนี้คือ percentage change
นั่นเอง ดังนั่น การทีต่ ้ องการภาระส่ วนเกินรวมของภาษี
น้ อยทีส่ ุด ต้ องจัดเก็บอัตราภาษีทท่ี าให้ percentage
change ของการลดลงของปริมาณสินค้ าต่ างๆ เท่ ากัน


17
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสินค้ าที่เหมาะสม

การแปลความหมายตามกฎของแรมซี่ย์ เพราะการเปลี่ยนแปลง
ของอุปสงค์สามารถแสดงความสัมพันธ์กบั ค่าความยืดหยุ่นได้
18
กฎแรมซี่ย์ กับภาษีสนิ ค้ าที่เหมาะสม Optimal
commodity taxation and Ramsey rule
 เป้าหมายของ Ramsey Rule คือต้ องการ minimize
ภาระส่วนเกินจากภาษี ให้ มากที่สดุ ขณะที่สามารถเก็บรายได้
ภาษีได้ ตามจานวนที่กาหนด
 มูลค่ารายได้ ที่เพิ่มของรัฐบาล คือมูลค่าของเงินที่อยูใ่ นมือของ
รัฐบาลแทนที่จะอยูใ่ นภาคเอกชน
19
ภาษีสนิ ค้ าที่เหมาะสม กับกฎส่วนกลับของความยีดหยุ่น
Inverse elasticity rule
กฎ ส่วนกลับของความยืดหยุน่ เป็ นการแสดงผลของ กฎของ
Ramsey อย่างง่ายๆ เพื่อให้ สามารถเข้ าใจถึงนโยบายภาษี
กับความยืดหยุน่ ของอุปสงค์
 กล่าวคือรัฐบาลควรเก็บภาษี กบ
ั สินค้ าแต่ละชนิด โดยมีกฎ
พื ้นฐานว่าภาษีที่เก็บจากสินค้ าแต่ละชนิดนันความเป็
้
นส่วนกลับ
กับค่าความยืดหยุน่ ของอุปสงค์ของสินค้ านันๆ
้ นัน่ คือ

◦ หากสินค้ ามีคา่ ความยืดหยุน่ ยิ่งต่าเท่าไร อัตราภาษี ควรสูงมากขึ ้น
เท่านัน้
20
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกบั ความยืดหยุ่น
การพิสจู น์ สมมุติมีสนิ ค้ า 2 ชนิด x และ y ที่ไม่มีความสัมพันธ์ซงึ่ กัน
และกัน โดยมีราคาสินค้ าคือ Px และ Py
 ค่าความยืดหยุน
่ ของสินค้ า x คือ ηx และ ของสินค้ า y คือ ηy
 การเก็บภาษี กบ
ั สินค้ า x คือ tx และสินค้ า y คือ ty
 ดังนันตามกฎของ
้
Ramsey แล้ วภาระส่วนเกินภาษีรวมคือ

W 
1
2

  x ( Px )( x )  ( t x )
2

1
2
  y ( Py )( y )  ( t y )
2
ภายใต้ เงื่อนไขของการเก็บรายได้ ภาษีเท่ากับ
R  Px  ( x )  t x  Py  ( y )  t y
21
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกบั ความยืดหยุน่

ดังนันภายใต้
้
เงื่อนไขของการเก็บภาษีที่มีภาระส่วนเกินน้ อยที่สดุ ทาให้
ได้ สมการ objective คือ
Min
1
2

  x ( Px )( x )  ( t x )
2

1
2
  y ( Py )( y )  ( t y )
2
โดย subject to
R  Px  ( x )  t x  Py  ( y )  t y
22
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกบั ความยืดหยุน่


ตังสมการ
้
Lagrangian equation ได้ คือ
1
2

  x ( Px )( x )  ( t x ) 
2
2
  y ( Py )( y )  ( t y )   [ R  Px  ( x )  t x  Py  ( y )  t y ]
2
Set หาค่า multiplier ได้

t x

1
และ
 2[

t y
1
2
  x ( Px )( x )  ( t x )]   Px  ( x )  0
 2[
1
2
  y ( Py )( y )  ( t y )]   Py  ( y )  0
23
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกบั ความยืดหยุน่

