money demand theory ภาค1/53

Download Report

Transcript money demand theory ภาค1/53

1
ความต้องการถือเงิน (Money Demand)
บทนี้เป็ นการทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการถือเงิน
ที่แตกต่างกันของแต่ละสานักคิดทางเศรษฐศาสตร์ ไม่วา่ Classical,
Keynesian, Monetarist ฯลฯ
โดยเป็ นการนาเสนอทฤษฎีความต้องการถือเงินอย่างง่ายเท่านั้น
2
ทฤษฎีความต้ องการถือเงินของคลาสิ ค
Classical Theory of Money Demand
ภายใต้ทฤษฎีปริ มาณเงิน Quantity Theory of Money: ที่เน้นการถือ
เงินเพื่อการแลกเปลี่ยน จากเดิม MV = PY ที่นาไปสู่ Cambridge
approach ที่วา่
Md = kPY
สุ ดท้าย
(M/P)d = kY,
โดยที่ k คือค่าคงที่ที่ใช้วดั ขนาดของปริ มาณเงินที่ประชาชนต้องการถือเงิน
สาหรับรายได้ทุกๆ บาทที่มีอยู่ โดยค่า k จะมีเสถียรภาพในดุลยภาพ และที่สาคัญ
3
ไม่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย
ทฤษฎีความต้ องการถือเงินของเคนส์
Keynesian Theory of Money Demand
เป็ นการสร้างความคิดเกี่ยวกับความต้องการถือเงินที่ใกล้เคียงความ
จริ งมากขึ้น โดยมีการกาหนดสมการความต้องการถือเงินที่ข้ ึนกับ
อัตราดอกเบี้ย และระดับรายได้ที่ได้รับ:
(M/P)d = L(i, Y)
เน้นบทบาทของเงินที่เป็ นแหล่งสะสมเก็บมูลค่า (store of value) ที่
ต่อมาได้ถูกพัฒนาบทบาทของเงินให้มีความสาคัญมากขึ้น
4
ทฤษฎีความต้ องการถือเงินของเคนส์
Keynesian Theory of Money Demand
ความต้องการถือเงินของเคนส์ให้ความสาคัญของอัตราดอกเบี้ยกับการถือเงิน
เพราหากการถือเงินขึ้นกับรายได้เพียงอย่างเดียวตาม classics แล้ว
ขนาดรายได้จะถูกกาหนดจาก ปริ มาณเงินเป็ นสาคัญ (ตามความเชื่อของ
Classics) การเปลี่ยนแปลงของ money stock เป็ นผลให้ nominal income
เพิ่มขึ้นในสัดส่ วนเดียวกันไปด้วย โดยที่
M = Md = kPY
และ k จะมีค่าคงที่ ทาให้นโยบายการคลังไม่มีผลต่อการกาหนดระดับรายได้
5
Portfolio Theories of Money Demand
ต่อเนื่องจากความต้องการถือเงินของเคนส์ ทฤษฎีน้ ีเสนอว่าประชาชน
ถือเงินเพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของการถือสิ นทรัพย์ portfolio of assets
หลักเกณฑ์สาคัญคือเงินจะให้ความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่แตกต่างจาก
สิ นทรัพย์อื่นๆ โดยที่เงินจะเป็ นสิ นทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนแบบ
nominal ขณะที่สินทรัพย์อื่นๆ อาจให้ผลตอบแทนที่เป็ นได้ท้ งั แท้จริ ง
และไม่แท้จริ งหรื อ nominal
ทาให้มีความลึกซึ้งมากขึ้น เช่น
(M/P)d = L(rs, rb, , W)
6
