© ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ การพัฒนาคนและองค์กรตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวข้อบรรยายและกิจกรรม ปศพ. การ ประยุกต์ใช้ กิจกรรม • ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • ความหมาย และกรอบแนวคิด • ตัวอย่างการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ • ตัวอย่างการขับเคลื่อนฯ ในองค์กร • จัดการความรู้ส่วนบุคคล • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม ั เศรษฐก พอเพี ยง ก้อามกั วหน้ าไปพร้อลมกับความสมดุล โครงการวิโครงการว จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี ยง ก้ิาจวหน้ าไปพร้ บความสมดุ.

Download Report

Transcript © ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ การพัฒนาคนและองค์กรตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวข้อบรรยายและกิจกรรม ปศพ. การ ประยุกต์ใช้ กิจกรรม • ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • ความหมาย และกรอบแนวคิด • ตัวอย่างการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ • ตัวอย่างการขับเคลื่อนฯ ในองค์กร • จัดการความรู้ส่วนบุคคล • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม ั เศรษฐก พอเพี ยง ก้อามกั วหน้ าไปพร้อลมกับความสมดุล โครงการวิโครงการว จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี ยง ก้ิาจวหน้ าไปพร้ บความสมดุ.

© ดร.ปรียานุช พิบลู สราวุธ
การพัฒนาคนและองค์กรตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หัวข้อบรรยายและกิจกรรม
2
ปศพ.
การ
ประยุกต์ใช้
กิจกรรม
• ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• ความหมาย และกรอบแนวคิด
• ตัวอย่างการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้
• ตัวอย่างการขับเคลื่อนฯ ในองค์กร
• จัดการความรู้ส่วนบุคคล
• แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
พระราชดารัสฯ
• ตัง้ แต่ ปี ๒๕๑๖ - ๑๗
• หลักคิดเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศ
รัฐธรรมนูญฯ ๕๐
• มาตรา ๗๘ (๑) หมวดบริหารราชการแผ่นดิน
• มาตรา ๘๓ แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ
NHDR (UNDP)
• การพัฒนาที่เน้ นคุณธรรม และขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ
• ขยายผลโดยการสร้างค่านิยม (mindset)
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
พระปฐมบรมราชโองการ
4
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่ งมหาชนชาวสยาม”
ณ พระที่นัง่ ไพศาลทักษิณ
วันศุกร์ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓
เนื่ องในพิธีบรมราชาภิเษก
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
พื้นฐานของการพัฒนาประเทศ
5
“...ในการพัฒนาประเทศนั น้ จาเป็ นต้ องทาตามลาดับขัน้ ตอน เริม่ ด้ วย
การสร้ า งพื้ นฐาน คื อความมี กิ น มี ใ ช้ ข องประชาชนก่ อ น ด้ ว ยวิ ธี การที ่
ประหยัดระมัดระวัง แต่ ถกู ต้ องตามหลักวิชา เมื อ่ พื้ นฐานเกิดขึ้ นมันคง
่
พอควรแล้ว จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญให้ ค่อยเป็ นค่อยไปตามลาดับ
ด้ ว ยความรอบคอบ ระมัด ระวัง และประหยัด นั น้ ก็เ พื อ่ ป้ องกัน ความ
ผิดพลาดล้มเหลว และเพือ่ ให้บรรลุผลสาเร็จได้แน่ นอนบริบรู ณ์ ...”
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ความพออยูพ
่ อกิน และความสงบ
6
“...ขอให้ ทุกคนมี ความปรารถนาที จ่ ะให้ เ มื องไทยพออยู่พ อกิ น
ไม่ใช่ ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความ
สงบ เปรียบเที ยบกับประเทศอื น่ ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอ
กินนี้ ได้ เราก็จะยอดยิง่ ยวดได้...”
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่ องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
โลภน้อย ไม่เบียดเบียน คือพอเพียง
7
“คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้ อย
เมือ่ มีความโลภน้ อย ก็เบียดเบียนคนอืน่ น้ อย.