จาก

ได้

และจาก  ( P )( y )( t )   P ( y )
y
y
y
y

ได้
 x ( Px )( x )( t x )   Px ( x )
 x (t x )  
 y (t y )  

24
กฎส่วนกลับของอัตราภาษีกบั ความยืดหยุน่

ดังนัน้
 x ( tx )   y ( t y )

ท้ ายที่สดุ จะได้ วา่
x
y


ty
tx
ซึง่ คือกฎ inverse elasticity rule นัน่ เอง
25
การประยุกต์เรื่ องความเท่าเทียมภายใต้ กฎ Ramsey

จาเป็ นต้ องมีความสมดุลของปั จจัยสองอย่าง เพื่อจัดเก็บภาษีกบั
สินค้ าที่เหมาะสม:
◦ กฎความยืดหยุ่น The elasticity rule: คือเก็บภาษี กบั สินค้ าที่มีคา่
ความยืดหยุน่ ต่า
◦ กฎ ฐานภาษี ทวั่ ไป The broad base rule: อาจเหมาะสมกว่าหาก
เก็บภาษี กบั สินค้ าทุกๆ ชนิดด้ วยอัตราภาษี ที่ต่า เพราะภาระส่วนเกิน
ของภาษี จะเพิ่มตามอัตราภาษี (พิจารณาจากสูตรภาระส่วนเกิน)

ดังนันรั
้ ฐบาลจึงควรพิจารณาเก็บภาษีกบั สินค้ าทุกๆ ชนิดที่
สามารถทาได้ โดยมีอตั ราที่แตกต่างกัน
26
ตัวอย่ างการประยุกต์ การจัดเก็บภาษีสินค้ า
หากรัฐบาลมีการอุดหนุนราคาสินค้ าสองชนิด ข้ าวโพด กับข้ าว
ขณะเดียวกันเก็บภาษีจากน ้ามันพืช
 โดยเงื่อนไขตัวอย่างนี ้แสดงในตารางถัดไป

27
ตารางที่ 2
อุปสงค์ ของสิ นค้ าต่ างๆ
ภายใตค
ดหยุนที
้ าความยื
่
่ ่
ปรากฏตองมี
การเปลีย
่ น
้
นโยบายตอสิ
่ นคาต
้ างๆ
่
สิ นค้ า
Price
การ
อุดหนุน Elasticity
ข้ าวโพด
40%
-0.64
ข้ าว
40%
-5%
-2.08
-2.33
นา้ มันพืช
การปรับ Welfare
นโยบาย Gain
ข้ อกังวล
ลดการ
อุดหนุน
น้ อย อย่ าลดการอุดหนุน
ลดการ
อุดหนุน
มาก ลดการอุดหนุน
ลดภาษี
มาก ลดภาษีมากขึน้
28
ตัวอย่ างการประยุกต์ การจัดเก็บภาษีสินค้ า
จากตารางพบว่าการอุดหนุนทาให้ เกิดการบิดเบือนการบริโภค ในสินค้ า
ข้ าวโพด และข้ าวสูง เพราะมีความยืดหยุน่ สูง เมื่อมีการอุดหนุนจาก
รัฐบาลทาราคาต่ากว่าควร ประชาชนจึงหันมาบริโภคข้ าวโพด และข้ าว
มาก ก่อให้ มีความไม่มีประสิทธิภาพสูง
 ขณะเดียวกันการก็บภาษี จากน ้ามันพืชก็ทาให้ มีภาระส่วนเกินอยูแ่ ล้ ว
 หากใช้ กฎของ Ramsey’s ข้ อเสนอในการปรับปรุ งราคาที่กาหนดจึง
มีข้อเสนอว่า การปฏิรูปภาษีควรเพิ่มประสิทธิภาพและเป็ นกลางในการ
จัดเก็บรายได้ : นัน่ คือการลดภาษีกบั น ้ามันพืช และลดการสูญเสีย
รายได้ จากการนาไปอุดหนุนสินค้ าอื่นๆ ในที่นี ้คือข้ าวโพด และที่สาคัญ
คือ สินค้ าข้ าว ต้ องลดลง

