ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และการจัดการศึกษา ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตรริย ์ นาเสนอโดย นางไมตรรี เยาวหลี ผูอ้ านวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยา เศ “. .

Download Report

Transcript ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และการจัดการศึกษา ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตรริย ์ นาเสนอโดย นางไมตรรี เยาวหลี ผูอ้ านวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยา เศ “. .

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy)
และการจัดการศึกษา
ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตรริย ์
นาเสนอโดย
นางไมตรรี เยาวหลี
ผูอ้ านวยการโรงเรียนท่าข้ามวิทยา
เศ
“. . . .
ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
ี ต
เป็นเสมือนรากฐานของชว
ิ
ร า ก ฐ า น ค ว า ม ม ่น
ั คงของ
แผ่นดินเปรียบเสมือนเสาเข็ ม
ที่ถู ก ตอกรองร บ
ั บ้า นเรือ น
ต ัว อ า ค า ร ไ ว้ น ่ ั น เ อ ง ส ิ่ ง
ก่ อ สร้า งจะม น
่ ั คงได้ก็ อยู่ ท ี่
เสาเข็ ม แต่คนส่วนมากมอง
ไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็ ม
ี ด้วยซา้ ไป...”
เสย
พระราชดาร ัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห
่ ัว
ั ัฒนา
จากวารสารชยพ
2
อั
“... น นี้เ คยบอกว่ า ความ
้ ม่ไ ด้ห มายความ
พอเพีย งนีไ
ว่า ทุกครอบคร ัวจะต้องผลิต
อาหารของต ัว จะต้อ งทอผ้า
ใส่ เ อง อย่ า งน น
ั้ ม น
ั เกิน ไป
แ ต่ ว่ า ใ น ห มู่ บ้ า น ห รื อ ใ น
อ า เ ภ อ จ ะ ต้ อ ง มี ค ว า ม
พอเพีย งพอสมควรบางส ิ่ง
บางอย่า งทีผ
่ ลิต ได้ม ากกว่ า
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก็ ข า ย ไ ด้
แ ต่ ข า ย ใ น ที่ ไ ม่ ห่ า ง ไ ก ล
ี ค่าขนส่ง
เท่าไหร่ ไม่ตอ
้ งเสย
มากน ัก...”
พระราชดาร ัสเนือ
่ งในโอกาสว ันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธ ันวาคม ๒๕๔๐
3
“. . . ข อ ใ ห้ ทุ ก ค น มี ค ว า ม ป ร า ร ถ น า
ทีจ
่ ะให้เ มือ งไทยพออยู่พ อกิน มีค วาม
ส ง บ แ ล ะ ท า ง า น ต ั้ ง อ ธิ ษ ฐ า น
้ จ
ต งั้ ปณิ ธ าน ในทางนีท
ี่ ะให้เ มือ งไทย
อยูแ
่ บบพออยูพ
่ อกินไม่ใช่วา
่ จะรุง
่ เรือ ง
อย่างยอด แต่วา
่ มีความพออยูพ
่ อกิน
มีค วามสงบ เปรีย บเทีย บก บ
ั ประเทศ
อืน
่ ๆ ถ้า เราร ก
ั ษาความพออยู่พ อกิน นี้
ได้ เราก็จะยอดยิง่ ยวดได้...
ฉะน น
ั้ ถ้า ทุ ก ท่ า นซ ึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ นผู ้ ท ี่ ม ี
ความคิดและมีอท
ิ ธิพล มีพล ังทีจ
่ ะทาให้
ึ่ มีค วามคิด เหมือ นก น
ผู อ
้ น
ื่ ซ ง
ั ช่ ว ยก น
ั
รก
ั ษาส ่ว นรวมให้อ ยู่ด ก
ี น
ิ ดีพ อสมควร
ขอยา้ พอควร พออยู่ พอกิน มีความสงบ
ไม่ให้คนอืน
่ มาแย่ง คุณ สมบ ัตินจ
ี้ ากเรา
ไปได้ ก็ จ ะเป็ นของขว ญ
ั วน
ั เกิด ทีถ
่ าวร
ทีจ
่ ะมีคณ
ุ ค่าอยูต
่ ลอดกาล”
พระราชดาร ัสเนือ
่ งในโอกาสว ันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธ ันวาคม ๒๕๔๒
4
“. . . ใน ก า ร พ ัฒ น า ป ร ะ เ ท ศ น ั้น
จ า เ ป็ น ต้ อ ง ท า ต า ม ล า ด ั บ ข ั้ น
้ ฐาน คือความ
เริม
่ ด้วยการสร้างพืน
มี ก ิ น มี ใ ช ้ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ก่ อ น
ด้ว ยวิธ ีก ารที่ป ระหย ด
ั ระม ด
ั ระว ง
ั
แ ต่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ล ก
ั วิ ช า เ มื่ อ
้ ฐานเกิด ขึน
้ มน
พืน
่ ั คงพอควรแล้ว
จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญข น
ั้ ที่
้ ตามลาด ับต่อไป...”
สูงขึน
“...การถือ หล ักทีจ
่ ะส ่ง เสริม ความ
เ จ ริ ญ ใ ห้ ค่ อ ย เ ป็ น ค่ อ ย ไ ป
ตามลาดบ
ั ด้ ว ย ค ว า ม ร อ บ ค อ บ
ระม ด
ั ระว งั และประหย ด
ั นน
ั้ ก็ เ พื่อ
ป้ องก น
ั ความผิด พลาดล้ม เหลว
แ ล ะ เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ลุ ผ ล ส า เ ร็ จ ไ ด้
แน่นอนบริบร
ู ณ์...”
