สรุปผลการประเมิน

Download Report

Transcript สรุปผลการประเมิน

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
(พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘)
วัตถุประสงค์
๑ เพือ่ ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษา ในการดาเนินภารกิจด้ านต่ างๆ
๒ เพือ่ ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษา ในการดาเนินภารกิจด้ านต่ างๆ
๓ เพือ่ กระตุ้นสถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษา และประสิ ทธิภาพการ
บริหารจัดการอย่ างต่ อเนื่อง
๔ เพือ่ ให้ ทราบความก้าวหน้ าของการพัฒนาการคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา
๕ เพือ่ รายงานระดับคุณภาพและพัฒนาการในด้ านคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาต่ อสาธารณะชนและหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
การประเมินภายนอกรอบสาม เป็ นการประเมิน
เพือ่ ยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โดย
ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบพิจารณาจาก
คานึงถึงความแตกต่ างของสถานศึกษา
ให้ มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีความเที่ยงตรง เป็ นธรรม โปร่ งใส
ส่ งเสริมสนับสนุนและร่ วมมือกับสถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา
คานึงถึงความเป็ นอิสระ เอกลักษณ์ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ
และเป้าหมายของสถานศึกษา
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
๑.การศึกษาจากเอกสาร เช่ น รายงานประจาปี รายงานการประเมิน
ตนเอง ระเบียบวาระการประชุม รายงานการประชุม รายงาน
การวิจยั รายงานผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน แผ่ นป้าย แผ่ นพับ
รู ปภาพ เทป CD VCD
๒.การสั มภาษณ์ สั มภาษณ์ บุคคล ๓ กลุ่ม ผู้จดั การศึกษา
(คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู )
ผู้รับผลประโยชน์ โดยตรง(ผู้เรียน ผู้ปกครอง)
ผู้ได้ รับผลกระทบ(ชุมชน สาธารณชน สถานประกอบการ
หน่ วยงานในท้ องถิ่น)
๓.การสั งเกต เก็บข้ อมูลโดยตรง จากปฏิกริ ิยา ท่ าทาง ของกลุ่มเป้าหมาย
เหตุการณ์ สภาพแวดล้อม การจัดการเรียนการสอน
การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
ระดับคุณภาพของสถานศึกษา
ช่ วงคะแนน
ระดับคุณภาพ
๐.๐๐ – ๔๙.๙๙
ต้ องปรับปรุ ง
๕๐.๐๐ – ๕๙.๙๙
ควรปรับปรุง
๖๐.๐๐ – ๗๔.๙๙
พอใช้
๗๕.๐๐ – ๘๙.๙๙
ดี
๙๐.๐๐ – ๑๐๐.๐๐
ดีมาก
การรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษา
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานทีจ่ ะผ่ านเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษา
ของ สมศ. ในการประเมินรอบสาม มีผลการประเมิน ดังนี้
๑.มีผลรวมคะแนนการประเมินคุณภาพภายนอก ตั้งแต่
๘๐.๐๐ คะแนนขึน้ ไป
๒.มีตวั บ่ งชี้อย่ างน้ อย ๑๐ ตัวบ่ งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่ งชี้ มี
ระดับคุณภาพ ตั้งแต่ ระดับดีขนึ้ ไป
๓.ต้ องไม้ มีตวั บ่ งชี้ใดอยู่ในระดับคุณภาพ ควรปรับปรุง หรือ
ต้ องปรับปรุง
รายละเอียดตัวบ่ งชี้
กลุ่มตัวบ่ งชี้พนื้ ฐาน ตัวบ่ งชี้ทปี่ ระเมินภายใต้ ภารกิจของสถานศึกษา บน
พืน้ ฐานทีท่ ุกสถานศึกษาต้ องมีและปฏิบัตไิ ด้ ประกอบด้ วย ๘ ตัวบ่ งชี้ ๘๐ คะแนน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีด่ ี
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑.๑ ผู้เรียนมีนา้ หนัก ส่ วนสู ง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทั้ง
ดูแลตนเองให้ มคี วามปลอดภัย
-มีนา้ หนัก ส่ วนสู ง สมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ กรมอนามัย กรมพล
ศึกษา กองทุน สสส.