29
ตัวอย่ างการประยุกต์ การจัดเก็บภาษีสินค้ า
ปั ญหาการกระจายรายได้ ที่อาจเกี่ยวข้ องกับการปฏิรูปภาษี
 โดยสินค้ า น ้ามันพืช และข้ าวโพดอาจเป็ นสินค้ าที่บริ โภคโดยผู้มี
รายได้ น้อยเป็ นสาคัญ แต่ข้าวอาจบริโภคโดยประชาชนทัว่ ไปทุก
ระดับชันรายได้
้
หากเป็ นกรณีดงั กล่าว การลดอุดหนุนข้ าวโพด
อาจทาได้ ยากลาบาก และอาจไม่ควรจะต้ องลดการอุดหนุน
เพียงเพื่อลดปั ญหาความไม่มีประสิทธิภาพเท่านัน้ (แต่ต้องคานึง
ประเด็นความเท่าเทียมประกอบด้ วย)

30
การประยุกต์ การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่เหมาะสม

เราสามารถประยุกต์การเก็บภาษีที่เหมาะสมกับการคิดอัตรา
ค่าธรรมเนียมบริการของรัฐบาลจากประชาชนได้ โดยลักษระการ
ให้ บริการของรัฐบาลมักเป็ นรูปแบบผูกขาดตามธรรมชาติ (natural
monopolist) เช่นไฟฟ้า น ้าประปา ฯลฯ เพราะเป็ นการลงทุนที่มี
sunk cost สูง แต่อตั ราต้ นทุนส่วนเพิ่มต่า (marginal cost)
ซึง่ หากให้ เอกชนดาเนินการอาจทาไม่ได้ เนื่องจากใช้ ทนุ เริ่ มต้ นจานวน
มาก แต่หากทาได้ จะมีกาไรส่วนเกินสูง
31
การประยุกต์ การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่
เหมาะสม
ราคา
สังเกตุได้ จากรูปว่าเป็ นการผูกขาดเพราะ MC > AC เสมอ ดังนัน้
ยิ่งมีการขนาดการให้ บริ การ จะยิ่งได้ รับผลตอบแทนมากขึ ้น
ACz
MRz
MCz
Dz
ปริ มาณ
32
การประยุกต์ การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่
เหมาะสม
ราคา
การคิดราคาตามประสิทธิภาพสูงสุด MC = MR
ได้ กาไรส่วนเกิน เท่ากับ พื ้นที่สีเขียว
Pm
ACm
ACz
MRz
Zm
MCz
Dz
ปริ มาณ
33
การประยุกต์ การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่
เหมาะสม
ราคา
หากคิดราคาตามต้ นทุนเฉลี่ยคือที่ P = AC จะไม่มีกาไรส่วนเกิน
และไม่ขาดทุน ทาได้ เพียงคุ้มทุนเท่านัน้
Pa
ACz
MCz
MRz
Dz
Za
ปริ มาณ
34
การประยุกต์ การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่
เหมาะสม
ราคา
หากคิดราคาตามต้ นทุนส่วนเพิ่ม คือที่ MC = P ทาให้ สามารถ
ให้ บริ การได้ มากที่สดุ แก่ประชาชน แต่จะประสบกับการขาดทุนอยู่ดี
ACz
P*
MCz
MRz
Dz
Z*
ปริ มาณ
35
การประยุกต์ การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่เหมาะสม