พระบรมราโชวาทในพิธพ
ี ระราชทานปริญญาบ ัตรของ
มหาวิทยาล ัยเกษตรศาสตร์ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗
5
“ความสุขความเจริญ
อ ันแท้จริงนน
ั้ หมายถึง
ความสุข ความเจริญที่
บุคคลแสวงหามาได้
ด้วยความเป็นธรรม
ทงในเจตนาและการ
ั้
่ ด้มา
กระทา ไม่ใชไ
ด้วยความบ ังเอิญหรือ
ด้วยการแก่งแย่ง
เบียดบ ังมาจากผูอ
้ น
ื่ ”
(พระราชดาร ัสในพิธก
ี าญจนาภิเษก)
6
“การสร้างสรรค์ตนเอง การ
สร้างบ้านเมืองก็ตามมิใช่
สร้างได้ในว ันเดียว ต้องใช ้
้ วามเพียร ต้อง
เวลา ต้องใชค
้ วามอดทนเสย
ี สละ แต่ท ี่
ใชค
สาค ัญทีส
่ ด
ุ คือ ความอดทน
คือไม่ยอ
่ ท้อ ไม่ยอ
่ ท้อในสงิ่ ที่
ดีงาม สงิ่ ทีด
่ งี ามนนม
ั้ ันน่าเบือ
่
บางทีเหมือนว่าไม่ได้ผล ไม่
ด ัง คือดูม ันครึ แต่ขอร ับรอง
ว่า การทาให้ด ี ไม่ครึ ต้องมี
ความอดทน เวลาข้างหน้าจะ
เห็นผลแน่นอน”
(27 ตุลาคม 2547)
7
“การทาความดีนน
ั้
สาค ัญทีส
่ ด
ุ อยูท
่ ต
ี่ ัวเอง
ผูอ
้ น
ื่ ไม่สาค ัญและไม่ม ี
ความจาเป็นอ ันใดที่
จะต้องเป็นห่วงหรือ
ต้องรอเขาด้วย เมือ
่ ได้
ลงมือลงแรงกระทา
แล้ว ถึงแม้วา
่ จะมีใคร
ร่วมมือด้วยหรือไม่ก็
ตาม ผลดีทจ
ี่ ะต้อง
้ แน่นอน”
เกิดขึน
(20 ตุลาคม 2520)
8
ประเด็นของการนาเสนอ
๑.
๒.
๓.
๔.
ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการประยุกตร์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
9
๑
ความเป็ นมาของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10
ปั ญหาของการพัฒนาที่ผ่านมา
๑
หนี้สินเพิ่ม / สัดส่วนเงินออมลด
ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม / ภัยธรรมชาติ
ความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชน
ค่านิยม / ศีลธรรม / จรรยาบรรณ เสื่อมลง
11
ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑
• ยุคสมัยแห่งการพัฒนา
• รูปแบบของการพัฒนามีความเสี่ยงค่อนข้างสูง
• สาธิตแนวทางการพัฒนาที่แตกต่าง
• แสดงผลของการดาเนินงานเพื่อเป็ นทางเลือกที่
เหมาะสมกับระดับขั้นของการพัฒนาของประเทศ
12
๑
พระปฐมบรมราชโองการ
ณ พระที่นงั ่ ไพศาลทักษิณ
วันศุกร์ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓
เนื่ องในวันบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่ งมหาชนชาวสยาม”
13
๑
พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน
ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น
ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ิตนก็พอเพียง
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
14
๑
โลภน้อย คือ พอเพียง
คนเราถ้าพอในความต้องการ
ก็มีความโลภน้อย
เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย.
ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยูเ่ ป็ นสุข.
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
15
เศรษฐกิจพอเพียงมีหลายระดับ
๑
“....ไฟดับถ้ามีความจาเป็ น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เตร็มที่ เรามี
เครื่องปั ่นไฟก็ใช้ปั่นไฟ หรือถ้าขัน้ โบราณว่า มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะ
แก้ปัญหาเสมอ ฉะนัน้ เศรษฐกิจพอเพียง ก็มีเป็ นขัน้ ๆแตร่จะบอกว่า
เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตรัวเองร้อยเปอร์เซ็นตร์นี่เป็ นสิ่งที่ทา
ไม่ได้ จะตร้องมีการแลกเปลี่ยน ตร้องมีการช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกัน
แลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้ว แตร่ว่าพอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้
คือ ให้สามารถที่จะดาเนิ นงานได้…”
จากกระแสพระราชดารัสวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒
16
๑
สหกรณ์
“สหกรณ์ แปลว่า การทางานร่วมกัน การทางานร่วมกันนี้
ลึกซึ้งมาก เพราะว่าต้องร่วมมือกันในทุกด้าน ทัง้ ในด้านงาน
ที่ทาด้วยร่างกาย ทัง้ ในด้านงานที่ทาด้วยสมอง และงานการที่
ทาด้วยใจ ทุกอย่างนี้ขาดไม่ได้ตอ้ งพร้อม”
(พระราชดารัสพระราชทานแก่ผูน้ าสหกรณ์การเกษตร
สหกรณ์นิคม และสหกรณ์ประมงทั ่วประเทศ
ณ ศาลาดุสิดาลัย ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖)
17
พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
๑
เสด็จออกมหาสมาคม ณ พระที่นงั ่ อนันตรสมาคม
เมื่อวันศุกร์ที่ ๙ มิถนุ ายน ๒๕๔๙
ประการแรก คือการที่ทุกคนคิดพูดทาด้วยความเมตตา มุ่งดีมุ่งเจริญ
ต่อกายต่อใจต่อกัน
ประการที่สอง คือการที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงานประสาน
ประโยชน์กนั ให้งานที่ทาสาเร็จผลทั้งแก่ตนแก่ผอู ้ ื่น
และแก่ประเทศชาติ
ประการที่สาม คือการที่ทุกคน ประพฤติปฏิบตั ติ นสุจริตในกฎกติกา
และในระเบียบแบบแผนโดยเท่าเทียมเสมอกัน
ประการที่สี่ การที่ตา่ งคนต่างพยายามทาความคิดความเห็นของตนให้ถูกต้อง
เที่ยงตรง และมั ่นคง อยูใ่ นเหตุในผล หากความคิดจิตใจ
และการประพฤตปฏิบตั ทิ ี่ลงรอยเดียวกัน ในทางที่ดีที่เจริญนี้
ยังมีพร้อมมูลในกายในใจคนไทย ก็มั ่นใจว่าประเทศชาติไทย
จะดารงมั ่นคงอยูไ่ ปได้
18
๑
เป้าหมายของการพัฒนา