-ผู้เรียนปลอดภัยจากปัญหาทางเพศ ย่ าเสพติด สิ่ งมอมเมา เกมส์
หลักฐาน ร้ อยละของจานวนผู้เรียน
-ผลการประเมินคุณภาพภายใน
- บันทึกข้ อมูลสุ ขภาพ ส่ วนสู ง นา้ หนัก ผลการทดสอบสมรรถภาพ
-ข้ อมูลสถิตกิ ารเจ็บป่ วย การใช้ ห้องพยาบาล ข้ อมูลฝ่ ายปกครอง ของ
สถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ ๑.๒ ผู้เรียนมีสินทรียภาพ
ผู้เรียนมีความซาบซึ้งในคุณค่ า อารมณ์ ความรู้ สึกในสิ่ งทีด่ งี าม น่ ารื่นรมย์
ฝึ กฝนจนเป็ นนิสัยและรสนิยม ผ่ านกิจกรรมการเรียนรู้ ท้งั ในและนอกหลักสู ตร
เช่ น กิจกรรมดนตรี ศิลปะ นาฎศิลป์ วรรณศิลป์ หรือ นันทนาการ
หลักฐาน ร้ อยละของผู้เรียนทีเ่ ข้ าร่ วมกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสู ตร
-จานวนผู้เรียนทีเ่ ข้ าร่ วมกิจกรรม ภาพถ่ าย สรุ ปรายงานกิจกรรม/โครงการ
-ผลงานของผู้เรียน ทีเ่ ข้ าร่ วมกิจกรรม
-เอกสาร เกียรติบัตร รางวัล
-สั มภาษณ์
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒.๑ เป็ นลูกทีด่ ขี องพ่ อแม่ ผู้ปกครอง
-บารุ ง ดูแล กตัญญู สร้ างความสุ ข สบายใจ
-ช่ วยทาธุระ ช่ วยทางาน
-สื บทอดวงศ์ ตระกูล ไม่ ดมื่ สุ รา ไม่ เล่ นการพนัน ไม่ เสพสิ่ งเสพติด ไม่ สร้ าง
ความเครียด สร้ างชื่อเสี ยง
-ประพฤติตนเหมาะสม เชื่อฟัง ตั้งใจเล่ าเรียน ไหว้ พ่อแม่ ผู้ปกครอง
หลักฐาน ร้ อยละของผู้เรียนทีเ่ ป็ นลูกทีด่ ี
-ผลสารวจจากแบบบันทึกคุณลักษณะของผู้เรียน
-สั มภาษณ์
ตัวอย่ าง แบบบันทึกคุณลักษณะของผู้เรียนทีเ่ ป็ นลูกทีด่ ีของพ่อแม่
ผู้ปกครอง







วันที.่ .........เดือน......................พ.ศ. .................ครั้งที.่ ................
ชื่อผู้ปกครอง....................................................
ผู้ปกครองของผู้เรียนชื่อ................................................รหัส........................ชั้น........................
โรงเรียน...........................................................................................
ผู้เรียนเป็ นลูกทีด่ ขี องพ่ อแม่ ผู้ปกครอง หมายถึง การเป็ นลูกทีด่ ี ตามหลักทิศเบือ้ งหน้ า
ลูกทีด่ ตี ้ องปฏิบตั ิกบั พ่อแม่ ซึ่งเปรียบเสมือนทิศเบือ้ งหน้ า ดังนี้
สาหรับผู้ปกครองเป็ นผู้บนั ทึก ขอให้ ท่านสั งเกตพฤติกรรมของผู้เรียนซึ่งอยู่ในการปกครองของ
ท่ าน สั มภาษณ์ สอบถามบุคลทีเ่ กีย่ วข้ อง และพิจารณาผลงานทีผ่ ้ ูเรียนได้ ปฏิบตั ิ แล้ วบันทึก
ระดับคุณภาพของคุณลักษณะ ผู้เรียนโดยใช้ คะแนน ดังนี้
๑. หมายถึง น้ อย (สั ปดาห์ ละครั้ง)
๒. หมายถึง ค่ อนข้ างน้ อย (สมา่ เสมอ ๒ วัน)
๓. หมายถึง ปานกลาง (สมา่ เสมอ ๓-๔ วัน)
๔. หมายถึง ค่ อนข้ างมาก (ค่ อนข้ างสมา่ เสมอ ๕-๖ วัน ) และ
ข้อ
คุณลักษณะ
๑
๑.๑
๑.๒
ท่านเลี้ยงเรามาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ
๑.๓
หุงข้าว ทาอาหารให้พ่อแม่รับประทาน
๑.๔
สร้างความสุขให้ท่านเมื่อมีโอกาส (มีการ์ด
มีดอกไม้ตามเทศกาลวันพ่อ วันแม่ เป็ น
ต้น)
๒
๒.๑
๒.๒