ด้ วยวิธีการตังราคาบริ
้
การสาธารณะทัง้ 3 รูปแบบจึงพบว่ารัฐบาลต้ อง
กากับการกาหนดราคาและปริมาณให้ บริการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อ
◦ ไม่ให้ มีกาไรส่วนเกินมากเกินไป
◦ หากยอมให้ การขาดทุนเกิดขึ ้นต้ องได้ รับการชดเชย
กรณีที่มีกาไรส่วนเกินสูง แต่ปริมาณให้ บริการไม่มีประสิทธิภาพรัฐบาล
จึงต้ องดาเนินการเอง เช่น ไฟฟ้า น ้าประปา ฯลฯ
 กรณีที่ยอมคิดราคาต่ากว่าต้ นทุน ปั ญหาคือการเก็บภาษี แบบเหมาจ่าย
ที่ไม่ทาให้ ราคาถูกบิดเบือน เป็ นเรื่ องยากในทางปฏิบตั ิ และจะจัดเก็บ
ภาษีจากใคร หากคานึงความเสมอภาคแท้ จริงแล้ ว อาจต้ องนาหลัก
Benefit received principle มาร่วมพิจารณา เพราะผู้ได้
ประโยชน์เป็ นผู้รับภาระ

36
การกาหนดอัตราค่ าใช้ บริการสาธารณะที่เหมาะสม
กับกฎของ Ramsey




จากแนวคิดราคาค่าบริ การสาธารณะ หากนาแนวคิดของ Ramsey มา
ประกอบ จะพบว่าการให้ บริ การของรัฐวิสาหกิจต่างๆ เสมือนหนึง่ เป็ นสินค้ า
ชนิดต่างๆ การคิดค่าธรรมเนียมบริ การคือการเก็บภาษี นนั่ เอง
เมื่อต้ องการเก็บรายได้ จากบริ การต่างๆ อย่างเป็ นธรรมจึงทาให้ อัตรา
ค่าบริ การระหว่างประเภทของบริ การสาธารณะสามารถประยุกต์ใช้ กฎของ
Ramsey ได้ คือ กฎส่วนกลับของค่าความยืดหยุน่
แต่ในกรณีนี ้บริ การที่มีคา่ ความยืดหยุน่ ต่าอาจเป็ นบริ การที่ประชาชนไม่มี
ทางเลือกอื่น แม้ จะมีคา่ บริ การสูงเท่าไรก็ตามก็ต้องบริ โภค
ดังนันข้
้ อเสนอสาคัญหนึ่งในทางปฏิบตั ิ คือการคิดราคาที่เท่ากับต้ นทุนเฉลี่ย
เพราะเป็ นการกระจายภาระค่าบริ การสาธารณะกับบริ การของรัฐบาลใน
ทุกๆ ประเภทของบริ การ
37
ภาษีเงินได้ ที่เหมาะสม OPTIMAL INCOME
TAXES
 ภาษีเงินได้ ทเ่ี หมาะสม คือการเลือกอัตราภาษี ตามระดับชัน้
รายได้ ที่ทาให้ ได้ รับ social welfare สูงสุด ภายใต้ ข้อจากัด
ที่วา่ รายได้ รัฐบาลสามารถจัดเก็บได้ ตามต้ องการ choosing
the tax rates across income groups to
maximize social welfare subject to a
government revenue requirement.
◦ ปั ญหาสาคัญในกรณีนี ้คือการวิเคราะห์ความเท่าเทียมแนวตัง้
38
ตัวอย่างการวิเคราะห์ Optimal income taxes

สมมุติให้ มีข้อกาหนดดังนี ้:
◦ ประชาชนทุกๆ คนมี utility เหมือนกันหมด
◦ โดยมี Diminishing marginal utility of income คือรายได้ เพิ่มขึ ้น ทาให้ MUI
ลดลง
◦ มีรายได้ ทงหมดคงที
ั้
่
◦ ทังนี
้ ้สมการอรรถประโยชน์เป็ นแบบ Utilitarian social welfare function

