10.โลกทัศน์การพัฒนาแบบตะวันออก

Download Report

Transcript 10.โลกทัศน์การพัฒนาแบบตะวันออก

การพัฒนาภาคพิสดาร
เศรษฐศาสตร์การเมืองของโลกทัศน์ตะวันออก
Political Economy of Eastern
Weltanschauung (Worldviews)
โพธิ์งาม
ผ ศ . ด ร . จิ ต ร ก ร
ปรัชญาตะวันออก
การพัฒนา คือ การทาให้รกรุงรัง
พุทธทาสภิกขุ
“ความสุขของประชาชาติ สาคัญกว่าผลผลิตของประชาชาติ”
Jigme Singye Wangchuck
กษัตริยแ
์ ห่งภูฐาน
Gross National Happiness = GNH
Gross National Product = GNP
เศรษฐศาสตร์แห่งความสุข
ไม่มีความสุขในเศรษฐศาสตร์แบบตะวันตก
การพัฒนาแบบตะวันตก / หรือใช้ทฤษฎีตะวันตก
ที่มีโลกทัศน์แบบตะวันตก เกิดท่ามกลางบรรยากาศของ :
- โลภ
- โกรธ
- หลง
- กลัว
การพัฒนาแบบตะวันตกจึงไม่สามารถก่อให้เกิดความสุขได้
เศรษฐศาสตร์ตะวันออก
จุดมุ่งหมายหลัก :
- ไม่ใช่แสวงหาประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ
- แสวงหาความสุข
“maximization of happiness”
ไม่มีความสุขในทุนนิยม
ทุนนิยมแบบอเมริกน
ั เน้นเรือ
่ งตลาดเสรี การแข่งขันทางธุรกิจ
การแสวงหาประสิทธิภาพ และกาไรสูงสุด การแสวงหา
ความก้าวหน้า ความร่ารวย ความเจริญ ลัทธิบริโภคนิยม ชีวิต
แบบนี้ “ไม่มีความสุข”
ทุนนิยม รัฐ สวัสดิการ แบบยุโรปตะวันตก มีแนวทางคล้ายกัน
แต่มีพื้นทีม
่ ากกว่าในการใฝ่ฝน
ั ถึง “ความสุข”
อุดมการณ์ทุนนิยม
อุดมการณ์ทน
ุ นิยม สร้างความเพ้อฝัน ว่า
มีเงินทองมาก ๆ มีรายได้เพิ่มขึ้น สะสมวัตถุสงิ่ ของให้มาก ๆ
นั่นคือ ความสุข
นักเศรษฐศาสตร์แนวจิตวิทยา D. KAHNEMAN
(รางวัลโนเบล ปี 2002) บอกว่า การมีวต
ั ถุสงิ่ ของรายได้มากขึน
้
ไม่ได้ทาให้คนเรามีความสุข
แต่ลัทธิวต
ั ถุนย
ิ มและบริโภคนิยม ก็ยงั คงเป็นความใฝ่ฝน
ั ของ
โลกตะวันตกต่อไป
ข้อสงสัย
บางคนตั้งข้อสังเกตว่า ในประเทศไทยเราเป็นสังคม
ของชาวพุทธ
แต่ทาไมคนไทยจึงถูกครอบงาอย่างง่ายดายจาก
อุดมการณ์ทุนนิยม
ซึ่งเน้นเรือ
่ งความเจริญ และการสะสมวัตถุสงิ่ ของ ?
พุทธศาสนาตอบได้ไหม – จากการท้าทายของค่านิยม
ที่มาจากตะวันตกในยุคโลกาภิวัตน์ ?
อุดมการณ์ทุนนิยมกับการพัฒนา
ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คน คือ แรงงาน / ผู้ใช้แรงงาน /
คนทางาน คนต้องสร้างความเจริญให้แก่ระบบ คนเป็นปัจจัยการ
ผลิต
มีหน้าทีร่ บ
ั ใช้ระบบ
คนแบบทุนนิยม จึงเป็นคนที่รบ
ั ใช้ระบบทุนนิยม
ชีวิตแบบนีเ้ ต็มไปด้วยการทางาน การแข่งขันและความตึงเครียด
ในจิตใจ เป็นชีวต
ิ ทีไ
่ ร้ความสุข เป็นเศรษฐกิจแบบ joyless
economy
การพัฒนา – เพื่อใคร ?