ช่วยทากิจธุรการงานของท่าน
บารุ ง ดูแลเอาใจใส่ แสดงความกตัญญู
สร้างความสุข ความสบายใจ ให้พ่อแม่ตาม
อัตภาพ หรื อตามสมควร
ช่วยทาความสะอาดบ้านหรื องานบ้าน
ช่วยกิจที่พ่อแม่ไหว้วานด้วยความเต็มใจ
ภาคเรี ยนที่ ๑
(ระบุเป็ นระดับ
ภาคเรี ยนที่ ๒
(ระบุเป็ นระดับ
คุณภาพ)
คุณภาพ)
หมายเหตุ
ข้อ
คุณลักษณะ
๓
๓.๑
๓.๒
๓.๓
๓.๔
สื บทอด รักษาวงศ์สกุล
๓.๕
ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่
บุพการี และ / หรื อบรรพบุรุษ
๔
ประพฤติตนให้เหมาะสมกับ
ความเป็ นทายาท
๔.๑
๔.๒
เชื่อฟังคาสัง่ สอนของพ่อแม่
ไม่เสพสิ่ งเสพติด ไม่ดื่มสุรา
ไม่การพนัน
สร้างชื่อเสี ยงให้แก่ครอบครัว
การเป็ นที่ยอมรับของคนใน
ชุมชน
ตั้งใจศึกษาเล่าเรี ยน
ภาคเรี ยนที่ ๑
ภาคเรี ยนที่ ๒
(ระบุเป็ นระดับคุณภาพ) (ระบุเป็ นระดับคุณภาพ)
หมายเหตุ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๒.๒ ผู้เรียนเป็ นนักเรียนทีด่ ขี องโรงเรียน
-ไม่ ขาดเรียน ไม่ มาสาย ไม่ ออกกลางคัน
-ไม่ มีปัญหาด้ านการปกครอง
***ร้ อยละของผู้เรียน
-เป็ นผู้เรียนทีด่ ี
*สุ ภาพอ่ อนน้ อม *โอบอ้อมอารี * ช่ วยเหลือผู้อนื่
*รับฟังความคิดเห็น * ซื่อสั ตย์ สุ จริต *มุมานะในการเรียน
*ดูแลรักษาทรัพย์ สินส่ วนรวม *อยู่อย่ างพอเพียง
* รักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์
*รักความเป็ นไทย * ยึดมัน่ ในการปกครองระบอบอประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษัตริย์ เป็ นประมุข
ตัวบ่ งชี้ ๒.๓ ผู้เรียนมีการบาเพ็ญประโยชน์ ต่อสั งคม
-ช่ วยเหลือผู้อนื่ หรือส่ วนรวม
-ช่ วยงานโรงเรียน
- บาเพ็ญประโยชน์
หลักฐาน ร้ อยละของผู้เรียนทีเ่ ข้ าร่ วมกิจกรรมทั้งในและนอกสถานศึกษา
*แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี /โครงการ/กิจกรรม
*สรุ ปงาน/โครงการ/กิจกรรม
*หลักฐานการมอบหมายงาน
*ภาพถ่ าย การเข้ าร่ วมกิจกรรมต่ างๆ เช่ น ลส นน ยุวะ บาเพ็ญประโยชน์ ชุ มนุม
*สั มภาษณ์
ตัวบ่ งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่ รู้ และเรียนรู้ อย่างต่ อเนื่อง
*ค้ นคว้ าหาความรู้ จากการอ่ าน
*การใช้ เทคโนโลยีสานสนเทศในการเรียนรู้
*เรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ ตรงร่ วมกับผู้อนื่ ทั้งในและนอกสถานศึกษา
ตัวบ่ งชี้ ๓.๑ ผู้เรียนค้ นคว้ าหาความรู้ จากการอ่ านและการใช้ เทคโนโลยีสานสนเทศ
**ร้ อยละของผู้เรียนทีม่ กี ารบันทึกการเรียนรู้ อย่ างสม่าเสมอ อย่ างน้ อยสั ปดาห์ ละ
๑ ครั้ง
หลักฐาน –แบบบันทึกการเรียนรู้ ของผู้เรียน(ตัวอย่ าง)
-แผนการจัดการเรียนรู้ ของครู การมอบหมายงานเกีย่ วกับการอ่ าน การเขียน
-ผลงานของผู้เรียนทีเ่ กิดจากการอ่ าน การเขียน การฟัง การค้ นคว้ า ทั้งในและนอก
สถานศึกษา
ข้ อมูลการใช้ ห้องสมุด การใช้ เทคโนโลยี
-สั งเกต สั มภาษณ์
(ร่ าง) แบบบันทึกการเรียนรู้
วันที่.........เดือน................พ.ศ. ...............ครั้งที่
.............................................................