ถ้าทุกประเทศมีความคิด – อันนี้ ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณ ไม่สดุ โต่ง ไม่โลภอย่างมาก
คนเราก็อยู่เป็ นสุข. ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอืน่ ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ
พูดจาก็พอเพียง ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบตั ิ ตนก็พอเพียง”
พระราชดารัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
8
สาเนาหนังสือพระราชทานพระ
บรมราชานุญาตให้เผยแพร่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒)
กรอบแนวคิด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิ ตนของประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ
พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์
เป้ าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทัง้ ทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม
สมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงใน
และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
หลักการ
ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมี
เหตุผล การสร้างภูมิค้มุ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมี
ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอก
และภายใน
ด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
ทางสายกลาง  พอเพียง
เงื่อนไขพื้นฐาน (คุณธรรมนาความรู)้
จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ใน
การวางแผน และการดาเนินการทุกขัน้ ตอน
การเสริมสร้างจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้ าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้
มีสานึ กในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มี
ความรอบรู
้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน
9
ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ
พอประมาณ
มีเหตุผล
เงื่อนไขความรู้
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
มีภมู ิ ค้มุ กัน
ในตัวที่ดี
เงื่อนไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปญั ญา
www.sufficiencyeconomy.org
www.sufficiencyeconomy.org
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
10
มาตรา ๗๘ (๑)
รัฐต้องบริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็ นไปเพือ่ การพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความ
มันคงของประเทศอย่
่
างยังยื
่ น โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตาม ปศพ. และคานึงถึง
ผลประโยชน์ในภาพรวมของประเทศชาติเป็ นสาคัญ
• ส่วนที่ ๓ แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา ๘๓
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มกี ารดาเนินการตามแนว ปศพ.
• ส่วนที่ ๗ แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
UNDP NHDR 2007 (รายงานการพัฒนาคน ๒๕๕๐)
11
เศรษฐกิจ
ด้านอื่นๆ
การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ
• สาธิตแนวทางการพัฒนาที่แตกต่าง/
เน้ นความยังยื
่ น
• แสดงผลของการดาเนินงานเพื่อเป็ น
ทางเลือกที่เหมาะสมกับระดับขัน้ ของ
การพัฒนาของประเทศ
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ข้อเสนอจากรายงานการพัฒนาคน ๒๕๕๐ ของ UNDP
12
๑ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่มีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับการขจัดความยากจนและการ
ลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจของคนจน
๒ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นพืน้ ฐานของการสร้างพลังอานาจของชุมชนและการพัฒนา
ศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อเป็ นฐานรากของการพัฒนาประเทศ
๓ เศรษฐกิจพอเพียงช่วยยกระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ด้วยการสร้างข้อปฏิบตั ิ
ในการทาธุรกิจที่เน้ นผลกาไรระยะยาวในบริบทที่มีการแข่งขัน
๔ หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญยิ่งต่อการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาลในการ
บริหารงานภาครัฐ
๕ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใช้เป็ นแนวทางในการกาหนดนโยบายของชาติ เพื่อ
สร้างภูมิค้มุ กันต่อสถานการณ์ที่เข้ามากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายต่างๆให้
เหมาะสมยิ่งขึน้ และเพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมการเติบโตที่เสมอภาคและยังยื
่ น
๖ ในการปลูกฝังจิตสานึ กพอเพียง จาเป็ นต้องมีการปรับเปลี่ยนค่านิยม และความคิดของคน
เพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาคน
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
พระมหากษัตริยน์ กั พัฒนา
13
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ตัวอย่างโครงการอันเนื่ องมาจาก
ทรงงานด้วยพระวิริยอุตสาหะ พระราชดาริ
 โครงการปลานิลจิตรลดา
อย่างต่อเนื่ อง เป็ นเวลา
ั หาน้าท่วม
 โครงการจัดการปญ
ยาวนาน กว่า ๖๐ ปี
กรุงเทพ
สร้างคุณูปการต่อคนไทย
 โครงการหญ้าแฝก
และสังคมไทย
 โครงการฝายชะลอน้ า
 โครงการหลวง
 โครงการแกล้งดิน
(หนังสือ “เพิ่มสมดุลฯ”)
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
การเรียนรูต้ ามรอยพระยุคลบาท
14
เรียนรูจ้ ากพระราชดารัสฯ
เรียนรูจ้ ากหลักการทรงงาน
เรียนรูจ้ ากโครงการพัฒนาฯ ต่างๆ
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
หลักการทรงงาน














ระเบิดจากข้างใน
ปลูกจิตสานึ ก
ศึกษาข้อมูลอย่างเป็ นระบบ
แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
ทาตามลาดับขัน้ คานึ งถึงภูมิสงั คม
คิดอย่างเป็ นองค์รวม มองอย่างครบวงจร
บริการรวมที่จดุ เดียว
ไม่ติดตารา ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์ สงู สุด
ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ใช้อธรรมปราบอธรรม
การมีส่วนร่วม
ขาดทุนคือกาไร รู้ รัก สามัคคี รู้เสียสละ
ซื่อสัตย์สจุ ริต จริงใจ ขยัน เพียร อดทน
เน้ นให้พึ่งตนเองได้ เริ่มจากพออยู่พอกิน
ประโยชน์ ส่วนรวม มุ่งประโยชน์ สขุ คนส่วนใหญ่
คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา
ปฏิบตั ิอย่างพอเพียง
เป้าหมายคือสังคมพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับ ทฤษฎีใหม่
16
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบตั ิ ของทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบตั ิ
ความพอเพียง
ระดับประเทศ
ความพอเพียง
ระดับชุมชน/องค์กร
ความพอเพียง
ระดับบุคคล/ครอบครัว
เศรษฐกิจพอเพียง
แบบก้าวหน้ า
เศรษฐกิจพอเพียง
แบบพืน้ ฐาน
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ทฤษฎีใหม่ขนั ้ ที่ ๓
ทฤษฎีใหม่ขนั ้ ที่ ๒
ทฤษฎีใหม่ขนั ้ ที่ ๑
ลักษณะของกิจกรรมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
17
พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคมุ ้ กันในตัว
• พอเหมาะกับ
สภาพของตน
(ปัจจัยภายใน)
• พอควรกับภูมิ
สังคม
(ปัจจัยภายนอก)
• รู้สาเหตุ – ทาไม
• รู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
(วิชาการ กฎหมาย
ความเชือ่ ประเพณี )
• รู้ผลกระทบที่จะ
เกิดขึน้ ในด้านต่างๆ
- กว้างแคบ ใกล้ไกล
• รู้เท่าทันการ
เปลี่ยนแปลง
ในด้านต่างๆ และ
เตรียมความพร้อม
• วางแผน รอบคอบ
เรียนรู้ พัฒนาตน ทา
ประโยชน์ ให้สงั คม
รอบรู้ สติปัญญา
ไม่ประมาท
สมดุล
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ลักษณะพิเศษของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
18
หลักพอเพียง คือ หลักในการบริหาร/พัฒนาคน
ให้มีคณ
ุ ภาพ เพื่อการพัฒนาที่ยงยื
ั่ น
•
•
•
•
การพัฒนาที่ก้าวหน้ าไปพร้อมกับความสมดุล
การพัฒนาที่มนคงอย่
ั่
างเป็ นขัน้ ตอน โดยเริ่มจากฐานราก
มุ่งประโยชน์ ส่วนรวม และความสุขที่ยงยื
ั่ น
พัฒนาคุณภาพคน ให้มีคณ
ุ ธรรมกากับความรู้
“ตามรอยพ่อ ชีวิตพอเพียง สู่การพัฒนาที่ย่งั ยืน (๒๕๕๒)”
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ เพื่อวางแผน/ทาโครงการ
19
หัวข้อ :
ปัญหา/
ความสนใจ
ใครควรมีส่วน
ร่วม / สาคัญ
ทาไมถึงสนใจ
ปัญหา/
ประเด็นนี้
คนในองค์กร/
สังคม
มีแนวโน้ มจะ
สนับสนุน/
ต่อต้าน ???
ความคาดหวัง/
ผลที่อยากให้
เกิดขึน้
เมื่อไรควรเริ่ม -หยุด
/ ควรทาอะไร
ก่อนหลัง/ขัน้ ตอน
การทางาน
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ศักยภาพและ
การเตรียม
ความพร้อม
ประเมิน
สถานการณ์ /
ความเป็ นไปได้
ที่จะดาเนินการ
ตัวอย่างการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้
20
ด้านพืน้ ฐานจิตใจ
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านเทคโนโลยี
• รู้ผิดชอบชัวดี
่ ละอายต่อการทาความชัว่
• เข้าใจชีวิตและโลก ตามเป็ นจริง
• ใช้ชีวิตอย่างประมาณตน ใช้จ่าย/ใช้ของอย่างประหยัด
• คิดวางแผนอย่างรอบคอบ ไม่ประมาท มีเงินออม
• มีจิตสาธารณะ นึ กถึงประโยชน์ ส่วนรวมเป็ นหลัก รู้รกั สามัคคี
• เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
• รู้จกั เลือกใช้และจัดการอย่างคุ้มค่า และรอบคอบ
• ฟื้ นฟูทรัพยากรให้มีอยู่และพอใช้อย่างยังยื
่ น
• ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม กับความต้องการและภูมิสงั คม
• พัฒนาเทคโนโลยีต่อยอดจากฐานเดิมที่มี โดยคานึ งถึง
ประโยชน์ ต่อคนส่วนใหญ่
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ตัวอย่างการใช้จา่ ยอย่างพอเพียง
21
พอประมาณ
มีเหตุมีผล
รายจ่ายสมดุลกับรายรับ
ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล /มีความจาเป็ น /ไม่ใช้
สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่างคุ้มค่าประหยัด
มีภมู ิ ค้มุ กัน
มีเงินออม /แบ่งปันผูอ้ ื่น /ทาบุญ
ความรู้ค่คู ณ
ุ ธรรม ประกอบอาชีพที่สจุ ริต ด้วยความขยันหมันเพี
่ ยร
ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจและดาเนินการ
ต่างๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ตัวอย่างการใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล/ครอบครัว
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
การปรับพฤติกรรมสู่สุขภาวะพอเพียง
(สาธารณสุข)
23
การจัดการ
สิ่ งแวดลอม
้
พฤติกรรม
ความเสี่ ยง
พฤติกรรม
การบริโภค
พฤติกรรม
ทางเพศ
สุขภาพจิต
พฤติกรรม
ออกกาลังกาย
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
24
เน้ นการพัฒนาคน –
ครอบคลุม จิตสานึ ก
/ความรู้/ทักษะ
ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วตาม
ธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ สงู สุด
ทรัพยากรธรรมชาติเป็ น
ปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการ
พึ่งตนเอง
หาหนทางแก้ปัญหาและเทคนิค
วิธีต่อยอดจากธรรมชาติ/ภูมิ
ปัญญาเดิม
คานึ งถึงผลกระทบต่อ
ส่วนอื่นๆในระบบนิเวศน์
ให้ความสาคัญต่อห่วงโซ่
ความสัมพันธ์ที่ซบั ซ้อนใน
ระบบนิเวศน์
เลือกทางแก้ที่ประหยัด ปฏิบตั ิ
ง่าย และมีความยั ่งยืน
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
25
รู้ เข้าใจ
ปฏิบตั ิ
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
26
แผนฯ ๙
(พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙)
• มุ่งการพัฒนาที่สมดุล
คน สังคม เศรษฐกิจ
และสิ่งแวดล้อม
• เพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน
• บริหารจัดการที่ดี ใน
ทุกระดับ
แผนฯ ๑๐
(พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔)
• การพัฒนาคุณภาพคน
• การสร้างเข้มแข็งของ
ชุมชน
• การปรับโครงสร้าง
เศรษฐกิจ
• การพัฒนาบนฐานความ
หลากหลายทางชีวภาพ
• การเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
แผนฯ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)
• สร้างความเป็ นธรรม
• พัฒนาฐานการผลิต
และบริการให้
เข้มแข็งและมี
เสถียรภาพ
• สร้างภูมิค้มุ กัน
ประเทศ ให้เข้มแข็ง
พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่
ผูส้ าเร็จการศึกษาจาก มศว (๑๙ มิย. ๒๒ )
27
...การให้การศึกษานัน้ กล่าวสัน้ ๆ โดยความหมายรวบยอด คือ การช่วยให้บคุ คล
ค้นพบวิธีการดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไปสู่ความเจริญ และความสุข
ตามอัตภาพ...
...ผูส้ อนมีหน้ าทีต่ ้องหาความรู้ และวิธีการดาเนินชีวิตมาให้ศิษย์ได้รไู้ ด้ทราบ เพือ่ ให้
สามารถเรียนรู้ต่อไป และดาเนินชีวิตต่อไปได้ด้วยดี จนบรรลุจดุ หมาย หากผูส้ อน
มีอบุ ายอันแยบคาย ซึง่ เป็ นปัจจัยสาคัญทีส่ ดุ ทัง้ ในการแสวงหาความรู้ ทัง้ ในการ
ถ่ายทอดความรู้ เกิดจากความระลึกได้ถงึ ในความรู้ทีผ่ า่ นพบมาแล้ว ประกอบกับ
ความรู้ตวั และความคิดอ่านทีว่ ่องไวเฉลียวฉลาด ซึง่ ปกติชนทุกคน จะต้องฝึ กฝน
ให้เกิดขึ้นได้ ไม่เกินวิสยั แล้วนามาใช้ควบเข้ากับความรูค้ วามถนัดของตน ให้เป็ น
ประโยชน์ ได้ทุกโอกาส....”

ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ปศพ. กับการจัดการศึกษาของชาติ
ยึดหลักปศพ.
เป็ นปรัชญา
พืน้ ฐาน
มุง่ พัฒนาคน
อย่างรอบด้าน
และสมดุล เพื่อ
เป็ นฐานหลัก
ของการพัฒนา
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
แผนพัฒนาการศึกษาระดับต่างๆ
มาตรา ๓๓
ให้ สกศ. เสนอ
แผนการศึกษา
แห่งชาติ
สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาฯ
แผนการศึกษาแห่งชาติ (๕๒-๕๙)
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
28
หลักสูตร
การศึกษาใน
ระดับต่างๆ
สอดคล้องกับ
แผนการศึกษา
แห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง(๕๒-๕๙)
29
วัตถุประสงค์ของแผนฯ
มุง่ พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล เพื่อเป็ นฐานหลักของการพัฒนา
“คนไทยเป็ นคนดี เก่ง มีความสุข มีความรู้เชิงวิชาการ และสมรรถนะ
ทางวิชาชีพ ใฝ่ เรียนรู้ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต มี
สุขภาพทัง้ กายและใจที่สมบูรณ์ สามารถประกอบอาชีพ และอยู่
ร่วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อเป็ นเป้ าหมายและฐานหลักของการพัฒนาประเทศ”
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
30
จุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผูเ้ รียน เมื่อจบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๕ ข้อ
๑. มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง
มีวินัย และปฏิบตั ิ ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคณ
ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่นในสังคม ได้
อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ / ซื่อสัตย์สจุ ริต / มีวินัย / ใฝ่ เรียนรู้ /
อยู่อย่างพอเพียง / มุ่งมันในการท
่
างาน / รักความเป็ นไทย / มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานเรียนรู้ สาระสังคมฯ เศรษฐศาสตร์ ส.๓.๑
เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดลุ ยภาพ
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
แนวทางการนาหลักปศพ.ไปปรับใช้ในสถานศึกษา
31
การบริหารจัดการ
กาหนดเป็ นนโยบาย - งาน
วิ ชาการ งบประมาณ บุคคล
บริ หารทัวไป
่ ชุมชนสัมพันธ์
นาหลักการทรงงานมาปรับ
ใช้ในการทางาน และ
บริ หารสถานศึกษา
บริ หารทรัพยากรตามหลัก
ปศพ. การมีส่วนร่วม
รู้รกั สามัคคี ไม่ประมาท
การเรียนการสอน
สอนวิ ชา “เศรษฐกิ จ
พอเพียง”ตาม
มาตรฐานเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ ตาม
หลัก ปศพ.
สร้างบรรยากาศที่
ส่งเสริ มการเรียนรู้ ปศพ.
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
ต่อยอดหรือ
พัฒนา
กิ จกรรมที่
สอดคล้อง
กับภูมิสงั คม/
บริ บท
ใช้หลักคิ ด
หลักปฏิ บตั ิ ที่
สอดคล้องกับ
หลักวิ ชาการ
อย่าง
สมเหตุสมผล
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
มีการวางแผน
อย่างรอบคอบ
คานึ งถึงความ
เสี่ยงต่างๆ
ส่งเสริ มการ
เรียนรู้และ
คุณธรรม
เป้ าหมาย นักเรียนอยู่อย่างพอเพียง
สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
32
• ปลูกฝังให้เด็กและ
เยาวชน รู้จกั ใช้วตั ถุ/
สิ่งของ/ทรัพยากร
อย่างพอเพียง
• สร้างความภูมิใจ
• เห็นคุณค่าของ
วัฒนธรรม ค่านิยม
เอกลักษณ์ ความเป็ น
ไทย
วัตถุ
สังคม
วัฒน
ธรรม
สิ่งแวด
ล้อม
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
• ฝึ กการอยู่ร่วมกับ
ผูอ้ ื่นอย่าง
เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่/
แบ่งปัน/ไม่
เบียดเบียน
•ปลูกฝังจิตสานึ ก
รักษ์ธรรมชาติ/
สิ่งแวดล้อม
เป้าหมายของการขับเคลื่อนฯ ด้านการศึกษา
33
สถานศึกษา นา ปศพ. ไปใช้ในการ
บริหารจัดการศึกษา และดาเนิน
กิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ ต่อชุมชน/
สังคม
ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความ
เข้าใจ และปฏิบตั ิ ตนเป็ นแบบอย่าง
ตาม ปศพ.
ภาพความ
สาเร็จ
ผูเ้ รียน มีความรู้ ทักษะ ปฏิบตั ิ ตน
และดาเนินชีวิต ตาม ปศพ. “อยู่
อย่างพอเพียง”
ผูป้ กครอง ชุมชน ดาเนินชีวิต และ
มีการพัฒนาตาม ปศพ.
ั เศรษฐก
พอเพี
ยง ก้อามกั
วหน้
าไปพร้อลมกับความสมดุล
โครงการวิโครงการว
จยั เศรษฐกิิ จจยพอเพี
ยง ก้ิาจวหน้
าไปพร้
บความสมดุ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
34


การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ สามารถ
ทาได้ หลายด้ าน และหลายรูปแบบ โดยไม่ มีสูต รสาเร็จ
แต่ ล ะคนจะต้ อ งพิ จ ารณาน าไปปรับ ใช้ อ ย่ า งเหมาะสม
สอดคล้องกับเงื่อนไข บริบท สภาวะและภูมิสงั คม ในแต่
ละสถานการณ์ที่ตนเผชิญอยู่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้เรา “ฉุกคิด” ว่า
มี ท างเลื อ กอี กทางหนึ่ ง ที่ จะ ช่ วยท าให้ เกิ ดความ
เจริญก้าวหน้ า ที่ยงยื
ั ่ น มันคง
่ และสมดุลในระยะยาว
...อยูอ่ ย่างพอเพียง...
35
“คนทีน่ าหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้ผล มักจะมีคณ
ุ สมบัติที ่
เหมือนกันหลายอย่าง ได้แก่ ชอบทีจ่ ะทางานหนัก มีความซื่อสัตย์
สนุ กสนานกับการเรียนรู้ และการสร้างปญั ญาให้เกิดกับตนเอง เห็น
คุณค่าของการอยูร่ ว่ มกันในสังคม และการอยูร่ ว่ มกับระบบนิเวศวิทยา
อย่างสมดุล คนเหล่านี้ ไม่ใช่พวกวัตถุนิยม
แต่มกั จะคานึงถึงหลักการบริโภคแบบยังยื
่ น มีความเคารพธรรมชาติและ
ความเมตตาต่อเพือ่ นมนุษย์ดว้ ยกัน โดยสรุป พวกเขามี
จิตสานึ กและวิธีคิดในแบบฉบับเฉพาะ”
(NHDR, UNDP 2007)
ติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
โครงการวิจยั เศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
๑๗๓ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐๒ ๖๘๗ ๓๖๖๒
โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๘๒๒๖
[email protected]
www.sufficiencyeconomy.org
37
38
39
40
สื่ อสนับสนุ นจาก
โครงการวิจย
ั เศรษฐกิจพอเพียง
สารคดีเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูหั
่ ว ชุดพระเจ้าอยูหั
่ ว
ของปวงชน
41
สถานศึ กษาพอเพียงและ
ประสบการณจริ
์ ง
พอเพียงตามแนวคิดของพอ
่
สารคดีโทรทัศนขั
่ น
์ บเคลือ
เศรษฐกิจพอเพียง
สารคดีเชือ
่ มโยงเครือขาย
่
รวมใจขับเคลือ
่ นเศรษฐกิจ
พอเพียง
รายการ Teacher Talk
ตอนเศรษฐกิจพอเพียงและ
ตอน ห้องเรียนแหงความ
่
พอเพียง
สื่ อสนับสนุ นจาก
โครงการวิจย
ั เศรษฐกิจพอเพียง
พพ.๘๐๙
พพ.๘๑๙
เลม
่ ๑
พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูหั
่ วกับ
การเพิม
่ ความสมดุลฯ
42
พพ.๘๑๙
เลม
่ ๒
แนวทางการนาปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
ฯ
พพ.๘๒๙
เลม
่ ๑
ศี ล สมาธิ
ปัญญาฯ
พพ.๘๒๙
เลม
่ ๒
พพ.๘๓๙
เลม
่ ๑
นี่คอ
ื ...ประเทศไทย
พพ.๘๓๙
เลม
่ ๒
สรางหลั
กคิด
้
พิชต
ิ โลกรอนฯ
้