ภายใต้ ระบบการเก็บภาษี เงินได้ ที่เหมาะสมทาให้ ทกุ ๆ คนมีเงินได้ เท่ากันหลังการเก็บ
ภาษี
◦ หมายความว่า หากใครมีรายได้ เกินกว่าค่าเฉลี่ยจะถูกเก็บภาษีที่มี marginal tax rate
100%
◦ สุดท้ ายกาหนดให้ รายได้ รวม (labor supply) อยู่คงที่
39
ภาษี ที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน


โดยหลักแล้ วจะมีการ tradeoff ระหว่างความมีประสิทธิภาพและ
ความเท่าเทียมเสมอในการเก็บภาษี
การเพิ่มการจัดเก็บภาษี ยอ่ มทาให้ มีผลต่อฐานของภาษี ในแง่ที่ผ้ เู ป็ น
ฐานภาษี จะพยายามหลีกเลี่ยงภาระภาษี ทาให้ มีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม ตัวอย่างการเพิ่มภาษี กบั รายได้ ของแรงงานจะมีผลสอง
ประการ:
◦ รายได้ ภาษีที่จดั เก็บเพิ่มขึ ้น ณ ระดับรายได้ ของแรงงานที่กาหนด แต่
ขณะเดียวกัน
◦ เพราะภาษีที่เพิ่มขึ ้น แรงงานจึงลดการหารายได้ ทาให้ มีรายได้ ภาษีลดลง

ในช่วงที่มีอตั ราภาษี สงู อิทธิพลด้ านที่ สอง จะมีความสาคัญมากขึ ้น
เรื่ อยๆ ตามอัตราภาษี ที่เพิ่มขึ ้น
40
ภาษี ที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน
เส้ น Laffer curve เป็ นเส้นทีแ่ สดงความสัมพันธ์ ดงั กล่าว และ
ถูกใช้ เป็ นเครื่ องมือการจัดการด้ าน supply side ในบาง
ช่วงเวลา
 เส้ น Laffer Curve แสดงให้ เห็นว่ารัฐบาลไม่สามารถเพิ่ม
อัตราภาษีได้ ตลอดเวลา เพราะการเพิ่มอัตราภาษีสงู เกินไป ทา
ให้ ฐานภาษีจะหลบเลี่ยงการเสีย และรายได้ ภาษีอาจไม่ได้ เพิ่ม
ตามที่คาดการณ์

41
Figure 7
เส้น Laffer curve ณ จุดสูงสุด
การเพิม
่ อัตราไมท
่ าให้รายได้
ภาษีเพิม
่ ขึน
้
รายได้ ภาษี
ด้ านที่ควรจะเป็ น
0
ไม่ควรเป็ น
τ*%
100% อัตราภาษี
42
ภาษี ที่เหมาะสมกับผลต่อพฤติกรรมของประชาชน


เป้าหมายของภาษีที่เหมาะสมคือการวิเคราะห์ที่สามารถแสดงโครงสร้ างภาษีที่ทาให้
สวัสดิการสังคมสูงสุด พร้ อมกับรายได้ ภาษีสงู ที่สดุ ด้ วย
ซึง่ เงื่อนที่สามารถทาให้ ได้ เป้าหมายการเก็บภาษีดงั กล่าวสามารถแสดงเงื่อนไขการเก็บ
ภาษีได้ คือ:
MU i
 
M Ri

โดย MUi คือ the marginal utility ของบุคคลทัว่ ไปที่ i และ
MR คือ marginal revenue จากบุคคลตางๆ
่
43
Optimal income taxes
An example

As with optimal commodity taxation, this
outcome represents a compromise between
two considerations:
◦ Vertical equity
◦ Behavior responses

Figure 8 shows that optimal income
taxation equates this ratio across
individuals, leading to a higher tax rate for
the rich.
44
รู ปที่ 8
MU/MR
คนจน
คนรวย
ภาษีเงินไดที
้ เ่ หมาะสมทาให้
(MU/MR) เทากั
่ นสาหรับทุกๆ
คน
 MU 
 MU 
λ 



 MR  poor
 MR  rich
10%
20%
อัตราภาษี
45