ชื่อผูเ้ รี ยน............................................รหัส................ชั้น........
โรงเรี ยน.........................
แหล่งที่มาของการเรี ยนรู ้ จากการ  อ่านเรื่ อง
......................................

การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ.................
๑. ท่านได้เรี ยนรู ้อะไรบ้าง
...............................................................................................
(ร่ าง) แบบบันทึกการเรียนรู้
๓. ความรู ้ที่ได้จากการเรี ยนรู ้ในครั้งนี้จะนาไปใช้ประโยชน์
อะไรบ้าง
..........................................................................................
..............................................
..........................................................................................
..............................................
๔. ในการเรี ยนรู ้ครั้งนี้ท่านมีปัญหาหรื อข้อสงสัยอะไรบ้าง
..........................................................................................
..............................................
..........................................................................................
..............................................
๕. ในการเรี ยนรู ้ครั้งนี้ท่านมีขอ้ เสนอแนะอย่างไรบ้าง
ตัวบ่ งชี้ ๓.๒ ผู้เรียนเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ ตรงร่ วมกับผู้อนื่ ทั้ง
ในและนอกสถานศึกษา
*การเข้ าร่ วมกิจกรรม
* ได้ ลงมือปฏิบัตจิ ริง
*มีส่วนร่ วมรับผิดชอบกิจกรรม
-ร้ อยละของผู้เรียนทีเ่ รียนรู้ ผ่านประสบการณ์ ตรงร่ วมกับผู้อนื่ ทั้งในและนอก
สถานศึกษา การทัศนศึกษา
หลักฐาน –แผนงาน/โครงการ/ปฏิทนิ กิจกรรมประจาปี
-แผนการจัดการเรียนรู้ การมอบหมายงาน
-เอกสารการดาเนินกิจกรรม ประเพณี วันสาคัญ การทัศนศึกษา
-รายงานสรุ ปผลการจัดกิจกรรม/โครงการ
-ผลงานของผู้เรียนทีเ่ กิดจากการจัดกิจกรรม ภาพถ่ าย
-สั มภาษณ์ ผ้ เู รียน/ผู้เกีย่ วข้ อง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็ นทาเป็ น
*มีความสามารถด้ านการคิดวิเคราะห์ คิดสั งเคราะห์ คิดสร้ างสรรค์ คิดอย่ างมี
วิจารณญาณ คิดเป็ นระบบ
*สามารถปรับตัวเข้ ากับสั งคม
ตัวบ่ งชี้ ๔.๑ ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิด
-ร้ อยละของผู้เรียนทีผ่ ่ านเกณฑ์ ประเมินด้ านการคิดตามทีก่ าหนดในหลักสู ตร
แกนกลาง ๕๑
หลักฐาน –ข้ อมูลการบันทึกจานวนผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ การประเมิน(ตัวอย่ าง)
-การสั งเกต การสั มภาษณ์ ผ้ เู รียน
-แผนการจัดการเรียนการสอน
ตัวอย่ างแบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน






การประเมินสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน กาหนดเป็ นผ่านและไม่ผา่ น ในการ
ผ่านกาหนดเกณฑ์การตัดสิ นเป็ นดีมาก ดี และพอใช้ ความหมายของแต่ละ
ระดับ ดังนี้
ดีมาก หมายถึง ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิตนตามสมรรถนะจนเป็ นนิสัย และ
นาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณา
จากผลการประเมินระดับดีมากจานวน 3-5 สมรรถนะ และ ไม่มีสมรรถนะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี
ดี หมายถึง ผูเ้ รี ยนมีสมรรถนะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้
เป็ นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก
ได้ผลการประเมินระดับดีมาก จานวน 1-2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี หรื อ
ได้ผลการประเมินระดับดีมาก จานวน 2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับพอใช้ หรื อ
ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผล
พอใช้ หมายถึง ผูเ้ รี ยนรับรู้และปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา
กาหนด โดย
 พิจารณาจาก
 ได้ผลการประเมินระดับพอใช้ จานวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผล
การ ประเมินต่ากว่าระดับพอใช้ หรื อ
 ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการ
ประเมินต่ากว่าระดับพอใช้
 ต้ องปรั บปรุ ง หมายถึง ผูเ้ รี ยนรับรู ้และปฏิบต
ั ิได้ไม่ครบตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่
กาหนด โดย
 พิจารณาจากผลการประเมินระดับต้องปรับปรุ ง ตั้งแต่ 1 สมรรถนะ

แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ- สกุล....................................................เลขที่..........ชั้น.........