การพัฒนาคนให้ พออยู่พอกิน → อยู่ดีมสี ุข
 คนต้องพึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ง มีศกั ยภาพ / มีทางเลือก
สุขภาพ ความรู ้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ
 คนต้องอยูก่ บ
ั ผูอ้ ื่นในสังคม ได้อย่างสันติสุข
ไม่เบียดเบียน แบ่งปั น
 คนต้องอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม ได้อย่างยั ่งยืน
ไม่ทาลาย เห็นคุณค่า อนุ รกั ษ์
19
๒
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คืออะไร
20
๒
21
สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑
แนวคิดหลัก
เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์
เป้าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
หลักการ
ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิคมุ ้ กันที่ดีในตัวพอสมควร ต่อการ
มีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ภายนอกและภายใน
ทางสายกลาง  พอเพียง
พอประมาณ
เงื่อนไขพื้นฐาน (ความรูค้ ู่คุณธรรม)
 จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง
อย่างยิง่ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการ
ดาเนินการทุกขั้นตอน
 การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ
นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดาเนินชีวิต
ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปั ญญา และความรอบคอบ
มีเหตุผล
เงื่อนไขความรู้
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภมู ิ ค้มุ กัน
ในตัวที่ดี
เงื่อนไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปญั ญา
www.sufficiencyeconomy.org
๒
เศรษฐกิจพอเพียง & ทฤษฎีใหม่
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดที่ช้ ีบอกหลักการและแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบตั ิ
ความพอเพียง
ระดับบุคคล
เศรษฐกิจพอเพียง
แบบพื้นฐาน
ความพอเพียง
ระดับชุมชน/องค์กร
เศรษฐกิจพอเพียง
ความพอเพียงระดับประเทศ
แบบก้าวหน้า
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๑
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๒
ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๓
23
สรุปหลักการทรงงาน
 ระเบิดจากข้างใน
๒
คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา
 ปลูกจิตสานึก
 เน้นให้พึ่งตนเองได้
 คานึงถึงภูมิสงั คม
 ทาตามลาดับขั้น
 ประหยัด
เรียบง่าย
ประโยชน์สูงสุด
ปฏิบตรั ิอย่างพอเพียง
 บริการที่จุดเดียว
 แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
 ไม่ตด
ิ ตารา
 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
 การมีส่วนร่วม
 รู ้ รัก สามัคคี
เป้าหมายคือสังคมพอเพียง
 มุ่งประโยชน์สุขคนส่วนใหญ่
24
สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
๒
 เป็ นวิถีการดาเนินชีวิต ที่ใช้คณ
ุ ธรรมนาความรู ้
 เป็ นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม
ประเทศชาติ ให้กา้ วหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มั ่นคง
ยั ่งยีน
 เป็ นหลักปฏิบตั เิ พื่อให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสุข
ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับธรรมชาติ
25
๓.
การประยุกตร์ใช้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓
การประยุกตร์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตรนเอง เป็ นหลัก
การทาอะไรอย่างเป็ นขัน้ เป็ นตรอน รอบคอบ ระมัดระวัง
 พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตรุสมผล
และการพร้อมรับความเปลี่ ยนแปลงในด้านตร่างๆ
 การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลใน
แตร่ละสัดส่วน แตร่ละระดับ
 ครอบคลุมทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี
ทรัพยากรธรรมชาตริและสิ่ งแวดล้อม รวมถึงจิตรใจ และ
วัฒนธรรม
27
การประยุกตร์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ในด้านตร่างๆ
๓
ด้านเศรษฐกิจ
ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผนอย่าง
รอบคอบ/มีภูมิคมุ ้ กันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสารอง
ด้านจิตรใจ
มีจติ ใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ /มีจติ สานึกที่ดี /เอื้ออาทร
ประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รูร้ กั สามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้
ครอบครัวและชุมชน
ด้านสังคม
ด้านทรัพยากร
ธรรมชาตริและ
สิ่งแวดล้อม
รูจ้ กั ใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้
ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด /
ฟื้ นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั ่งยืนสูงสุด
ด้านเทคโนโลยี
รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ
สภาพแวดล้อม (ภูมิสงั คม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา
ชาวบ้านเองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก
28
ตรัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง
โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม ๗
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
รูเ้ หตรุ
รูผ้ ล
รูตร้ น
รูป้ ระมาณ
รูก้ าล
รูบ้ ุคคล
รูช้ ุมชน
๓
ความมีเหตุมีผล
ความพอประมาณ
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
29
คุณลักษณะของกิจกรรม
ตรามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
ความมีเหตรุมีผล
พอเหมาะกับ
สภาพของตน
รูส้ าเหตุ – ทาไม
รูป้ ั จจัยที่เกี่ยวข้อง
(ปั จจัยภายใน)
วิชาการ/กฏหมาย
/ความเชื่ อ/ประเพณี
พอควรกับภูมิสงั คม
(ปั จจัยภายนอก)
รูผ้ ลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นในด้านต่างๆ
(สมดุล)
๓
มีภูมิคมุ ้ กันที่ดี
คานึงถึงการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ
รูเ้ ท่าทัน และ
เตรียมความพร้อม
(วางแผน/รอบคอบ/
เรียนรู ้ /พัฒนาตน/ทาประโยชน
รักษ์สิ่งแวดล้อม)
(รอบรู/้ สติ ปั ญญา)
สามารถพึ่งตรนเองได้ และเป็ นที่พ่ึงของผูอ้ ่ืนได้ในที่สุด
30
ตรัวอย่างการประยุกตร์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
ในระดับบุคคลและครอบครัว
๓
31
๓
ตรัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
พอประมาณ :
มีเหตรุมีผล :
รายจ่ายสมดุลกับรายรับ
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุผล /มีความจาเป็ น /ไม่ใช้
สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่างคุม้ ค่าประหยัด
มีภูมิคมุ ้ กัน :
มีเงินออม /แบ่งปั นผูอ้ ื่น /ทาบุญ
ความรูค้ ่คู ุณธรรม : ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความ
ขยันหมั ่นเพียร ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจ
และดาเนินการต่างๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
32
สรุปข้อสังเกตรเกี่ยวกับ
การประยุกตร์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
๓
• การประยุกตร์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพี ยง เกิ ดได้หลายด้าน
และหลายรูปแบบ ไม่มีสูตรรสาเร็ จ แตร่ละคนจะตร้องพิ จารณา
ปรับใช้ ตรามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะ
ที่ตรนเผชิญอยู่
• ปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จะช่ ว ยให้เ รา “ฉุ ก คิ ด ” ว่ า มี
ทางเลื อ กอี ก ทางหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้เ กิ ด ความยัง่ ยื น มัน่ คง และ
สมดุลในระยะยาว
33
๔
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
ด้านการศึกษา
แนวทางการขับเคลื่อน
กลไก
การขับเคลื่อน
• คณะที่ปรึกษา
ผู้ทรงคุณวุฒิ
• คณะอนุ
กรรมการ
ขับเคลื่อนฯ
• คณะทางาน
เครือข่าย
ต่างๆ
สร้างเพื่อน สานข่าย
ขยายผล
สร้างองค์ความรู ้
ฐานข้อมูล
ประชาสังคม
องค์กร
ภาครัฐ
ผูน้ าทาง
ความคิด
วิชาการ
พัฒนาเครือข่ายเรียนรู ้
เศรษฐกิจพอเพียง
องค์กร
ภาคเอกชน
สื่อมวลชน
และประชาชน
สถาบัน
การเมือง
สถาบัน
การศึกษา
และเยาวชน
พัฒนากระบวนการเรียนรู ้
ค้นหาตัวอย่างรูปธรรม
ที่เหมาะสม
ที่หลากหลาย
กับกลุม่ เป้าหมายต่างๆ
๒๕๔๖
ระยะเวลาขับเคลื่อน ๔ ปี
๒๕๕๐
๔
หลัง ๒๕๕๐
ผลระยะยาว
คนไทย
ใช้ชีวิต
บนพื้นฐาน
เศรษฐกิจ
พอเพียง
สังคมไทย
มีเครือข่าย
ความร่วมมือ
เศรษฐกิจ
พอเพียง
การพัฒนา
อยู่บน
พื้นฐาน
เศรษฐกิจ
พอเพียง
35
ขัน้ ตรอนการขับเคลื่ อนเศรษฐกิจพอเพียง
(๒๕๔๗ – ๒๕๕๐)
๔๗
•สานแกนนา
ขับเคลื่อน
•เครื่องมือ
เรียนรู ้
•แผน/ทิศทาง
ขับเคลื่อน
จุดประกาย
๔๙
๔๘
•สร้างแกนนา
เครือข่าย
•พัฒนาคน
•พัฒนาสื่อเรียนรู ้
•ขยาย
แหล่งเรียนรู ้
ตรอกเสาเข็ม
๔
๕๐
•ขยายเครือข่าย
•สื่อสารแบบ
ผสมผสาน
สู่สาธารณชน
ขยายผล
•เทิดพระเกียรติ
•แต่ละเครือข่าย
ร่วมนา
เสนอผลงาน
เห็นคุณค่า
นาไปปฏิบตรั ิ
36
ความเป็ นมาของการขับเคลื่ อน
เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
2547
2548
2549
๔
2550
กิจกรรม ประกวดความเรียง
ขับเคลื่อน “ตัวอย่างเศรษฐกิจ
- ประกวดสื่อการเรียนการ
สอน “ฐานรากการเรียนรู้
พอเพียงทีข่ า้ พเจ้ารูจ้ กั ” เศรษฐกิจพอเพียง”
(5 ระดับ)
- ค้นหาตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน (9 โรงเรียน 9
ตัวอย่าง)
พัฒนาตัวอย่างหน่ วยการ
เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
(หน่วยหลัก / หน่วยบูรณา
การ) ทุกชัน้ ปี / ปวช. /
กศน.
-1 เขตพืน้ ที่ 20
สถานศึกษา
- ขยายเครือข่าย
แลกเปลีย่ นเรียนรู้
เป้ าหมาย
-สร้างความสนใจ
-กระตุน้ ความสนใจในวงการ
-เผยแพร่ความรูค้ วาม การศึกษา
เข้าใจทีถ่ ูกต้อง
- ตรวจสอบสถานภาพการสอน
เศรษฐกิจพอเพียงในห้องเรียน
- พัฒนาบุคลากร / เครือข่าย
สถานศึกษา
- พัฒนาเครือ่ งมือการ
ประยุกต์ ใช้ ปศพ. สู่
สถานศึกษา
-สอนเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างถูกต้อง/ เป็ น
รูปธรรม / มีความหมาย
-- บริหารสถานศึกษา
และพัฒนาผูเ้ รียนตาม
แนวทาง ปศพ.
- ส่งประกวด 1500 ชิน้
ข้อเท็จจริงที่ - ส่วนใหญ่ยงั เข้าใจไม่
ค้นพบ ถูกต้อง (เกษตรทฤษฎี
ใหม่ / ประหยัด / ไม่
นาเข้า ฯลฯ)
- ส่งประกวดกว่า 500 ชิน้
- เรืม่ เข้าใจถูกต้องมากขึน้ (3
ห่วง 2 เงือ่ น)
- สือ่ ทีส่ อนครบถ้วนตามคา
นิยามมีน้อย
-ความสนใจในการนา ปศพ.