ทฤษฎีการถือเงินเพือ่ การแลกเปลีย่ น
Transactions Theories of Money Demand
เน้นบทบาทของเงินเพื่อเป็ นสื่ อกลางการแลกเปลี่ยน (medium of
exchange) โดยยอมรับว่าเงินเป็ น สิ นทรัพย์หลัก (dominated asset)
และไม่เหมือนสิ นทรัพย์อื่นๆ ที่ประชาชนต้องการถือเงินเพื่อการซื้อ
ขายแลกเปลี่ยน โดยการอธิบายวิธีการถือเงินแบบแคบ (narrow)ในรู ป
ของเงินสดหรื อเช็คเท่านั้น
ทฤษฎีการถือเงินเพื่อการแลกเปลี่ยนช่วยอธิบายสมการการถือเงิน โดย
สามารถพิจารณาได้จากแบบจาลองของ Baumol-Tobin Model ที่เป็ น
ทฤษฎีหลักในการอธิบายความต้องการถือเงิน
7
ทฤษฎีการถือเงินเพือ่ การแลกเปลีย่ น
Transactions Theories of Money Demand
การถือเงินในกรณี น้ ีเพื่อเป็ นการเชื่อมโยงระหว่างกระแสเงินรับกับ
กระแสเงินจ่าย (bridge the gap of receipts and expenditures)
รายได้เป็ นตัวชี้วดั ขนาดของการแลกเปลี่ยน ดังนั้น ขนาดของการถือเงินเพื่อ
การแลกเปลี่ยนจึงอาจพิจารณาได้จากรายได้ โดยหากมีรายได้เพิม่ ขึ้น (ลดลง)
การถือเงินจะเพิ่มขึ้น (ลดลง)
แต่เนื่องจากการถือเงินได้รับอิทธิพลจากอัตราดอกเบี้ย บุคคลทัว่ ไปจึง
ต้องตัดสิ นใจขนาดการถือเงินที่เหมาะสมกับอัตราดอกเบี้ยด้วย
8
ข้อสังเกตุในการศึกษาความต้องการถือเงิน
จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะพบว่าความหมายของการถือเงิน
เพื่อแลกเปลี่ยนจะแตกต่างตามสานักคิดทางเศรษฐศาสตร์
ว่าเป็ นเพียงสิ นทรัพย์เพื่อสะสมมูลค่า (store of Value) เพื่อใช้ใน
การแลกเปลี่ยน (M1) หรื อเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ คือสะสมความมัง่ คัง่
(store of wealth) ซึ่ งทาให้ความหมายของการถือเงินจะกว้างขึ้น
เป็ นM2, M3
ต้องอย่าลืมว่าการถือเงินนั้นไม่ได้มีเพียงครัวเรื อนเท่านั้น
แต่ยงั มีภาครัฐ และภาคธุรกิจที่จะมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไป
ในวัตถุประสงค์ของการถือเงิน
9
Inventory-Theoretic Approach to Money Demand
การถือเงินเพื่อการแลกเปลี่ยนถูกคิดเสมือนเป็ น inventory ของเงิน
ที่จะใช้เพื่อการแลกเปลี่ยนโดยบุคคลทัว่ ไปหรื อธุรกิจ ทฤษฎีน้ ีพฒั นา
โดย William Baumol และ James Tobin
สมมุติวา่ บุคคลมีรายได้ (Y) เป็ นเงินสดในเวลาที่ t = 0 หรื อ ณ จุดเริ่ มต้น
เช่นมีรายได้เท่ากับ 1,200 บาท
หากสมมุติวา่ บุคคลนี้มีใช้จ่ายแบบมีแบบแผนที่ชดั เจนและไม่เปลี่ยนแปลง
ตลอดระยะเวลาที่กาหนด และเมื่อสิ้ นสุ ดระยะเวลา t = 1 จะไม่มีเงินสด
ที่อยูใ่ นมือเหลือ
10
M
Y
Y/2
0
จากที่ตน้ เวลามีเงินสดในมือ = Y
เมื่อสิ้ นสุ ดเวลามีเวินสดเหลือในมือ = 0