แบบตะวันตก : คนต้องรับใช้การพัฒนา
แบบตะวันออก : การพัฒนาต้องรับใช้คน
- จุดมุ่งหมายของการพัฒนา คือ คน
ประชาชน ต้องเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
พุทธปรัชญา
เพื่อนาความสุขกลับคืนมา การพัฒนาแบบตะวันออก
ต้องมี “เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ” เป็นพื้นฐาน (Buddhist
Economics)
จริยศาสตร์แนวพุทธ และจักรวาลวิทยาแนวพุทธ
ชี้ทางไว้วา่
ความสุขของคนเรา เกิดจากดุลภาพ ระหว่าง วัตถุ กับ
จิตวิญญาณ :
สุขกาย สบายใจ จิตผ่องใส
ความหลากหลายของความเชือ
่
สาหรับชุมชนทีไ
่ ม่ใช่ชาวพุทธ ความเชื่อในศาสนา
อื่น ๆ เช่น อิสลาม คริสต์ ฮินดู ก็เป็นพืน
้ ฐานสาคัญ
สาหรับการพัฒนา เพือ
่ ความสุขเช่นกัน
เต๋าแห่งความสุข : อยู่อย่างเต๋า อยู่กับธรรมชาติ
นิพพานบนภูเขาหิมาลัย
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธในภาคปฏิบต
ั ิ ส่วนใหญ่มก
ี ารนามาประยุกต์ใช้
ในระดับจุลภาค / ระดับชุมชน/ ระดับโครงการ
ตัวอย่างทีส
่ าคัญ : สันติอโศกในไทย
สรรโวธัยในศรีลงั กา
ในระดับชาติ มีแห่งเดียวเท่านัน
้ ในโลก : ประเทศภูฐาน ใช้เศรษฐศาสตร์
แนวพุทธ (มหายาน) เป็นพืน
้ ฐาน ในการพัฒนาประเทศระดับมหภาค
จุดมุง่ หมายเบือ
้ งต้น : เพื่อสร้างสังคมทีม
่ ค
ี วามเจริญ ทั้งวัตถุ และจิตวิญญาณ
จุดมุง่ หมายสุดท้าย : เพื่อพระนิพพานบนภูฐาน ?
หลักการพืน้ ฐานของการพัฒนา
ประตู
สัจจธรรม
แนวทาง
ใจ – ความว่าง
สัจธรรมสมบูรณ์ :
ปัญญา (หญิง)
พัฒนาจิต
วจี – พลัง
สัจธรรมสัมพัทธ์ :
เมตตา / กรุณา ,
สร้างความยุตธ
ิ รรม ความโปร่งใส
และการมีสว
่ นร่วม
กาย – กรรม
ปฏิบต
ั ิ (ชาย)
ดาเนินชีวต
ิ อย่างยัง่ ยืน
หลักการพัฒนาเหล่านี้ ได้มาจาก คาสอนของปรัชญามหายาน
หลักการบริหารจัดการ 8 ข้อ
กลุ่มนักปรัชญาชาวภูฐาน เชื่อว่า ประชาชนจะมีความสุขได้ จะต้องมี
การบริหารจัดการ โดยใช้หลักการ 8 ข้อ (พัฒนามาจาก “มรรคมีองค์แปด”)
- การพัฒนาจิต
- การส่งเสริมความคิด
ที่เป็นอิสระ
- การอนุรก
ั ษ์วฒ
ั นธรรม
- การพัฒนาเศรษฐกิจ
ที่มค
ี วามสมดุล
- การพิทก
ั ษ์ปกป้องธรรมชาติ
- การสร้างความยุตธ
ิ รรม และ
ธรรมาภิบาล
- การพัฒนาการศึกษา
- การพัฒนาปัจจัย พื้นฐาน
สาหรับการดารงชีวต
ิ
หลักการทัง้ หมด ไม่จาเป็นต้องทาพร้อมกัน ปัญหาคือ จะทาอะไร ? เมื่อไร ?