ไปใช้จดั การศึกษามีมาก แต่
ยังขาดองค์ความรู้ และ
เครือ่ งมือ
-การขับเคลือ่ นจะสาเร็จ
ผูบ้ ริหารต้องเป็ นผูน้ า
37
โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา
๔
คณะผูบ้ ริหารสถานศึกษา
กลุ่มบริหารจัดการ
และบริการ
กลุ่มจัดการการศึกษา
เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้
และฝึ กทักษะ
แผนกธุรการ
แผนกการเงิน
แผนกบุคคล
จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อ
พัฒนาผูเ้ รียน
ตามแนวทาง ศกพ.
• มาตรฐานการเรียนรู้
• หน่ วยการเรียนรู้
• แผนจัดการเรียนรู้
แผนกสถานที่
38
การส่งเสริมคุณธรรมนาความรู ้
ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน
คุณธรรมนาความรู ้
การบริหารจัดการศึกษา
- สร้างวัฒนธรรมองค์กร
- ปลูกฝังให้เป็ นวิถีชีวิต
สวก. / สพฐ. (28 พ.ย.49)
การจัดหลักสู ตรการเรียนการสอน
- กาหนดมาตรฐานการเรียนรู ้
ชั้นปี (รายวิชาพื้ นฐาน)
- จัดทารายวิชาเพิ่มเติม
- สร้างหน่วยการเรียนรู ้
- จัดกิจกรรมการเรียนรู ้
- จัดทาสื่อ
- จัดทาเครื่องมือวัดและ
ประเมินผล
- เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น
เศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การแนะแนว
- การให้บริการแนะแนว
- ระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน
เน้ น
กิจกรรมนักเรียน
- ลส.-นน., ยุวกาชาด,
รด., ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์
- โครงงาน - ชุมนุม
- ชมรม - ค่ายอาสา
ฯลฯ
จิตอาสา / การมีส่วนร่ วม
การยอมรับคุณค่ าของตนเอง / ผู้อนื่ 39
การนาหลักพอเพียงไปปรับใช้ในโรงเรียน
ผูบ้ ริหาร ครู สามารถนาเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ได้ ดังนี้
1.
ด้านการบริหารจัดการ
•
•
งานบุคคล วิชาการ งบประมาณ ด้านบริหารทั ่วไป
การนาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ เน้นการมีส่วนร่วม การช่วยเหลือเกื้อกูล รู ้
รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็ง อยูบ่ นฐานของความมีเหตุมีผล
พอประมาณกับศักยภาพและสถานภาพ และความไม่ประมาท
2. ด้านการจัดหลักสูตรร โดยการ
•
•
สอนวิชาที่ว่าด้วยเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ตามมาตรฐาน ส 3.1 เพื่อให้
นักเรียนมีความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้
เป็ นวิถีชีวิต
จัดทารายวิชาเพิ่มเติมที่สอดคล้องกับสภาพและความต้องการ โดยใช้หลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาวิเคราะห์ เพื่อกาหนดรายวิชา
40
การนาหลักพอเพียงไปปรับใช้ในโรงเรียน
3.
ด้านการจัดการเรียนการสอน
จัดทาหน่วยการเรียนรู ้ แผนการเรียนรู ้ หรือสื่อการเรียนรู ้ ทีม่ ีการบูรณาการ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสาระการเรียนรู ้ ของกลุ่มสาระต่างๆ
4.
ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
จัดกิจกรรมที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้นกั เรียนได้ปฏิบตั เิ กี่ยวกับ
 การมีวินยั ในการใช้จา่ ย







การประหยัด การออม
การพึ่งตนเอง โดยการผลิตหรือสร้างรายได้
การรูจ้ กั ช่วยเหลือสังคมหรือชุมชน
การสร้างสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม
การสืบสานวัฒนธรรมไทย
การส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามคาสอนทางศาสนา
การสร้างความสมานฉันท์
41
๔
มาตรรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชัน้ ที่ ๑)
ประถมศึกษาปี ที่ ๑
ประถมศึกษาปี ที่ ๒
ประถมศึกษาปี ที่ ๓
๑ รู้จกั ช่วยเหลือตนเอง
๑ ปฏิบตั ิ หน้ าที่ของตนเอง และ
ครอบครัว อย่างมีความ
รับผิดชอบ
๒ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
๒ รู้จกั ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ๒ รู้จกั เลือกใช้ทรัพยากรอย่าง
และคุ้มค่า
ประหยัดและคุ้มค่า
๓ รู้จกั การออม
๓ มีวินัยในการใช้จ่าย
๓ วิเคราะห์ร่ายรับ- รายจ่าย
ของตนเอง
๔ รู้จกั การแบ่งปัน สิ่งของที่มี
ให้กบั ผูอ้ ื่น
๔ รู้จกั การแบ่งปันสิ่งของ
ช่วยเหลือผูอ้ ื่น
๔ รู้จกั เสียสละแบ่งปันทรัพยากร
ที่มี เพื่อประโยชน์ ต่อส่วนรวม
๕ ปฏิบตั ิ ตนตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงอย่างมีความสุข
๕ ชื่นชมและปฏิบตั ิ ตนตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
อย่างมีความสุข
๑ รู้จกั ช่วยเหลือครอบครัว และ
ชุมชน
42
๔
มาตรรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชัน้ ที่ ๒)
ประถมศึกษาปี ที่ ๔
ประถมศึกษาปี ที่ ๕
ประถมศึกษาปี ที่ ๖
๑ เข้าใจหลักแนวคิดของเศรษฐกิจ
พอเพียง และนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิต ประจาวัน
๑ ปฏิบตั ิ ตนตามหลักแนวคิดของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๑ เข้าใจระบบและวิธีการดาเนินงาน
ขององค์กรใน ชุมชน ตามหลัก
แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
๒ สารวจ สภาพปัญหา
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมในชุมชน และเสนอ
แนวทางแก้ปัญหา
๒ วิเคราะห์การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลในชุมชน
๒ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ตามหลักแนวคิดของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๓ เข้าใจสภาพรายรับ-รายจ่ายของ
ตนเอง และวางแผนการใช้จ่าย
ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจ
พอเพียง.