ดังนั้น เฉลี่ยมีเงินสดในมือตลอดระยะเวลา = Y/2
ถ้ามีเงินรายได้ 1200 บาท เงินสดที่ถือโดยเฉลี่ยคือ
600 บาท (1200/2) ซึ่งเท่ากับเงินที่มีอยู่ ณ จุดกลาง
ของระยะเวลา ทั้งนี้เป็ นตามข้อสมมุติที่มีแบบแผน
ใช้จ่ายที่คงที่ตลอดระยะเวลาที่กาหนด
ในรู ปนี้แสดงการถือเงินโดยเฉลี่ยกับ
ระดับรายได้ที่มี โดยรายได้มากขึ้น
ค่าเฉลี่ยการถือเงินจะเพิ่มขึ้นด้วย
1/2
1
เวลา t
11
Inventory-Theoretic Approach to Money Demand
การถือเงินตามแนวคิดนี้ยงั เสนอว่าขนาดของการถือเงินยังขึ้นกับต้นทุน
ในการถือเงิน ซึ่ งได้แก่ อัตราดอกเบี้ยที่ไม่ได้รับ (foregone interest)
เพราะเลือกถือเงินสดแทน รวมทั้งต้นทุนที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน
ระหว่างเงินและพันธบัตร ที่เรี ยกว่าค่านายหน้า (brokerage fees)
เมื่อมีการนาทางเลือกในการถือพันธบัตรเข้ามาเกี่ยวข้อง บุคคลต้อง
ตัดสิ นใจในการเลือกถือเงินหรื อพันธบัตร ซึ่งการถือเงินหรื อ
พันธบัตรจะสามารถแลกเปลี่ยนกันได้
หากเลือกลงทุนครึ่ งหนึ่งของรายได้ที่ได้ตอนต้นระยะเวลาในพันธบัตร
แบบแผนการถือเงินจะเปลี่ยนไป
12
M
Y
ณ ตอนต้นเวลามีเงินสดในมือเพียงครึ่ งเดียว = Y/2
เมื่อถึงจุดกลางต้องขายพันธบัตรทั้งหมด
เพื่อได้เงินสดมีใช้จ่าย ทาให้เงินสดเพิ่มเป็ น Y/2 อีกครั้ง
ค่าเฉลี่ยการถือเงินสดในขณะนี้คือ (Y/2) / 2 = Y/4
Y/2
0
1/2
1
เวลา t
13
ดังนั้น กาไร (ผลตอบแทนจากการถือเงินสด) สามารถคานวณได้จาก
Pr (n=2) = r x (Y/4) - 2b
โดย r = อัตราดอกเบี้ยที่ได้รับ
b = brokerage fees
n = จานวนครั้งในการแลกเปลี่ยนระหว่างเงินสดกับพันธบัตร
14
M
Y
ถ้าเลือกให้มีการแลกเปลี่ยน 3 ครั้ง
Pr (n =3) = r x Y/(2x3) -3b
Y/3
0
1/3
2/3
1
เวลา t
15
ต้นทุนการถือเงิน: อัตราดอกเบี้ยที่เสี ยไป forgone interest, ต้นทุนในการแลกเปลี่ยน
และต้นทุนรวมจะขึ้นกับจานวนเที่ยวที่เดินทาง N จะหาค่า N ที่ต่าสุ ด (N*) ได้อย่างไร
ต้นทุน
ต้นทุนรวม = rY/(2N) + bN
ต้นทุนการแลกเปลี่ยน (bN)
อัตราดอกเบี้ยที่ไม่ได้รับ (rY/(2N))
N*
จานวนครั้งการแลกเปลี่ยน
นัยของแบบจาลอง Baumol-Tobin model คือการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในต้นทุนค่า
นายหน้า b (สมมุติวา่ คงที่) จะมีผลต่อเปลี่ยนสมการการถือเงิน– นัน่ คือจะเปลี่ยน
16
ความต้องการถือเงิน ณ ระดับอัตราดอกเบี้ยและระดับรายได้น้ นั ๆ
• ดังนั้น โดยทัว่ ไปแล้วการถือเงินและพันธบัตรโดยเฉลี่ยสามารถกาหนดได้จาก
จานวนครั้งของการแลกเปลี่ยนระหว่างเงินสดและพันธบัตรได้ตามสูตรต่อไปนี้
M 
1
Y
2n
• โดย n = จานวนครั้งการแลกเปลี่ยน