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้ าน
รายการประเมิน
1.ความสามารถใน 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
การสื่ อสาร
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่าง
เหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการสื่ อสารที่เหมาะสม มีประสิ ทธิ ภาพ
1.4 เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้ง
ต่าง ๆ ได้
1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและ
ถูกต้อง
สรุปผลการประเมิน
ดีมาก
(3)
ดี
(2)
พอใช้
(1)
ปรับปรุ ง
(0)
 เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ









ดีมาก –พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและสม่าเสมอให้ 3 คะแนน
ดี - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พอใช้ - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ต้องปรับปรุ ง - ไม่เคยปฏิบตั ิพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุ ปผล
ดีมาก - 13-15 คะแนน
ดี
- 9-12 คะแนน
พอใช้
- 1-8 คะแนน
ต้องปรับปรุ ง - 0 คะแนน
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ- สกุล....................................................เลขที่..........ชั้น.........
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
สมรรถนะด้ าน
ระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้ าน
2.ความสามารถ 2.1 มีความสามารถในการคิด
ในการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์
2.2 มีทกั ษะในการคิดนอก
กรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้าง
องค์ความรู้
2.5 ตัดสิ นใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ
ตนเองได้อย่างเหมาะสม
สรุปผลการประเมิน
ดีมาก (3)
ดี (2)
พอใช้ (1)
ปรับปรุ ง (0)
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ- สกุล....................................................เลขที่..........ชั้น.........
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้ าน
รายการประเมิน
3.ความสามารถใน
การแก้ปัญหา
3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
3.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงใน
สังคม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ
ป้ องกันและแก้ไขปัญหา
3.5 สามารถตัดสิ นใจได้เหมาะสมตามวัย
สรุปผลการประเมิน
ดีมาก
(3)
ดี
(2)
พอใช้
(1)
ปรับปรุ ง
(0)
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ- สกุล....................................................เลขที่..........ชั้น.........
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้ าน
4.ความสามารถ
ในการใช้ทกั ษะ
ชีวิต
รายการประเมิน
4.1 เรี ยนรู้ดว้ ยตนเองได้เหมาะสมตามวัย
4.2 สามารถทางานกลุ่มร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
4.3 นาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวัน
4.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้
เหมาะสม
4.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่
ส่งผลกระทบต่อตนเอง
สรุปผลการประเมิน
ดีมาก
(3)
ดี
(2)
พอใช้
(1)
ปรับปรุ ง
(0)
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ- สกุล....................................................เลขที่..........ชั้น.........
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ระดับคุณภาพ
สมรรถนะด้ าน
5.ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
รายการประเมิน
5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม
ตามวัย
5.2 มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
5.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พฒั นา
ตนเอง
5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์
5.5 มีคุณธรรม จริ ยธรรมในการใช้
เทคโนโลยี
สรุปผลการประเมิน
ดีมาก (3)
ดี (2)
พอใช้ (1) ปรับปรุ ง (0)
ชื่อ-สกุล................................................ชั้น.............เลขที่...............
โรงเรี ยน.......................................................สานักงานเตพื้นที่การศึกษา...........................................
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่ อสาร ดีมาก (3)
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
4.ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
5.ความสามรถในการใช้
เทคโนโลยี
ผลการประเมิน
ดี (2)
พอใช้ (1)
ปรับปรุ ง(0)
 สรุ ปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคล
 ดีมาก
 ดี
 ต้ องปรับปรุง
ลงชื่อ............................ผูป้ ระเมิน
(................................)
ที่ปรึ กษา
 พอใช้
สรุ ปผลการประเมินรายชั้นเรียน
ชั้น........................ ปี การศึกษา .....................
โรงเรียน................................ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา......................
รายชื่อนักเรียน
ดีมาก (3)
1.