๓ เข้าใจสภาพรายรับ- รายจ่าย ของ ๓ วิเคราะห์วางแผนและจัดทาบันทึก
ครอบครัว และนาหลักแนวคิด
รายรับ-รายจ่ายของตนเองและ
ของเศรษฐกิจพอเพียง มาลด
ครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ
รายจ่าย และเพิ่มรายได้ให้
ครอบครัว
๔ สารวจและเห็นคุณค่าของ ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น
๔ มีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์และ
เผยแพร่ภมู ิ ปัญญาท้องถิ่นของ
ชุมชน
๔ รวบรวมองค์ความรู้ของ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้
43
๔
มาตรรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชัน้ ที่ ๓)
มัธยมศึกษาปี ที่ ๑
มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
๑ รู้และเข้าใจประวัติความ
เป็ นมา ความหมาย หลัก
ปรัชญาละแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง
๑ สารวจวิเคราะห์ปัญหา แนว
ทางแก้ไข การพัฒนาชุมชน
ด้านสังคม เศรษฐกิจ
บนพืน้ ฐานของหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
๒ สามารถนาหลักการ แนวคิด ๒ มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้
พัฒนาชุมชน ด้านสังคม
ในการจัดการทรัพยากรที่มี
เศรษฐกิจ บนพืน้ ฐานหลัก
อยู่ของตนเอง ครอบครัว
แนวคิดของเศรษฐกิจ
และชุมชน
พอเพียง
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓
๑ สารวจวิเคราะห์ปัญหา
แนวทางแก้ไข การพัฒนา
ชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม และภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
๒ มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
พัฒนาชุมชน ด้าน
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น บน
พืน้ ฐานหลักแนวคิดของ
เศรษฐกิจพอเพียง
44
๔
มาตรรฐานการเรียนรู ้ (ช่วงชัน้ ที่ ๔)
มัธยมศึกษาปี ที่ ๔
มัธยมศึกษาปี ที่ ๕
มัธยมศึกษาปี ที่ ๖
๑ เข้าใจและวิเคราะห์การบริหาร
จัดการองค์กร วิสาหกิจชุมชน
ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
๑ เข้าใจและวิเคราะห์การ พัฒนา
ประเทศ ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๑ เข้าใจและวิเคราะห์การ พัฒนา
ประเทศ ให้ก้าวหน้ าไปได้อย่าง
สมดุล ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์
โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๒ ตระหนักในความสาคัญของการ ๒ ตระหนักในความสาคัญของการ ๒ ตระหนักในความสาคัญของการ
บริหารจัดการองค์กร วิสาหกิจ
พัฒนาประเทศ ตามหลักปรัชญา พัฒนาประเทศให้ก้าวหน้ าไปได้
ชุมชน ตามหลักปรัชญาของ
ของเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างสมดุล ภายใต้กระแสโลกา
เศรษฐกิจพอเพียง
ภิวตั น์ โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๓ นาแนวทางการบริหาร จัดการ ๓ นาแนวทางการพัฒนา ประเทศ ๓ นาหลักการพัฒนาประเทศให้
องค์กรวิสาหกิจชุมชนตามหลัก
ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ
ก้าวหน้ าไปได้อย่างสมดุล
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการ
ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ มา
มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต ดาเนินชีวิต
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
45
การสอนแบบบูรณาการ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
๔
๑. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระที่ ๑ : ศาสนา ศี ลธรรม จริยธรรม
 ยึดมัน่ ในหลักศีลธรรม การกระทาความดีมีค่านิ ยมที่ดีงาม
 การพัฒนาตน บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อการอยูร่ ่วมกันได้
อย่างสันติสุข
สาระที่ ๒ : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
 การดารงชีวติ อยูร่ ่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
 วิถีชีวติ ประชาธิปไตย (คารวะธรรม สามัคคีธรรม ปั ญญาธรรม)
สาระที่ ๓ : เศรษฐศาสตร์
 การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยูจ่ ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวติ อย่างมีดุลยภาพ
46
การสอนแบบบูรณาการ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
๔
๑. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ต่อ)
สาระที่ ๔ : ประวัตศิ าสตร์
 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์บนพื้ นฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผลมาวิเคราะห์
เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็ นระบบ
 วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย มีความภูมิใจและรักษาความเป็ นไทย
สาระที่ ๕ : ภูมิศาสตร์
 ระบบธรรมชาติและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง
 ความสัมพันธ์ของมนุ ษย์กบั สภาพแวดล้อม
 การสร้างสรรค์วฒ
ั นธรรมที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
 จิตสานึ กอนุ รกั ษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยงั ่ ยืน
47
การสอนแบบบูรณาการ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
๔
๒. วิทยาศาสตร์
 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมการจัดการ
 ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยัง่ ยืน
๓. คณิตศาสตร์
ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
 การแก้ปัญหา
 การให้เหตุผล
 เชื่อมโยงความรูต้ ่างๆทางคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อื่นๆได้
48
การสอนแบบบูรณาการ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
๔
๔. ภาษาไทย
ฟั ง พูด อ่าน เขียน







สานวนไทย
การแสดงความคิดเห็น
บทร้อยแก้ว
คาขวัญ
การคัดลายมือ
การสรุปใจความ
การทาหนังสือเล่มเล็ก/ เล่มใหญ่
๕. ภาษาต่างประเทศ
 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
 ภาษาและวัฒนธรรม
 ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก
49
การสอนแบบบูรณาการ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
๔
๖. ศิลปะ
 คุณค่างานศิลปะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยและภูมิ
ปั ญญาท้องถิ่น
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 ทักษะกระบวนการ การจัดการ การทางานเป็ นกลุ่ม การแสวงหาความรู ้
การแก้ไขปั ญหา ฯลฯ
 มีคุณธรรม มีจิตสานึ กในการใช้พลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
๘. สุขศึกษา และพลศึกษา
 เข้าใจและเห็นคุณค่าของชีวิตและมีทกั ษะในการดาเนิ นชีวิต
50
๔
ตรัวอย่างการบูรณาการกิจกรรม
เศรษฐกิจพอเพียงในช่วงชัน้ ที่ ๓
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๑. รูจ้ กั การใช้จา่ ยของตนเอง
ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมีผล
อย่างพอประมาณ
ประหยัด เท่าที่จาเป็ น
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
บันทึกบัญชีรายรับและรายจ่าย
วิเคราะห์บญ
ั ชีรายรับและ
รายจ่าย
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่
ฟุ่ มเฟื อย
52
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๒. รูจ้ กั ออมเงิน มีกลไก
ลดความเสี่ยง
ระบบสวัสดิการ
ระบบออมเงิน
ระบบสหกรณ์
ระบบประกันต่างๆ
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
• ออมวันละหนึ่งบาท
• สัปดาห์การออม
• จัดตั้งกลุม่ /สหกรณ์
ออมทรัพย์
53
๔
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๓. รูจ้ กั ประหยัด
ใช้และกินอย่างมีเหตุผล
ไม่ฟุ่มเฟื อย
ใช้พลังงานเท่าที่จาเป็ น
ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า
ตัวอย่างกิจกรรม
ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ไว้กิน ไว้ขาย
ใช้สินค้าที่ประหยัดพลังงาน
รีไซเคิลขยะเพื่อนามาใช้ใหม่
นาของเหลือใช้ มาทาให้เกิด
ประโยชน์
54
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ)
หลักปฏิบตั ิ
๔. พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจโดย
ผลิต หรือสร้างรายได้ ที่
สอดคล้องกับความต้องการ
สอดคล้องกับภูมิสงั คม
สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
สอดคล้องกับทรัพยากรท้องถิน่
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
เน้นการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง ให้
พอเพียงกับการบริโภค และการ
ผลิตที่หลากหลาย เช่น
ปลูกพืชผักผสมผสาน
ปลูกพืชสมุนไพรไทย
ผลิตสินค้าจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
จัดอบรมพัฒนาอาชีพในชุมชน
55
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านสังคม)
หลักปฏิบตั ิ
ตัวอย่างกิจกรรม
๕. รูจ้ กั ช่วยเหลือสังคม
หรือชุมชน
ปลูกจิตสานึกสาธารณะ
ปลูกฝังความสามัคคี
ปลูกฝังความเสียสละ
เผยแพร่องค์ความรู ้
เศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาความรูค้ ่คู ณ
ุ ธรรม ผ่านกิจกรรม
รวมกลุม่ ต่างๆ
• จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข
• จัดกิจกรรมช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส
• จัดค่ายพัฒนาเยาวชน
• จัดตั้งศูนย์เรียนรูภ้ ายในชุมชน
๔
56
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านสิ่งแวดล้อม)
หลักปฏิบตั ิ
๖. สร้างสมดุลของ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ปลูกจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
ฟื้ นฟูแหล่งเสื่อมโทรมในท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรใน
ท้องถิ่น
ฟื้ นฟูดแู ลสถานที่ทอ่ งเที่ยวใน
ท้องถิ่น
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
พัฒนาความรูเ้ กี่ยวกับดิน น้ า
ป่ า เพื่อฟื้ นฟู รักษา
• โครงการชีววิถี
• จัดอบรมการอนุรกั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
• จัดทาฝายแม้ว
57
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
๗. สืบสานวัฒนธรรมไทย
สร้างจิตสานึกรักษ์ไทย
รักบ้านเกิด
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์อาหาร
ประจาท้องถิ่น
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์ดนตรีไทย
และเพลงไทย
ฟื้ นฟูและอนุรกั ษ์วตั ถุโบราณ
และโบราณสถาน
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
• ปลูกฝังมารยาทไทย
• ส่งเสริมอาหารประจาท้องถิ่น
• ส่งเสริมการใช้ภาษาประจา
ท้องถิ่น
• ทานุบารุงโบราณวัตถุและ
โบราณสถาน
58
ตรัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
ในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม)
หลักปฏิบตั ิ
๘. ส่งเสริมพระพุทธศาสนา
ปลูกจิตสานึกความรักชาติ
ตระหนักถึงคุณค่าของ
พระพุทธศาสนา
จงรักภักดีตอ่
พระมหากษัตริย ์
๔
ตัวอย่างกิจกรรม
• ให้ความสาคัญกับการรักษาศีล
หรือสวดมนต์เป็ นประจา
• ส่งเสริมการฝึ กอบรมสมาธิภาวนา
• ร่วมกันทะนุบารุงศาสนา
• พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
• รณรงค์การใช้สินค้าไทย
59
๔
เครือข่ายโรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง ปี ๒๕๔๘
ภาคเหนือตอนบน
รร. เทศบาลจามเทวี
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนบน ตอนกลาง
ภาคเหนือตอนล่าง
รร. กาญจนาภิเษกวิทยาลัย
รร. บ้านเหลากกหุ่งสว่าง
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนล่าง
รร. บ้านกุดเชียงหมี
ตัวอย่าง
กิจกรรม
ศกพ.
ภาคตะวันออก
รร. มกุฏเมืองราชวิทยาลัย
ภาคใต้ฝั ่งอ่าวไทย
ภาคกลางตอนบนและตะวันตก
รร. กัลยาณีศรีธรรมราช
รร. จุฬาภรณราชวิทยาลัย
ภาคใต้ฝั ่งอันดามัน
กทม.และปริมณฑล
รร. ไทยรัฐวิทยา
รร. ราชวินิต มัธยม
60
สื่ อรากฐานการเรียนรู ้ เศรษฐกิจพอเพียง
๔
ที่ได้รบั รางวัลของ สมศ. ปี ๒๕๔๙
ช่วงชัน้
ช่วงชัน้ ที่ ๑
(ป.๑ - ป.๓)
ช่วงชัน้ ที่ ๒
(ป.๔ - ป.๖)
ชื่ อสื่อการเรียนการสอน
๑ แผนการสอนกลุ่มทักษะภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์
ภาษา ชั้น ป.๑ เรื่อง หนูแหวนกับพี่สาว
๒ นิทานชุดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓ นิทานเรื่องนักพัฒน์คนเก่ง
๑ ตามรอยพ่อของแผ่นดิน พออยูพ
่ อกิน และพอเพียง
๒ ตามรอยพ่อหลวงสูค่ วามพอเพียง
๓ บทเรียน อิเลคทรอนิกส์ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
61
ตรัวอย่างสื่ อการเรียนการสอน
ช่วงชัน้
ช่วงชัน้ ที่ ๓
(ม.๑ - ม.๓)
ช่วงชัน้ ที่ ๔
(ม.๔ - ม.๖)
ช่วงชัน้ อาชี วศึกษา
๔
ชื่ อสื่อการเรียนการสอน
๑ หนังสืออิเลคทรอนิกส์เพื่อการศึกษา
๒ บทเรียนการ์ตนู เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
๓ การทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
๔ หนังสือเล่มเล็กวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
๕ เศรษฐกิจพอเพียง (คู่มือการใช้ ซีดีรอม พาวเวอร์พอยท์)
๑ ชุดการเรียนด้วยตนเองเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
๒ สื่อสิ่งประดิษฐ์ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
๓ สื่อวีดีโอซีดี เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
๑ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิชาภูมิปัญญาท้องถิ่น
62
องค์กรหลักในการขับเคลื่ อน
สพฐ.
กกต.
เอกชน
อาชีวศึกษา
สป./ศธ.
วพ./ทก.
การศึกษา
เอกชน
กศน.
กทม.
อปท.
๔
 แต่ละองค์กรมีแผนงาน/
แผนปฏิบตั งิ านของตนเอง
และใช้ทรัพยากรของตนเอง
 ทุกองค์กรหลักรวมพลังกัน
ขับเคลี่อน เพื่อแลกเปลี่ยน
เรียนรู ้ เสริมพลัง ขยายผล
กิจกรรม
 ร่วมมือกับพันธมิตรนอก
เครือข่าย เพี่อขยายผล สู่
ชุมชน สังคม
สานเครือข่าย ขยายความรู ้ ควบคู่ประชาสัมพันธ์
63
ก. กรอบแนวทำงกำรดำเนินงำน
๑.จัดทำสื่อ ตัวอย่ำงหน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี
บูรณำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่กำรเรียนกำรสอน ทุกระดับกำรศึกษำ
- ทดลองใช้ส่อื ตัวอย่ำงฯ
- ปรับปรุงและพัฒนำสื่อตัวอย่ำง
- ส่งเสริมและพัฒนำบุคลำกร
๒.ส่งเสริมสนับสนุนประสำนงำนกำร
ดำเนินงำนเครือข่ำยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
พอเพียง ในและนอกสังกัด
(ภำครัฐและเอกชน)
๓.จัดทำระบบข้อมูลสำรสนเทศ และ
เชื่อมโยงเครือข่ำยทัง้ ในและนอกสังกัด
(ภำครัฐและเอกชน) ฯลฯ
ข. ขยำยผลกำรดำเนินงำน (องค์กรหลัก)
สพฐ.
สกอ.
ง. ติดตำมและประเมินผล
- พัฒนาตัวชี้ วัดความพอเพียง
- จัดทารายงานความก้าวหน้า
- ติดตามผลงานในพื้ นที่
- ติดตามบุคลากรทางการศึกษา
- ติดตามนักเรียน/นักศึกษา
และประชาชน
ฯลฯ
สป. (กศน./
(สช./กคศ.
/สนพ./
สนย.)
การขับเคลือ่ นฯ
ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่
สถานศึกษา
องค์กร
ในกากับ ศธ.
สอศ.
๑. กำรบูรณำกำรปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่กำรเรียนกำร
สอนในสถำนศึกษำ
๒. กำรนำปรัชญำของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่กำรบริหำรจัดกำร
สถำนศึกษำ.
- พัฒนำบุคลำกร
- ส่งเสริมกำรเรียนกำรสอน
ฯลฯ
ค. กำรเผยแพร่
และประชำสัมพันธ์
สกศ.
๑.ประสำนควำมร่วมมือและ
เชื่อมโยงเครือข่ำย ภำยใน
และภำยนอก
๒.เผยแพร่หลักปรัชญำ
เศรษฐกิจพอเพียง
- จัดทำสื่อสิงพิมพ์ใน
รูปแบบต่ำงๆ รวมทัง้ สื่อ
เทคโนโลยี
- จัดทำเวบไซด์
- จัดนิทรรศกำรผลกำร
ดำเนินงำน ฯลฯ
ภาพความสาเร็จ
๑. สถานศึกษาขั้นพื้นฐานนาหลักคุณธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในการบริหารจัดการ
๒. ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง มีความรู ้ ความเข้าใจ
และปฏิบตั ติ นตามหลักคุณธรรมและหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. นักเรียนปฏิบตั ติ นตามหลักคุณธรรมนาความรูแ้ ละมีวิถีชีวิต ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔. ผูป้ กครอง ชุมชน มีวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
65
ติดต่อเรา
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์
๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐๒-๖๘๗-๓๖๖๒
โทรสาร ๐๒-๒๘๒-๘๒๒๖
[email protected]
www.sufficiencyeconomy.org