ความคิดของมนุษย์ยุคพุทธกาล

Download Report

Transcript ความคิดของมนุษย์ยุคพุทธกาล

พัฒนาการของพระพุ ทธศาสนามหายาน
ผศ.ดร.สุวิญ รั กสัตย์
(ป.ธ.๗, พธ.บ., M.A., Ph.D.)
Class Assignment and Grading
Assignment Paper
20 Marks
Presentation
 Final Examination
10 Marks
20 Marks



Presentation Jan. 18-25, 2014

Assignment Mar. 22, 2014
Issues of Mahayana Article









Cause of Mahayana Buddhism
Ideal of Bodhisatva
Ideal of Bodhology
Issues on Sunyata
Issues on Alayavinyana
Issues on Vajrayana
Issues on Sukhavati
Issues on Zen
Issues on New Mahayana Movement
ข้ อกำหนดงำนมอบหมำย
เลือกหัวข้ อใดก็ได้ ทเี่ กีย่ วกับพระพุทธศาสนามหายานในขอบเขตวิชา
 เขียนเป็ นบทความของตนเอง
 จานวน ๕ ไม่ เกิน ๑๐ หน้ า รวมเอกสารอ้ างอิง ไม่ น้อยกว่ า ๕ เล่ ม
 ประกอบด้ วย ส่ วนนา เนือ
้ หา บทวิเคราะห์ และสรุป
 ให้ จด
ั ทาเป็ นเอกสารวิชาการเข้ าเล่ ม ปกแข็ง ๓ เล่ ม
 นาส่ งก่ อนจบภายในเดือนมีนาคม (ห้ ามเกินกาหนด)

ขอบข่ายและเนื้อหาวิชา
 ศึกษาความเป็ นมาของพระพุทธศาสนามหายาน
 ศึกษาลักษณะแนวคิด อุดมคติของมหายาน
 ศึกษาปรัชญา บุคคล คัมภีร์มหายาน
 ศึกษานิกายต่ างๆ ของมหายาน
 ศึกษามหายานในประเทศต่ างๆ
 ศึกษาการนาหลักพระพุทธศาสนามหายานไปปรับใช้
Texts and Documents
พุทธปรัชญามหายาน อ. เสถียร โพธินนั ทะ
ประวัตศิ าสตร์พุทธศาสนา อ. เสถียร โพธินนั ทะ
พุทธประวัตมิ หายาน : เสถียร พันธรังษี
พุทธศาสนามหายาน : นิกายหลัก อ.สมภาร พรมทา
พุทธศาสนามหายาน : สุมาลี มหณรงค์ชยั
พระพุทธศาสนามหายาน ผศ.ดร.สุวญ
ิ รักสัตย์
โศลกมูลฐานว่าด้วยทางสายกลาง : นาคารชุน
เจตนารมณ์ของการศึกษามหายาน
 เพื่อแสวงหาความเหมือนในความต่าง (Unity in
Diversity)
 เพื่อจะได้เข้าใจพระพุทธศาสนาโดยภาพรวม
 เพื่อศึกษาตามแนวพุทธปรัชญายุคใหม่ (Buddhist
Post Modernism)
 เพื่อเข้าถึงหลักธรรมในพระพุทธศาสนาว่าด้วย
การไม่ยึดมัน่ (Non-Attachment)
World Paradigm