2.
3.
4.
5.
ผลการประเมิน
ดี (2)
พอใช้(1)
ปรับปรุ ง(0)
 สรุ ปผลการประเมินรายชั้นเรี ยน
 ดีมาก
คิดเป็ นร้อยละ...........
คิดเป็ นร้อยละ.............
 พอใช้
คิดเป็ นร้อยละ............
ปรับปรุง
คิดเป็ นร้อยละ.............
 ดี
 ต้ อง
ลงชื่อ.............................ผูป้ ระเมิน
(.............................................)
ลงชื่อ..............................ผูอ้ นุมตั ิผล
ผูอ้ านวยการ/ผูร้ ับมอบหมาย
ตัวบ่ งชี้ที่ ๔.๒ ผู้เรียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสั งคม
*มีความสามารถในการใช้ ทกั ษะชีวติ
*สามารถแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง
*ความสามารถทางาน อยู่ร่วมกันในสั งคม
*สามารถปรับตัว ทันกับความเปลีย่ นแปลง
*สามารถหลีกเลีย่ งพฤติกรรมทีไ่ ม่ พงึ ประสงค์
- ร้ อยละของผู้เรียนทีผ่ ่ านเกณฑ์ ประเมินความสามารถในการปรับตัวเข้ ากับสั งคมตามทีก่ าหนด
ในหลักสู ตรแกนกลาง ๕๑
หลักฐาน
– ข้ อมูลการบันทึกจานวนผู้เรียนทีผ่ ่ านเกณฑ์ การประเมินการใช้ ทกั ษะชีวติ (ตัวอย่ าง)
- การสั งเกต การสั มภาษณ์ ผ้ ูเรียน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๕ ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
*ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนระดับ ดี และมีพฒ
ั นาการทางการเรียนรู้ ทุก
กลุ่มสาระ ในระดับชั้น ป ๓ ป ๖ ม ๓ และ ม๖ ใน ๘ กลุ่มสาระ
๑.ภาษาไทย
๒.คณิตศาสตร์
๓.วิทยาศาสตร์
๔.สั งคม ศาสนาและวัฒนธรรม
๕.สุ ขศึกษาและพละศึกษา
๖.ศิลปะ
๗.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘.ภาษาต่ างประเทศ
*ร้ อยละของผู้เรียนทีไ่ ด้ คะแนน O-NET มากกว่ าขีดจากัดล่างของค่ าเฉลี่ยผลการ
ทดสอบในแต่ ละกลุ่มสาระ
*ขีดจากัดล่ าง เป็ นคะแนนตา่ สุ ดของคะแนนเฉลีย่ ในแต่ ละชั้นและวิชา)
*หลักฐาน ผลการทดสอบ O-NET ในระดับ ดี
ตัวบ่ งชี้ที่ ๖ประสิ ทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้ นผู้เรียน
เป็ นสาคัญ
*สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นความสามารถผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
*สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนการสอนส่ งเสริมให้ ผ้ เู รียนพัฒนาตนเองได้ ตาม
ธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพ
ตัวบ่ งชี้ ๖.๑ ประสิ ทธิผลการดาเนินการของสถานศึกษา
*ประเมินคุณภาพการบริหารจัดการของผู้บริหาร
-สถานศึกษาให้ ความรู้ ครู อย่ างน้ อยปี ละ ๑-๒ ครั้ง
-สถานศึกษาประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ของครู ทุกคน ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
-ประเมินการจัดการเรียนการสอนของครู ทุกคนอย่ างน้ อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
-ประเมินแบบวัด แบบทดสอบ ของครู ทุกคน ทุกภาคเรียน
-นาผลการประเมินไปพัฒนาครู แต่ ละคน อย่ างเป็ นระบบ
**ข้ อมูล เอกสาร หลักฐาน ร่ องรอย การดาเนินการ * แผนการจัดการเรียนรู้ ของครู
ตัวบ่ งชี้ ๖.๒ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ของครู อย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู ๘ ประการ
๑.กาหนดเป้ าหมายทีต่ ้ องการให้ เกิดกับผู้เรียน
๒.ศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูลผู้เรียนเป็ นรายบุคคลและนาไปวางแผนการจัดการเรียนรู้
๓.จัดการเรียนรู้ ทตี่ อบสนองความแตกต่ างระหว่ างบุคคล
๔.จัดบรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่ อการเรียนรู้
๕.ใช้ สื่อเหมาะสม นาภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น เทคโนโลยี มาประยุกต์ ใช้ จัดการเรียน
๖.ประเมินความก้ าวหน้ าของผู้เรียนด้ วยวิธีทหี่ ลากหลาย
๗.วิเคราะห์ ผลการประเมิน นามาปรับปรุ ง พัฒนาผู้เรียน