•
M = จานวนเงินที่ถือโดยเฉลี่ย (average money holdings)
•
Y = ขนาดรายได้
18
• การถือพันธบัตรโดยเฉลี่ย (B)
B 
n 1
y
2n
• โดยที่
M + B = Y/2
19
• รู ปสมการทัว่ ไปของผลตอบแทนสุ ทธิ (net profits) คือ
Pr  r
อัตราดอกเบี้ย
n 1
Y  nb
ค่านายหน้า
2n
ค่าเฉลี่ยการถือพันธบัตร
• โดยที่ Pr = กาไรที่ได้รับจากการถือพันธบัตร
•
r = อัตราดอกเบี้ย
•
b = ค่านายหน้าในการแลกเปลี่ยน
• นัน่ คือเทอมแรกของสมการแสดง ผลตอบแทนที่ได้รับทั้งหมด
•
เทอมที่สองคือต้นทุนที่ตอ้ งใช้ในการแลกเปลี่ยน
20
ขนาดของการแลกเปลี่ยนที่เหมาะสม
• จานวนครั้งของการแปลเปลี่ยนกาหนดจาก MC = MR ที่ได้รับ
จากการแลกเปลี่ยนระหว่างเงินสดและพันธบัตร
• จานวนครั้งของการแลกเปลี่ยน n ช่วยกาหนดสัดส่ วนการถือเงินสด
และพันธบัตร ณ ระดับรายได้ที่มีอยู่ การเปลี่ยนจานวนครั้งการ
แลกเปลี่ยนขึ้นกับปัจจัยอัตราดอกเบี้ย และค่านายหน้าของการ
แลกเปลี่ยน
• นอกจากนี้ขนาดรายได้ที่มีความสัมพันธ์ทางบวก คือ เมื่อมีรายได้
เพิ่มขึ้น การขึ้นเงินสดจะมีเพิ่มมากขึ้นด้วย (ณ ค่า n ที่คงที่) แต่ค่า
Y ที่เพิ่มขึ้นอาจทาให้ n เปลี่ยนแปลงไปด้วย เพราะ MR,
21
MC ได้รับผลกระทบไปด้วย
ขนาดของการแลกเปลี่ยนที่เหมาะสม
(MC, MR)
MC (=b)
MR
n*
# of bond market transactions
22
ผลของการเพิ่มอัตราดอกเบี้ย
ทฤษฎี inventory theoretic approach เสนอว่า
ความต้องการถือเงินและอัตราดอกเบี้ยจะมี
ความสัมพันธ์ในเชิงลบ (ตรงข้ามกัน)
(MC, MR)
MC (=b0)
MR (r1)
MR (r0)
n0*
n1* # of bond market transactio
23
ผลของการเพิ่มค่านายหน้า
ทฤษฎี inventory theoretic approach เสนอว่า
ความต้องการถือเงินและต้นทุนการแลกเปลี่ยน
(ค่านายหน้า) จะมีความสัมพันธ์ในเชิงบวก
(MC, MR)
MC (=b1)
MC (=b0)
MR
n1*
n0*
# of bond market transactions
24
การถือเงินภายใต้แบบจาลองการถือเงินเพื่อการ
แลกเปลี่ยน (Transaction model)
m = M/P
Y
n
Y
2n
t1
t2
t3
t4
t5
T
time
25
การถือพันธบัตรภายใต้แบบจาลองการถือเงินเพื่อการ
แลกเปลี
่
ย
น
(Transaction
model)
bonds
n-1 * Y
n
t1
t2
t3
t4
t5
T
time
26
ข้อสรุ ปการถือเงินภายใต้ Inventory Theoretic
Approach
• Md = L (Y, r, b)
• โดยที่ สัมพันธ์ทาง บวก กับระดับ รายได้ Y
•
สั มพันธทาง
บวก
์
กับค่านายหน้า b
•
สัมพันธ์ทาง ลบ กับอัตราดอกเบี้ย r
27
การโต้แย้งความต้องการถือเงินของเคนส์
1.ความต้องการถือเงินที่ตอ้ งเลือกระหว่างเงินสดและพันธบัตรที่ถูก
กาหนดจากอัตราดอกเบี้ย โดยจะถือพันธบัตรทั้งหมด หากอัตรา
ดอกเบีr ้ ยสูงกว่า “critical rate”
เพราะว่า r = Y/Pb ทาให้ Pb = Y/r
critical rate
= rc
W
M
P
28
ผลตอบแทนการถือพันธบัตรมาจากอัตราดอกเบี้ย + capital
gain จากราคาพันธบัตรเปลี่ยนแปลง นัน่ คือ
การคาดการณ์ผลตอนแทนทั้งหมด = r + g;
โดย g = (Y/re –Y/r)e = r – 1
r
Y/r
ดังนั้น yield จากการถือพันธบัตร เท่ากับ
r + r/re -1
ณ critical rate rc
r
e
r 
1 r
e
 rc
29
r
critical rate
= rc
W
M
P
จากรู ปสามารถเห็นได้วา่ หากอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า critical rate จะถือพันธบัตร
ทั้งหมดเพราะ capital gain ที่คาดว่าราคาพันธบัตรจะเพิ่มสูงขึ้น (ดอกเบี้ยจะ
ลดลง) จะ outweighed ผลตอบแทนจากอัตราดอกเบี้ย
ในทางตรงข้ามหากดอกเบี้ยต่ากว่า critical rate จะถือเงินสดทั้งหมดไม่ถือ
พันธบัตร เพราะคาดการณ์วา่ ราคาพันธบัตรจะลดลง capital loss
30
การโต้แย้งความต้องการถือเงินของเคนส์
• ผลคือทฤษฎีการถือเงินของเคนส์ไม่อาจอธิบายทาไมบุคคลจึงถือเงิน
สดและพันธบัตรพร้อมกันเพื่อเป็ นที่สะสมมูลค่า Store of
value ได้ จึงนาไปสู่การสร้างคาอธิบายตาม Portfolio
diversification
31
การโต้แย้งความต้องการถือเงินของเคนส์
2. การถือเงินเป็ นสิ นทรัพย์อย่างหนึ่ งนั้น เมื่ออัตราดอกเบี้ยอยูใ่ นระดับ
ที่ต่า และคาดการณ์การผันแปรตามการปรับตัวของอัตราดอกเบี้ยที่
เข้าสู่ระดับ “ปกติ”* แต่การปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยตามช่วงเวลา
ต่อมาทาให้ไม่สามารถอธิบายพฤติกรรมการถือเงินของบุคคลได้
ชัดเจน
ทาให้มีการขยายการอธิบายตาม portfolio
diversification ที่ถูกพัฒนาโดย James Tobin
*ความหมายของ Keynes คือจะมีอตั ราดอกเบี้ยที่คงที่หรื อผันผวนการปรับตัวที่ชา้ ๆ
ของดอกเบี้ยรอบๆ อัตราที่ “ปกติ” ซึ่ งเป็ นจริ งในช่วงเวลาที่ Keynes พัฒนาความคิดนี้ข้ ึนมา 32
การโต้แย้งความต้องการถือเงินของเคนส์
• ทาให้ตอ้ งมีการปรับปรุ งแนวความคิดเรื่ องอัตราดอกเบี้ยของ
Keynes ใหม่
• นัน่ คือการยอมรับว่าอัตราดอกเบี้ยจะสามารถปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ใน
ช่วงเวลา (overtime)
• การปรับปรุ งความคิดคือการนาความเสี่ ยงมาช่วยในการอธิบาย
พฤติกรรมการถือเงินของบุคคลที่พฒั นาโดย Tobin
33
ความต้องการถือเงินกับความเสี่ ยง
• เป็ นแนวคิดของ Tobin ที่พยายามอธิบายการถือเงินโดยไม่มี normal rate
of interest ที่จะต้องปรับเข้าหา
• ข้อสมมุติคือบุคคลเชื่อว่า capital gain และ capital loss มีโอกาสเกิดขึ้น
เท่ากัน นัน่ คือ expected capital gain มีค่าเท่ากับ ศูนย์
• ดังนั้นการคาดการณ์ (expected) ผลตอบแทนการถือพันธบัตรที่ดีที่สุด
คือผลตอบแทนจากอัตราดอกเบี้ยเท่านั้น แต่ความจริ งอาจรวมผลจาก
capital gain capital loss
• ทุกๆ คนต้องเผชิญความเสี่ ยงของ capital gain หรื อ loss เพราะดอกเบี้ย
ไม่ได้ถูกกาหนดให้คงที่ ผลตอบแทนแท้จริ งจึงไม่แน่นอน
• การถือเงินสดจะไม่มีความเสี่ ยง แต่ ผลตอบแทน (nominal return) เป็ น
ศูนย์ ซึ่งน้อยกว่าพันธบัตร และไม่มี capital gain หรื อ loss แต่ทุกๆ คน
ต้องถือเงินสดไว้ระดับหนึ่งเสมอ เพื่อป็ นการลดความเสี่ ยงที่อาจเกิดขึ้น
34
ความต้องการถือเงินกับความเสี่ ยง
• การคาดการณ์ผลตอบแทนโดยรวมของการเลือกถือสิ นทรัพย์
(portfolio) จะสูงถ้าถือพันธบัตรทั้งหมด
• แต่สมมุติวา่ ทุกๆ คนเป็ นผูท้ ี่ไม่ชอบความเสี่ ยง (risk averter)
ที่ยอมเสี ยผลตอบแทนสูง แต่ได้รับความมัน่ ใจที่ความเสี่ ยงลด
น้อยลง
• ความต้องการถือเงินจึงเป็ นการถือสิ นทรัพย์เพื่อเป็ นการลดความ
เสี่ ยง (risk aversion asset)
35
expected return (R)
แสดง utility ที่เพิ่มขึ้น
และcurve ที่ชนั ขึ้นเพราะ
risk aversion ที่เพิ่มขึ้น
^
R
E
R*
Slope = R/
Bonds (B)
0
T
*
T2
U
3
แสดงการเป็ น
U2
U1 Risk averter)
Cจากการโค้งของ
H curve
^
T1
ขนาดความเสี่ ยงของ
การถือสิ นทรัพย์
ต่างๆ ในที่น้ ีคือ
พันธบัตร
Risk
T
B*
M*
Wh
B
36
expected return (R)
U
^
R
E
R*
Bonds (B)
ผลตอบแทนในที่น้ ีมาจาก
U1
อัตราดอกเบี้ยที่ข้ ึนกับจานวน
C
สัดส่ วนพันธบัตรที่ถืออยูใ่ นมือ
H
ขณะเดียวกันการถือพันธบัตรมาก
ขึ้นจะได้รับความเสี่ ยงมากขึ้นด้วย
โดยมาจากความไม่แน่นอนของ
การเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย

Risk

T ในอนาคต และขนาดการถือ
T1
พันธบัตร
3U
2

0
B*
Wh
M*
T2
B
ถ้าถือเงินสดทั้งหมด จะอยูท่ ี่ 0
ไม่ได้ผลตอบแทนใดๆ ความเสี่ ยง
เป็ นศูนย์เช่นเดียวกัน
37
การคาดการณ์ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น (R)
U1 และมีความเสี่ ยงมากขึ้นตามเส้นแกนนอน
C
่ ี่ Wh โดย
H หากถือพันธบัตรทั้งหมดจะอยูท
ผลตอบแทนที่ได้รับคือ R และมีความเสี่ ยง
^
สูงสุ ด
3U
2
^
R
E
R*
Bonds (B)
expected return (R)
U
แต่หากเพิ่มการถือพันธบัตรมากขึ้น

0
B*
Wh
M*
T2

T1
B

Risk
T
ในรู ปส่ วนล่างแสดงสัดส่ วนการเลือก
ถือเงินสดและพันธบัตร หากเลือกถือ
พันธบัตรที่ B* ขนาดการถือเงินสด
คือระยะห่าง M* และมีความเสี่ ยงลด
น้อยลง
38
ความต้องการถือเงินกับความเสี่ ยง
การหาขนาดการถือสิ นทรัพย์ท้ งั สองที่เหมาะสมนั้น ต้องพิจารณาความพอใจ
หรื อ preferences ของบุคคลถ้าสมมุติวา่ เป็ น risk averter ที่ตอ้ งการทั้งผลตอบ
แทนที่สูงและหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง
ความเสี่ ยงที่เพิ่มขึ้นต้องถูกชดเชยด้วยการคาดการณ์ผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้น
(high risk - high expected return)
นัน่ คือ
U = U(R,  ) โดย R ที่เพิ่มขึ้นทาให้ U เพิ่มขึ้น แต่  ที่เพิ่มทาให้
T
T U ลดลง
39
expected return (R)
U
การเพิ่ม (ลด) U
3U
2
เกิดจากการเพิม่
U1
C (ลด) ผลตอบแทน
H
และการลด (เพิม่ )
ความเสี่ ยง
^
R
E
Bonds (B)
R*
*
0
B*
Wh
T2
M*
^

T1
Risk
T
การเคลื่อนไปสู่จุด H ทาให้
ผลตอบแทนที่ได้รับไม่ชดเชย
B ความเสี่ ยงที่เพิม่ ขึ้น
(อาจพิจารณาได้จาก slope
ของเส้น OC)
40
จากรู ปเส้น OC แสดงการเลือกระหว่างความเสี่ ยงที่ได้รับกับการคาดการณ์
ผลตอบแทนที่จะได้รับ กรณี น้ ีที่ Tobin เรี ยกความต้องการถือเงินนี้วา่
เป็ นพฤติกรรมต่อความเสี่ ยง (behavior toward risk) เพราะเป็ นความพยายาม
ลดความเสี่ ยงถ้าถือพันธบัตรทั้งหมด (จุด H ซึ่งให้ความพอใจที่ต่ากว่าที่ E)
ผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นไม่สามารถชดเชยความเสี่ ยงที่เพิ่มขึ้น เมื่อเคลื่อนเกินจุด E
ซึ่งพิจารณาได้จาก slope ของเส้น OC ที่หากมีความชันมากขึ้นหมายถึงการที่ไม่
อยากรับความเสี่ ยงมากขึ้น
41
Tobin ได้ให้นยั ว่าการถือเงินสดเป็ นสิ นทรัพย์น้ นั จะ
ขึ้นกับอัตราดอกเบี้ยเมื่อมีอตั ราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นทาให้
ความสามารถการยอมรับความเสี่ ยงเพิ่มมากขึ้น ดังเห็นได้จาก
slope ของเส้น OC ชันมากขึ้น การถือเงินลดลงจาก M0 สู่ M2
เป็ นลาดับ
ซึ่ งภายใต้แนวคิดนี้จะสอดคล้องกับ Keynesian ที่การ
ถือเงินจะมีความสัมพันธ์ตรงข้ามกับอัตราดอกเบี้ย
42
expected return (R)
U3
G
R2
C (r2)
U2
U1
C (r1)
F
R1
C (r0)
E
R0
Risk
Bonds (B)
0
B0
B1
B2
Wh
T
ผลตอบแทนที่เพิ่มเหมือน
การชดเชยความเสี่ ยงที่เพิ่มขึ้น
M0
M1
M2
B
43
นวัตกรรมทางการเงินและสิ นทรัพย์ใกล้เงิน
สิ นทรัพย์ใกล้เงินประกอบด้วยสิ นทรัพย์ที่มีสภาพคล่องคล้ายเงินสด เช่น
การใช้เช็คที่สามารถใช้แทนเงินสด หรื อบัตรเครดิต เป็ นต้น
สิ นทรัพย์ใกล้เงินทาให้เกิดความไม่มีเสถียรภาพของความต้องการถือเงิน
และอาจทาให้มีผลต่อ AD เพราะความต้องการถือเงินสดอาจลดลง เนื่องจากการ
เปลี่ยนพฤติกรรมการถือเงินสดไปสู่รูปแบบอื่นๆของสิ นทรัพย์ จึงทาให้อาจต้องมี
การเปลี่ยนนิยามของเงิน (money) ให้มีความครอบคลุมและรัดกุมมากกว่าเดิม
44
การบ้านครั้งที่ 3
จงเปรี ยบทฤษฎีการถือเงินของ Keynesian
และของ Tobin ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
45