Primitive Paradigm
Ancient Paradigm
Mediaeval Paradigm
Modern Paradigm
Post Modern Paradigm
Competition
Language of Philosophy
Language of Science
Hermeneutics
clearing concept
What is philosophy?
What is religion?
What is Buddhist Philosophy?
What is Mahayana?
What is Mahayana Philosophy?
สาเหตุเกิดมหายาน
เกิดจากวิวฒ
ั นาการทางแนวคิดของมนุษย์
่ ี่แตกต่างกันของพระสงฆ์
เกิดจากความเป็ นอยูท
เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของบ้านเมือง
เกิดจากอิทธิ พลของแนวคิดศาสนาอื่น
เกิดจากอิทธิ พลของวรรณคดี
วิวฒ
ั นาการทางความคิดของมนุษย์ ในยุคต่ างๆ
ความคิดของมนุษย์ ยคุ ดึกดาบรรพ์
ความคิดของมนุษย์ ยุคพระเวท (โบราณ)
ความคิดของมนุษย์ ยุคอุปนิษทั (โบราณ)
ความคิดของมนุษย์ ยุคพุทธกาล (โบราณ+กลาง)
ความคิดของมนุษย์ ยุคหลังพุทธกาล (กลาง)
 พุทธบัญญัติที่ทรงอนุ โลมตามสถานการณ์ ภูมิอากาศ และ
สถานที่
 การเน้ นหลักธรรมต่ างกัน
 การอดทนต่ อธรรมวินัยไม่ ได้
 บทเรียนจากศาสนาอืน
่ เกีย่ วกับความแตกแยก
เหตุแห่ งความแตกแยก
๑. ศาสดาไม่ ดี ธรรมไม่ ดี สาวกไม่ ดี
๒.ศาสดาไม่ ดี ธรรมไม่ ดี สาวกดี
๓. ศาสดาดี ธรรมดี สาวกไม่ ดี
๔. ศาสดาดี ธรรมดี สาวกดี
๕. ศาสดาดี ธรรมดี สาวกไม่ เข้ าใจ
๖. ศาสดาดี ธรรมดี สาวกเข้ าใจ
= ไม่ ดี
= น่ าติเตียน
= สาวกถูกติเตียน
= ดี
= แตกแยก
= ไม่ เดือดร้ อนภายหลัง
หลักความสามัคคี (สาราณียธรรม)

ทำด้ วยเมตตำ
 พูดด้ วยเมตตำ
 คิดด้ วยจิตเมตตำ
 แบ่งปั นสิ่งที่ได้ มำ
 มีควำมประพฤติเช่ นเดียวกัน
 มีควำมคิดไปในทำงเดียวกัน
เหตุการณ์ หลังพทุ ธกาลตอนต้ น

เหตุการณ์ ทางคณะสงฆ์
- พระมหากัสสปะปรารภเหตุควรทาสั งคายนา
- ปรับอาบัติพระอานนท์ เถระ
- พระปุราณะไม่ ยอมรับวินัยบางข้ อ
- ลงโทษพระฉันนะ
Buddhist Councils
 First
Buddhist Council
– Buddhist Principle as the Buddha
–As respecting the Buddha
– To preserve the Dhamma and
Vinaya
วัตถุ ๘ ประการ
อันโตวุตถะ
สามปักกะ
ตโตนีหฏะ
วนัฏฐะ
อันโตปักกะ
อุคคหิตะ
ปุเรภัตตะ
โปกขรัฏฐะ
เหตุการณ์ทางคณะสงฆ์เมื่อศตวรรษที่ ๑
• การประพฤติผิดวินยั ของพระภิกษุชาววัชชี
• การประพฤติผิดธรรมของพระมหาเทวะ
• คณะสงฆ์แยกเป็ น ๒ ฝ่ าย
- เถรวาท หรื อ สถวีระ
- มหาสังฆิกะ หรื อ อาจริ ยะ
สิ งคิโลณกัปปะ
คามันตรกัปปะ
อนุมต
ั กิ ปั ปะ
อมถิตกัปปะ
อทสกนิสีทนะ
ทวังคุลกัปปะ
อาวาสกัปปะ
อาจิณกัปปะ
ชโลคิง ปาตุง
ชาตรู ปรชตะ
Second Buddhist Councils
 To
Settle the Buddhist Principle as the
its origin
 To rectify the obscured teachings
 To harmonize the Sangha
๑๘ นิกาย
เถรวาท(หีนยาน, สถวีระ)
มหาสั งฆิกะ
โคกุลกิ ะ
ปัณณัตติกะ
มหิสาสกะ
เอกพโยหาริกะ
พหุลยิ ะ
อปรเสลิยะ
อุตตรเสลิยะ
เจติยวาท
สั พพัตถิกะ
วัชชีปุตตกะ
ธัมมคุตติกะ
ธัมมุตตริยะ
กัสสปิ กะ
ภัทรยานิกะ
สั งกันติกะ
ฉันนาคาริกะ
สุ ตตวาท
สมิติยะ
ความหลากหลายของคณะสงฆ์ที่ประพฤติ
ปฏิบตั ิแตกต่างกัน
หยุดทาสังฆกรรมร่ วมกันของคณะสงฆ์
มีการปลอมบวชเพื่อลาภสักการะ
รจนาคัมภีร์แก้ไขความเห็นผิด
ควำมเปลี่ยนแปลงทำงด้ ำนกำรเมือง-กำรปกครอง
กำรทำสงครำมระหว่ ำงพระเจ้ ำอชำตสัตรูกับแคว้ นวัชชี
รำชวงศ์ สูสุนำคทำสงครำมกับกองทัพกรีก
ต้ นรำชวงศ์ โมริยะนับถือศำสนำเชน-ฮินดู
ศึกสำยเลือดระหว่ ำงพี่น้องภำยในรำชวงศ์ โมริยะ
หำยนะของพระพุทธศำสนำระหว่ ำงรำชวงศ์ สุงคะ
รำชวงศ์ อินโด+กรีก รุ่ งอรุ ณแห่ งเถรวำท
รำชวงศ์ กุษำณะกับนิกำยสรวำสติวำทและมหำสังฆิกะ
รำชวงศ์ ศำตวำหนะ ยุคมหำยำนรุ่ งเรือง
Third Buddhist Council
- To harmonize the Buddhist
Sangha