๘.ศึกษา ค้ นคว้ า วิจัย เพือ่ พัฒนา
ตัวบ่ งชี้ที่ ๗ ประสิ ทธิภาพของการบริหารจัดการและพัฒนา
สถานศึกษา
*การบริหารจัดการสถานศึกษาตามหน้ าทีข่ องผู้บริหารและคณะกรรมการสถานศึกษา
๔ ประการ
๑.ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการตามบทบาทผู้บริหาร
*ด้ านวิชาการ
*ด้ านงบประมาฯ
*ด้ านบริหารงานบุคคล
*ด้ านบริหารงานทั่วไป
๒.ประสิ ทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
๓.บรรยากาศและสภาพแวดล้อมสถานศึกษา
*สะอาด ถูกสุ ขลักษณะ
*ปลอดภัย
*สวยงาม
๔.มีความยัง่ ยืนและต่ อเนื่อง
หลักฐาน –แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา/แผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม
-ปฏิทนิ ปฏิบัติงาน
-วาระการประชุ ม/รายงานการประชุ ม ของคณะกรรมการชุ ดต่ างๆ
-รายงานสรุ ปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
-วารสาร จุลสาร web
-สั งเกต สั มภาษณ์
ตัวบ่ งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้ นสั งกัด
*เป็ นไปตามกฎกระทรวงทีว่ ่ าด้ วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้ อ ๑๔
* สถานศึกษาจัดให้ มรี ะบบการประกันคุณภาพภายใน
*ยึดหลักการมีส่วนร่ วมของชุ มชนและหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ องทั้งภาครัฐและเอกชน
*ต้ นสั งกัด ส่ งเสริม สนับสนุน กากับดูแล
***การประเมินภายนอก ใช้ ค่าเฉลีย่ ของคะแนนผลการประเมินระบบประกัน
ภายในโดยต้ นสั งกัด
กลุ่มตัวบ่ งชี้อตั ลักษณ์
*ประเมินผลผลิตตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ
*และวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา
*จุดเน้ น จุดเด่ น ทีส่ ่ งผลสะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์
**** โดยได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและ
หน่ วยงานต้ นสั งกัด
ตัวบ่ งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้ บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ การจัดตั้งสถานศึกษา
*ผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุ มชน และองค์ กรภายนอกมีส่วนร่ วมในการกาหนด
แผนปฏิบัตงิ านปฏิบัติงานทีส่ อดคล้ อง และได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษา
*สร้ างระบบการมีส่วนร่ วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัตแิ ละบุคลากรไม่ น้อย
กว่ าร้ อยละ ๕๐ ให้ ความร่ วมมือในการปฏิบัติ
*มีการประเมินความพึงพอใจของผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ อง และผู้เกีย่ วข้ องพึงพอใจอยู่ใน
ระดับดี ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ ๘๐
*ผลการดาเนินงานบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ การ
จัดตั้ง และเกิดผลกระทบทีด่ ตี ่ อชุ มชน ท้ องถิ่น
*ผู้เรียนมีคุณลักษณะตาม ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจตามทีก่ าหนดและ
เป็ นทีย่ อมรับ
หลักฐาน
–ปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้ง
สถานศึกษา
-แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงานประจาปี (ได้ รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการ ฯ)
-รายงานผลการปฏิบัติงาน
-หลักฐานการได้ รับการยอมรับ การได้ รับรางวัล ประกาศเกียรติคุณ เกียรติ
บัตร หนังสื อเชิดชู เกียรติ
-สั มภาษณ์
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้ นและจุดเด่ นทีส่ ่ งผล
สะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา
*ผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุ มชน และองค์ กรภายนอกมีส่วนร่ วมในการกาหนดจุดเน้ น
จุดเด่ นหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะและกาหนดแผนปฏิบัติงานปฏิบัติงานสอดคล้อง
และได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