ภาพรวมคือ ต้องทาให้ครบ 8 หลักการ
คัมภีร์เล่มใหม่
ดูเอกสารเกีย
่ วกับเรือ
่ ง GNH
(Gross National Happiness) รวบรวมแนวคิด
การพัฒนาบนพืน
้ ฐานของพุทธปรัชญาแนวมหายาน
Centre for Bhutan Studies (Thimphu)
เอกสารสัมมนาระดับนานาชาติ 2 ครั้ง
2004 – 5 เกี่ยวกับแนวคิด GNH
ความขัดแย้งทางความคิด
หลายทศวรรษทีผ
่ า่ นมา ทางการภูฐานได้รเิ ริม
่ สร้างแนวคิดใหม่
เกี่ยวกับ “ความสุข” ช่วงนั้น มีการเน้นหลักการ “พึ่งตนเอง”
อย่างมาก ในปัจจุบน
ั หลักการนีไ
้ ด้หายไป
หลักการการพัฒนา (ทางการ) มีอยู่ 4 ข้อเท่านั้น
- ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม ที่ยั่งยืนและเป็นธรรม
- อนุรักษ์วฒ
ั นธรรมภูฐาน
- พิทักษ์รก
ั ษาสิง่ แวดล้อม
- สร้างระบบธรรมาภิบาล
นี่คือ เสาหลัก 4 ต้นของ GNH
บางอย่างที่หายไป
นอกจากหลักการ “พึ่งตนเอง” แล้ว เสาหลัก 4 ต้น ไม่ได้
กล่าวถึงเรือ
่ งจิตวิญญาณ และการส่งเสริมทางด้านจิตใจ
มีแนวโน้มว่า ในยุคโลกาภิวัตน์ ภูฐานอาจหลงเข้าไปใน
กระแส “การพัฒนา” แบบสมัยใหม่ที่เน้นความเจริญ
ทางวัตถุ
ในแนวคิดของภูฐานไม่มม
ี ิตท
ิ างการเมือง
มิติทางการเมือง
การเมือง ทาให้คนไม่มค
ี วามสุข เพราะศักยภาพการ
ดารงชีวต
ิ ถูกบัน
่ ทอนอย่างรุนแรง ภายใต้โครงสร้าง
อานาจที่ครอบงา
โลกทัศน์ตะวันออก ต้องให้ความสนใจแก่มิติทาง
การเมือง
เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยความสุข ต้องไม่ละเลยมิติ
การเมือง
การเมือง กับ ความสุข
* โครงสร้างอานาจ
ความสุข
*วัฒนธรรมการเมือง
*ผลประโยชน์
* ในแนวคิดของเศรษฐกิจการเมือง การเมืองเป็นเรือ
่ งของ
อานาจอภิสท
ิ ธิ์ อิทธิพล ความขัดแย้ง การต่อสู้ การเคลือ
่ นไหว
และการเปลีย
่ นแปลงสังคม การเมืองเป็นเรือ
่ งของประชาชนคน
เดินดิน
เส้นทางของการวิเคราะห์แนวใหม่
เศรษฐศาสตร์การเมืองของโลกทัศน์ตะวันออก ควรหันไปศึกษา
แนวคิดใหม่ ๆ เกีย
่ วกับการต่อต้านทฤษฎีการพัฒนาที่มาจาก
ทุนนิยมของโลกตะวันตก
โดยเฉพาะอย่างยิง่ แนวคิดที่เรียกว่า POST – DEVELOPMENT
= ก้าวข้ามพ้นการพัฒนา
แนวนี้ให้ความสาคัญแก่วธ
ิ ก
ี ารวิเคราะห์ “วาทกรรมการพัฒนา”
(development discourses)
บทสรุป
“เราไม่อาจแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ โดยการใช้วถ
ิ ค
ี ด
ิ
แบบเก่า ๆ ที่เป็นต้นตอในการสร้างปัญหาเหล่านี้”
วาทะของ ALBERT EINSTEIN
ระลึกถึง 2005 : ฉลอง 100 ปี EINSTEIN
THE END