To propragate the Buddha’s Teaching
To verify the Buddhist Teaching
จารึกพระเจ้ าอโศกเกีย่ วกับความสามัคคีในสงฆ์
 “ข้ าได้ กระทาให้ สงฆ์ มคี วามสามัคคีเป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกันแล้ ว บุคคลใดๆ จะเป็ นภิกษุหรือภิกษุณี
ก็ตาม ก็ไม่ อาจทาลายสงฆ์ ได้ ก็แลหากบุคคลใดจะ
เป็ นภิกษุหรือภิกษุณกี ต็ ามจักทาสงฆ์ ให้ แตกกัน
บุคคลนั้นจักต้ องถูกบังคับให้ น่ ุงหุ่มผ้ าขาวและไป
อยู่อาศัย ณ สถานที่อนื่ ...”
Buddhist Missionaries








พระมัชฌันติกะและคณะ
พระมหาเทวะและคณะ
พระรักขิตะและคณะ
พระธรรมรักขิตะและคณะ
พระมหาธรรมรักขิตและคณะ
พระมัชฌิมะและคณะ
พระโสณะและพระอุตตระ
พระมหินทะและคณะ
แคว้ นแคชเมียร คันธาระ
ลุ่มแม่ นา้ โคธาวารี
แคว้ นกนรา
แคว้ นอปรันตกชนบท
แคว้ นโยนก (ประเทศอิหร่ าน-อิรัก)
ทางเทือกเขาหิมาลัย
ทางสุ วรรณภูมิ
ลังกา
พระปารศวเถระ เป็ นประธาน
พระเถระผูใ้ หญ่ พระวสุ มิตร พระธรรมตาระ พระศรี โฆษะ พระพุทธ
เทวะ และท่านอาสวโฆษ
 มีพระอรหันต์ ๕๐๐ มีพระโพธิ สตั ว์ ๕๐๐ และมี บัณฑิตอีก ๕๐๐
 มีพระเจ้ากนิ ษกะ เป็ นผูอ้ ุปถัมภ์
 ทาที่ปุรุษประ แคว้นกาษมีระ
 สร้างมณฑปไว้บรรจุพระไตรปิ ฎก


อุปเทศศาสตร์ (พระสุ ตตันตปิ ฎก) ๑๐๐,๐๐๐ โศลก
วินยวิภาษาศาสตร์ (พระวินัยปิ ฎก) ๑๐๐,๐๐๐ โศลก
 อภิธรรมวิภาษาศาสตร์ (พระอภิธรรมปิ ฎก) ๑๐๐,๐๐๐ โศลก
อิทธิพลของศาสนาฮินดู
- เทพเจ้าของฮินดู
- หลักธรรมทีห
่ ลากหลายของฮินดู
 อิทธิพลของสานักปรัชญา นยายะ
ไวเศสิ กะ สั งขยา โยคะ มีมามสา
เวทานตะ
 อิทธิพลของศาสนาเชน Karmic

นยายะ เหตุผลทีเ่ กิดจากการอนุ มาน
และตรรกะ
 ไวเศสิ กะ องคประกอบแห
งความจริ
ง
่
์
ทีบ
่ อกได้
 สั งขยา ภาคทฤษฎีเกีย
่ วกับพุทธิกบ
ั ต
มัส
 โยคะ ภาคปฏิบต
ั ใิ นการขจัดตมัส

อิทธิพลของวรรณกรรมทำงศำสนำ

อิทธิพลของคัมภีรภ์ คั วัคคีตา
อิทธิพลของวรรณกรรมทำงศำสนำ

อิทธิพลของคัมภีรย์ ุคนี้
- อภิธรรมปิ ฎก
- อรรถกถา
- พระสูตรมหายาน