*สร้ างระบบการมีส่วนร่ วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัตแิ ละบุคลากรไม่ น้อย
กว่ าร้ อยละ ๕๐ ให้ ความร่ วมมือในการปฏิบัติอย่ างต่ อเนื่อง
*มีการประเมินความพึงพอใจของผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ อง และผู้เกีย่ วข้ องพึงพอใจอยู่ใน
ระดับดี ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ ๘๐
*ผลการดาเนินงานบรรลุตามจุดเน้ น จุดเด่ น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ และเกิดผล
กระทบทีด่ ตี ่ อชุ มชน ท้ องถิ่น
*สถานศึกษามีเอกลักษณ์ ตามจุดเน้ น จุดเด่ น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะทีก่ าหนดและ
ได้ รับการยอมรับจากองค์ กรภายนอก
** หลักฐาน **
–เอกสารหลักฐานทีแ่ สดงให้ เห็นถึงการกาหนดเอกลักษณ์ จุดเน้น หรือ
จุดเด่ น
-แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงานประจาปี (ได้ รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการ ฯ)
-รายงานผลการปฏิบัติงาน
-หลักฐานการได้ รับการยอมรับ การได้ รับรางวัล ประกาศเกียรติคุณ เกียรติ
บัตร หนังสื อเชิดชู เกียรติ
-สั มภาษณ์
กลุ่มตัวบ่ งชี้มาตรการส่ งเสริม
*การดาเนินงานของสถานศึกษาเพือ่ ป้ องกันและแก้ไขปัญหาสั งคม
*ตามนโยบายของรัฐ
*ปรับเปลีย่ นได้ ตามกาลเวลาและปัญหาสั งคมทีเ่ ปลีย่ นไป
*มีเป้ าหมายเพือ่ ช่ วยเหลือสั งคม และแก้ไขปัญหาสั งคมของสถานศึกษา
ตัวอย่าง –การส่ งเสริมและสื บสานโครงการตามพระราชดาริ
-หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -การส่ งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา
-การป้องกันสิ่ งเสพติด –การอนุรักษ์ พลังงาน –การอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม
-การแก้ปัญหาความขัดแย้ ง -การสร้ างสั งคมสั นติสุขและความปรองดอง
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษ
บทบาทสถานศึกษา
เพื่อส่ งเสริม
*มีการดาเนินโครงการพิเศษ เพือ่ นามาปรับปรุงและพัฒนา แก้ไขปัญหาทั้ง
ภายในและ หรือ นอกสถานศึกษา
*นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการบริหารจัดการ จัดทาหลักสู ตร
การจัดกิจกรรม
-มีการดาเนินโครงการพิเศษอย่ างน้ อย ๑ โครงการ
-มีการดาเนินการอย่ างเป็ นระบบ (P D C A )
-บรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่ ตากว่ าร้ อยละ ๘๐
-ผู้เรียนอย่ างน้ อยร้ อยละ ๕๐ มีส่วนร่ วม
-เกิดประโยชน์ เป็ นแบบอย่ าง สร้ างคุณค่ าต่ อสถานศึกษาและ/หรือชุ มชน
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่ งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศ เพือ่ ให้
สอดคล้ องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามบริบทของ
สถานศึ
กษา ดังนี้
***พิจารณาตามผลการประเมินสถานศึ
กษารอบสอง
๑.กลุ่มทีต่ ้ องยกระดับมาตรฐาน ผลการประเมินรอบสอง ไม่ ได้ รับการรับรอง
๒.กลุ่มทีต่ ้ องรักษามาตรฐาน ผลการประเมินรอบสอง ได้ รับการรับรอง และมี
ผลการประเมินในระดับดี
๓.กลุ่มทีต่ ้ องพัฒนาสู่ ความเป็ นเลิศ ผลการประเมินรอบสอง ได้ รับการรับรอง
และมีผลการประเมินในระดับ ดีมาก
พิจารณาจากผลการปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษา ตามแผน ฯ มาตรการ
ฯลฯเพือ่ ให้ สถานศึกษามีคุณภาพตามกลุ่มสถานศึกษา
๑.มีแผนดาเนินงาน มาตรการ เพือ่ พัฒนาสถานศึกษาให้ มีคุณภาพตามกลุ่ม
สถานศึกษา
๒.มีข้อตกลงร่ วมกันระหว่ างสถานศึกษากับหน่ วยงานต้ นสั งกัด
๓.มีการดาเนินงานอย่ างเป็ นระบบครบวงจรคุณภาพ PDCA
๔.ผลการดาเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผน ไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ ๘๐
๕.มีผลกระทบต่ อคุณภาพของสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา