วลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.4

Download Report

Transcript วลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.4

่
วิชา หน้าทีพลเมื
อง รหัสวิชา ส
30255
1
่ ยวข้
่
คาศ ัพท ์ทีเกี
องกับการเวลา
่ั
• วัน เดือน ปี ชวโมง
่
• ยุค : ระยะเวลายาวนานนับหมืนปี
แสนปี เช่น
Prehistoric Age, Stone Age
้
• สมัย : ระยะเวลาสันกว่
ายุคแต่กน
ิ เวลานับร ้อยปี
เช่น สมัยพุทธกาล (The early life of Buddha)
• ร ัชสมัย : ช่วงเวลาการครองราชย ์ของกษัตริย ์
พระองค ์ /ราชวงศ ์
• ศตวรรษ : ช่วงเวลาร ้อยปี (1-100) เช่น พุทธ
ศตวรรษที่ 20 = พ.ศ.1901-2000
• ทศวรรษ: ช่วงเวลาสิบปี (0-9) เช่น ทศวรรษที่
1960 = ค.ศ.1960-1969
2
ั ราช (ศก
ั ราชทางศาสนา)
ศาสนศก
่
• 1) พุทธศ ักราช (พ.ศ.) : เริมใช้
ในปี ที่
พระพุทธเจ้าปรินิพพาน เป็ น พ.ศ.1 (ไทยนับ
่
พ.ศ.1 เมือพระพุ
ทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี )
่
เริมใช้
อย่างเป็ นทางการในสมัย ร.6
3
่
่
• 2) คริสต ์ศ ักราช (ค.ศ.) : เริมใช้
ในปี ทีพระเยซู
ประสู ตเิ ป็ น ค.ศ.1 (A.D.= ANNO DOMINI) เลขสาคญ
ั
543
• 3) ฮิจเราะห ์ศ ักราช (ฮ.ศ.) : Hegira แปลว่า
่
่
อพยพเริมใช้
ในปี ทีพระนบี
มูฮม
ั หมัดอพยพ
่ องเมดินา (ยัทริบ)
ออกจากเมืองเมกะไปทีเมื
เลขสาค ัญ 1122
4
่
เพิมเติ
ม
• การนับ ค.ศ. มีความสัมพันธ ์ กับศ ักราช
โรมัน (AUC : AB URBIS CONDITA) แปลว่า
้ งโรม
้
การตังกรุ
นับตังแต่
่
่ 1 มกราคม
– รอบปี ของโรม เริมวันที
่
่ 25 ธ ันวาคม
– รอบปี ของ คริสต ์ เริมวันที
(คริสต ์มาส)
5
ั ราช
รัชศก
• 1) มหาศ ักราช (ม.ศ.) : ศ ักราชของพระเจ้า
กนิ ษกะ กษัตริย ์แห่งกุษาณะ( คันธาระ แคช
ิ ธุ และมัธยประเทศ ปั จจุบันคือ อิหร่าน
เมียร์ สน
ปากีสถาน เติรก
์ เมนิสถาน บางสว่ นของอินเดีย)
ี ตะวันออกเฉียงใต ้ เลข
แพร่หลายมายังเอเชย
สาค ัญ 621
6
ั ราชของพระ
• 2.จุลศ ักราช (จ.ศ.) : เป็ นศก
เจ ้าสุรย
ิ วิกรมแห่งศรีเกษตร(พระเจ ้าอนุ
รุทธ/พระเจ้าอโนรธา แห่งพุกาม) (ไทย
ิ ทร์
นิยมใชตั้ ง้ แต่สมัยอยุธยา-รัตนโกสน
ตอนต ้น สมัย ร.5) เลขสาคัญ 1181
Shwezigon Pagoda
7
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 1 เรียก "เอกศก"
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 2 เรียก "โทศก"
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 3 เรียก "ตรีศก"
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 4 เรียก "จัตวาศก"
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 5 เรียก "เบญจศก"
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 6 เรียก "ฉศก"
ั ราชทีล
ั ตศก"
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 7 เรียก "สป
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 8 เรียก "อัฐศก"
ั ราชทีล
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 9 เรียก "นพศก"
ั ราชทีล
ั ฤทธิ
ปี จล
ุ ศก
่ งท ้ายเลข 0 เรียก "สม
ศก"
8
้ การใช้จล
• นอกจากนัน
ุ ศ ักราชยังนิ ยมระบุ
ปี นักษัตรกับกับจุลศ ักราชและการเรียก
่
ศกไว้ดว้ ย เช่น หนังสือสัญญาทีสยามท
า
กับองั กฤษ สมัยร ัชกาลที่ 5 ระบุ ว ันพุธ
เดือนยี่ แรม 12 คำ่ ปี ระกำ เบญจศก จ.
ศ. 1235
9
ั ราชที่
• 3. ร ัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) : เป็ นศก
้
ร.5 โปรดเกล ้าฯ ให ้ใชแทน
จ.ศ. โดยเริม
่
ิ ทร เลขสาคัญ
นับจากการตัง้ กรุงรัตนโกสน
2324
10
เกณฑ ์การเทียบศ ักราชจากพุทธศ ักราชเป็ น
่
ศ ักราชอืน
เกณฑ ์การเทียบ
ศ ักราช
ปี พ.ศ. – 543 =
ค.ศ.
ปี พ.ศ. – 621=
ม.ศ.
ปี พ.ศ. – 1112 =
ฮ.ศ.
ปี พ.ศ. – 1181 =
ตัวอย่าง
ปี พ.ศ.2554 – 543 = ค.ศ.2011
ปี พ.ศ. 2554– 621= ม.ศ. 1933
ปี พ.ศ. 2554 – 1112 = ฮ.
ศ.1432
ปี พ.ศ. 2554 – 1181 = จ.
11
่
เกณฑ ์การเทียบศ ักราชจากศ ักราชอืนเป็
น
พุทธศ ักราช
เกณฑ ์การเทียบ
ศ ักราช
ปี ค.ศ. + 543 =
พ.ศ.
ปี ม.ศ. + 621=
พ.ศ.
ปี ฮ.ศ. + 1112 =
พ.ศ.
ปี จ.ศ. + 1181 =
ตัวอย่าง
ปี ค.ศ.2011 + 543 = พ.ศ.2554
ปี ม.ศ. 1933+ 621= พ.ศ. 2554
ปี ฮ.ศ. 1432 + 1112 = พ.ศ.
2554
ปี จ.ศ. 1373 + 1181 = พ.ศ.
12
การแบ่งยุคสมัยทางประวัตศ
ิ าสตร์
เกณฑ ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร ์
• 1. แบ่งตามลักษณะการดารงชีวต
ิ ของมนุ ษย ์
เป็ น 4 ยุค
1.1 ยุคก่อนเกษตรกรรม (ยุคล่าสัตว ์) : 500,0008,000ปี มาแล้ว มนุ ษย ์ยังเร่รอ
่ น
่ งถิ
้ น
่ สร ้าง
1.2 ยุคเกษตรกรรม : มนุ ษย ์เริมตั
บ้านเมือง
1.3 ยุคอุตสาหกรรม : พุทธศตวรรษที่ 20-23/
คริสต ์ศตวรรษที่ 14-17 (สมัย Renaissance)
1.4 ยุคข้อมู ลข่าวสาร (Information Age) : /โลกาภิ13
่
• 2 .แบ่งตามการสือสารของมนุ
ษย ์
• 2.1 สมัยก่อนประว ัติศาสตร ์ (Prehistory) :
มนุ ษย ์มีแต่ภาษาพู ด ยังไม่ประดิษฐ ์ตัวอ ักษร
้
ขึนใช้
• 2.2 สมัยประวัติศาสตร ์ (History) : ประดิษฐ ์
้
่ อสารในสั
่
ตัวอ ักษรขึนใช้
เพือสื
งคม
14
การแบ่งยุคสมัยของประวัตศ
ิ าสตร์
ไทย
• ยุคก่อนประวัติศาสตร ์ไทย
•
•
•
•
•
•
1.สมัยหิน
1.1 สมัยหินเก่า (500,000-10,000 ปี มาแล้ว)
1.2 สมัยหินใหม่ (6,000-4,000 ปี มาแล้ว)
2. สมัยโลหะ
2.1 สมัยสาริด (3,500-2,500 ปี มาแล้ว)
2.2 สมัยเหล็ก (2,500-1,200 ปี มาแล้ว)
15
สมัยหินเก่า
อาวุธโบราณ อ.ไทรโยค จ.
กาญจนบุร ี
้ แมน จ.
โลงศพ ถาผี
แม่ฮ่องสอน
16
สมัยหินใหม่
ภู พระบาท อ.บ้านผือ จ.
อุดรธานี
ผาแต้ม อ.โขลงเจียม จ.
อุบลราชธานี
17
สมัยโลหะ
บ้านดอนตาเพชร อ.พนมทวน จ.
กาญจนบุร ี
บ้านเชียง อ.หนองหาน จ.
อุดรธานี
18
• ยุคประวัติศาสตร ์ ไทย
• 1.แบ่งตามเกณฑ ์ของโลกตะวันออก
(อาณาจักร/ราชธานี เป็ นศูนย ์กลาง):
สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา
สมัยธนบุร ี สมัยร ัตนโกสินทร ์ หรือแบ่งตาม
ราชวงศ ์หรือร ัชกาล
• 2.แบ่งตามเกณฑ ์ของโลกตะวันตก(สภาพทาง
การเมือง/เศรษฐกิจ/สังคม)
• 2.1 สมัยโบราณ (ก่อนสุโขทัยถึงร ัตนโกสินทร
ตอนต้น)
• 2.2 สมัยใหม่ หรือ สมัยปร ับปรุงประเทศ (ร.4ร.7/2475)
• 2.3 สมัยปั จจุบน
ั
19
บรรณานุกรม
ึ ษาธิการ. 2553. หนังสือเรียนรายวิชา
• กระทรวงศก
้
้ั
พืนฐาน
ประว ัติศาสตร ์ เล่ม 1 (ประว ัติศาสตร ์ไทย ชน
มัธยมศึกษา 4-6) . กรุงเทพฯ : สกสค.
ลาดพร ้าว
• ศริ พ
ิ ร ดาบเพชรและคณะ. ม.ป.ป. ประวัติศาสตร ์ ม.4-6.
กรุงเทพฯ: อักษรเจริญ ทัศน์ อจท.จากัด.
20