จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ( Pathogenic Microorganisms )

Download Report

Transcript จุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค ( Pathogenic Microorganisms )

จุลินทรี ย์ทก่ี ่ อให้ เกิดโรค
( Pathogenic Microorganisms )
I.การเจ็บป่ วยเนื่องจากอาหาร ( Foodborne Illness ) มี 3 ประเภท
1. เจ็บป่ วยเนื่องจากตัวเชื้อจุลนิ ทรีย์ (Infection)
- รับประทานอาหารทีม่ เี ชื้อจุลนิ ทรีย์ทมี่ ชี ีวิตอยู่และเป็ นจุลนิ ทรีย์ที่
ก่อให้ เกิดโรค ( disease – causing microorganisms)
2. เจ็บป่ วยเนื่องจากรับประทานอาหารทีม่ ีสารเคมีอนั ตรายปะปนอยู่
หรื อมีท๊อกซิน ( toxin ) ทีจ่ ุลนิ ทรีย์สร้ างขึน้ ( Intoxication)
3. เจ็บป่ วยเนื่องจากรับประทานอาหารทีม่ จี ุลนิ ทรีย์ทจี่ ะเจริญเติบโตและ
สร้ างท๊ อกซิน ขึน้ มาในระบบทางเดินอาหาร ( Toxin – Mediated Infection)
II. อาการที่พบเนื่องจากอาหารเป็ นพิษ
-
-
ปวดหัว (Headache)
คลื่นไส้ (Nausea)
อาเจียน (Vomiting)
สู ญเสี ยนา้ (Dehydration)
ปวดท้ อง (Abdominal pain)
ท้ องร่ วง (Diarrhea)
เหนื่อยอ่ อน (Fatigue)
เป็ นไข้ (Fever)
แบคทีเรีย (Bacteria)
Bacillus cereus
Campylobacter jejuni
Clostridium perfringens
Clostridium botulinum
Listeria monocytogenes
Salmonella spp.
Shiga toxin – producing
Escherichia coli
Shigella spp.
Staphylococcus aureus
Vibrio spp.
ไวรัส (Viruses)
Hcpatitis A
Norwalk virus group
Rotavirus
ปาราสิ ต (Parasites)
Anisakis spp.
Cryptosporidium parvum
Cyclospora cayetanensis
Giardia lamblia
Taxoplasma gondii
Trichinella spiralis
Vegetative cell : เซลล์ ปกติของแบคทีเรีย สามารถเจริญเติบโต
สื บพันธ์ และผลิตของเสี ยเหมือนจุลนิ ทรีย์ทมี่ ีชีวติ ทัว่ ไป
Spore : เซลล์ ปกติของแบคทีเรียสามารถสร้ างสปอร์ ซึ่งจะช่ วย
ทาให้ แบคทีเรี ยอยู่รอดในสภาวะแวดล้ อมที่ไม่ เหมาะสม เช่ น
ร้ อนเกินไป หรื อเย็นเกินไป แห้ งแล้ ง เป็ นกรด หรื อในสภาวะที่
อาหารไม่ เ พีย งพอ สปอร์ ไ ม่ ส ามารถเติ บ โต หรื อ สื บ พัน ธ์ ได้
เหมือนเซลล์ปกติ
Vegetative Cells
Spore
( สภาวะทีเ่ หมาะสม) ( สภาวะทีไ่ ม่ เหมาะสม)
สื บพันธ์ (Reproduce )
เติบโต (Grow)
ผลิตท๊ อกซิน (Produce toxin)
ทนต่ อสภาวะที่ไม่ เหมาะสม
(Resistant to stress )
เป็ นอันตรายถ้ ารับประทานเข้ าไป
(Harmful if eaten)










ปั จจัยทีเ่ กี่ยวข้ องกับการเพิม่ จานวนของแบคทีเรียทีก่ ่ อให้ เกิดโรค
มี 6 ปัจจัย คือ
1. ประเภทอาหาร (Type of food)
- แบคทีเรียชอบอาหารทีม่ ีโปรตีน หรื อ คาร์ โบไฮเครตสู ง
2. ความเป็ นกรด ( Acid )
ปกติ pH 0 - 14
pH 4.6 ใช้ เป็ นค่ าแบ่ งประเภทของอาหาร
ถ้ า > 4.6 ถือว่ าเป็ น Low acid food
< 4.6 ถือว่ าเป็ น Acid food
pH ต่ากว่ า 4.6 เชื้อ Clostridium botulinum ไม่ สามารถเจริญได้
3. อากาศ ( Oxygen)
* แบคทีเรียต้ องการอากาศ (Aerobic bacteria )
* แบคทีเรียไม่ ต้องการอากาศ (Anaerobic bacteria )
* แบคทีเรียมีอากาศ หรื อ ไม่ มีอากาศก็เจริญได้ ( Facultative bacteria)
4.ความชื้น (Moisture)
* Water activity ( Aw) คือปริมาณนา้ อิสระทีม่ ีในอาหาร
* Aw 0. 85 เป็ นค่ าที่ใช้ แบ่ งชนิดอาหารแห้ งและอาหารสด
5. อุณหภูมิ (Temperature)
* จุลนิ ทรีย์ทกี่ ่ อให้ เกิดโรค สามารถเจริญระหว่ าง 5o C – 60 o C
* Listeria monocytogenes เจริญได้ ทตี่ ่ากว่ า 5 oC แต่ เจริญอย่างช้ า
6. เวลา ( Time)
เวลา
0 15 นาที 30 นาที 60 นาที 3 ชม.
จานวนเซลล์ 1 2
4
16
> 1000 > 1 ล้ าน
5 ชม.
แบคทีเรียที่สร้ างสปอร์
(Sporeforming Bacteria)
1. Bacillus cereus
ชนิดของจุลนิ ทรีย์
( Causative Agent )
Bacillus cereus ( Facultative bacteria)
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness ) Intoxication หรื อ Toxin – mediated infection
- Diarrhea type ; ปวดท้ อง ( abdominal)
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
- Vomiting type ; อาเจียน ท้ องร่ วง ปวดท้ อง
อาการเริ่มต้ นปรากฏ
อาหารทีพ่ บ
การป้องกัน
(Onset )
( Common Foods )
( Prevention )
- Diarrhea type ; 8-16 ชม. ปกติ 12-14 ชม.
- Vomiting type ; 30 นาที – 6 ชม. ปกติ 30 นาที ถึง 6 ชม.
- Diarrhea type ; เนื้อ นม ผัก ปลา
- Vomiting type ; ข้ าว อาหารที่มีแป้ง ธัญพืช
- ให้ ความร้ อนอย่ างเพียงพอและคงอุณหภูมิไว้ ที่ 60 ซ หลังจากนั้น
ทาให้ เย็นทันที ต่ากว่ า 5 ซ และควรให้ ความร้ อนก่ อนรับประทาน
อาหาร ( reheat food )
2. Clostridium perfringens
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ ( Causative Agent )
Clostridium perfringens ( Anaerobic bacteria)
ประเภทการเจ็บป่ วย(Type of Illness )
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
Bacterial toxin-mediated infection
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ ( Common Foods )
8-22 ชม.
การป้องกัน ( Prevention )
- ให้ ความร้ อนอย่ างเพียงพอ ทาให้ เย็นและให้ ความร้ อน
ซ้าก่ อนบริโภค
- อาหารควรให้ ความร้ อนที่อุณหภูมิสูงกว่ า 63 ซ ถึง 21
ซ ภายใน 2 ชม. และจาก 60 ซ ถึง 5ซ ภายใน 6 ชม.
- อาหารต้ องให้ ความร้ อน (reheat) จนถึง 74 ซ ภายใน 2
ชม. และควบคุมอุณหภูมิที่ 60 ซ จนกว่ าจะรับประทาน
- ปวดท้ องอย่ างรุนแรง (intense abdominal pain)
- ท้ องร่ วงอย่ างรุนแรง (severe diarrhea)
- เครื่ องเทศ , นา้ ซ๊ อสที่เก็บแช่ เย็นไม่ ถูกต้ อง(โดยเฉพาะ
เนื้อ และอาหารที่ราดนา้ ซ๊ อส)
3. Clostridium botulinum
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ (Causative Agent )
Clostridium botulinum
(Strictly anaerobic bacteria)
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Bacterial intoxication (neurotoxin)
( toxin ไม่ ทนความร้ อน100 ซ 20 นาทีทาลาย toxin ได้ )
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
- ปวดศรีษะ, หายใจลาปาก, เวียนศรีษะหน้ ามืด
- เห็นภาพซ้ อน
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
12 – 36 ชม. ปกติใช้ เวลาหลายวัน จนถึงเวลาเป็ นปี
อาหารที่พบ (Common Foods )
- อาหารที่มีความเป็ นกรดตา่ ( Low acid food) pH สู ง
กว่ า 4.6 ที่ให้ ความร้ อนไม่ เพียงพอ และหลังจากนั้น บรรจุ
ในภาชนะที่ปิดสนิท (เช่ น กระป๋อง หรื อ Vacuum pouch)
และเก็บไว้ ในอุณหภูมิห้อง เช่ น ปลากระป๋อง
การป้องกัน ( Prevention )
ให้ ความร้ อนอย่ างเหมาะสม และให้ ภาชนะบรรจุที่เป็ น
สู ญญากาศและทาให้ เย็น (Cool vacuum package) และใช้
ภาชนะบรรจุที่ลดออกซิเจนได้ ไม่ ควรรับประทานอาหาร
กระป๋องที่ผลิตตามครัวเรื อน ( home – canned food)
Non – Sporeforming Bacteria
1. Campylobacter jejuni
ชนิดของจุลินทรี ย ์ ( Causative Agent )
Campylobacter jejuni
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Bacteria infection
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
- ตัวบวม (watery)
- ท้ องร่ วง จนมีเลือดออก ( bloody diarrhea)
อาการเริ่ มต้นปรากฏ (Onset )
2 – 5 ชม. ปกติจะใช้ เวลา 2 – 7 วัน
อาหารที่พบ (Common Foods )
- เนื้อสั ตว์ ปีกดิบ
- นมดิบ
- เนื้อดิบ
การป้องกัน ( Prevention )
- การขนส่ งที่เหมาะสม และการให้ ความร้ อนที่
เหมาะสม รวมถึงการทาความสะอาด และฆ่ าเชื้อ
พืน้ ผิวที่สัมผัสอาหาร
- ล้ างมือ
2. Shiga toxin – producing Escherichia coli
ชนิดของจุลินทรี ย ์ (Causative Agent ) Shiga toxin – producing Escherichia coli
( Facultatiue anaerobic bacteria )
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Bacterial infection or toxin – mediated infection
เสี่ ยงมากในเด็กจนอายุถึง 16 ปี
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
ท้ องร่ วงจนเป็ นเลือดและ การทางานของไตล้ มเหลว ในกรณี
ที่รุนแรงที่สุดคือเกิด hemolytic uremic syndrome ( HUS)
อาการเริ่ มต้นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ (Common Foods )
2 – 72 ชม. โดยปกติใช้ เวลา 1 – 3 วัน
การป้องกัน ( Prevention )
- ล้ างมือ
- GMP
- ฆ่ าเชื้อในเนื้อที่ 68 ซ เวลา 15 วินาที
-ป้องกัน Cross contamination โดยอุ่นอาหารที่ อุณหภูมิ
สู งกว่ า 60 ซ ถ้ าเป็ นอาหารเย็น แช่ เย็นที่ 5 ซ
- เนื้อวัวดิบหรื อทาไม่ สุก
- ปลาดิบ
- นมที่ฆ่าเชื้อไม่ เพียงพอ
- ผักกาดหอม ( lettuce )
3. Listeria moncytogenes
ชนิดของจุลินทรี ย ์ ( Causative Agent )
Listeria monocytogenes ( Facultative anaerobic , ทน
เกลือ , เจริญได้ ที่ Temp ต่ากว่ า 5 ซ
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Bacterial infection
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
- ผู้ใหญ่ ที่สุขภาพดี : อาการเหมือนไข้ หวัด ( flu – like
symptom )
- ผู้ที่ร่างกายอ่ อนแอ : โลหิตเป็ นพิษ สมองอักเสป
- แท้ งลูก
อาการเริ่ มต้นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ (Common Foods )
1 วัน – 3 สั ปดาห์ ขึน้ อยู่กบั การรักษา
การป้องกัน ( Prevention )
- เก็บรักษาอาหารที่สุกแล้ วให้ ถูกวิธี
- ป้องกันการปนเปื้ อนข้ าม
- หมุนเวียนให้ อาหารที่อยู่ในตู้เย็นให้ เป็ นไปตาม FIFO
( first in first out )
เนื้อดิบ , เนื้อสั ตว์ ปีกดิบ , ผลิตภัณฑ์ นม , ผักดิบ , อาหาร
ทะเล
4. Salmonella spp.
ชนิดของจุลนิ ทรีย์
( Causative Agent )
ประเภทการเจ็บป่ วย
(Type of Illness)
ลักษณะของอาการ
(Symptoms )
อาการเริ่มต้ นปรากฏ
(Onsct )
อาหารทีพ่ บ
(Common Foods )
การป้องกัน
( Prevention )
Salmonella spp. พบในลาไส้ ของมนุษย์ และสั ตว์ เลือดอุ่น
( Facultative anaerbic bacteria )
Bacterial Infection
- คลื่นไส้ , มีไข้ , อาเจียน
- ปอดท้ อง , ท้ องร่ วง
6 – 48 ชม. โดยปกติ 2- 3 วัน
- เนื้อดิบ , เนื้อสั ตว์ ปีกดิบ
- ไข่ , นม , ผลิตภัณฑ์ นม
- หมู
-ให้ ความร้ อนกับอาหารอย่ างพอเพียง เช่ น
Salmonella bacterial ในสั ตว์ ปีกถูกทาลายที่ 74 ซ 15
วินาที หรื อในไข่ ที่ต้ม 63 ซ เวลา 15 วินาที
5. Shigella spp.
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ (Causative Agent )
Shigella spp. พบในลาไส้ และอุจจาระของมนุษย์ และ
สั ตว์ เลือดอุ่น
( Facultative anaerobic bacteria )
ประเภทการเจ็บป่ วย(Type of Illness)
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
Bacterial infection
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ (Common Foods )
1 – 7 วัน ระยะเวลาขึน้ อยู่กบั การรักษา
การป้องกัน ( Prevention )
- ล้ างมือ
- GMP
- ป้องกัน cross contamination
- ให้ ความร้ อนอย่ างเพียงพอต่ ออาหาร
- นา้ สะอาด
- ท้ องร่ วง , เป็ นไข้ , ปวดท้ องอย่ างกะทันหัน
- ร่ างกายขาดนา้
- โรคบิด
- อาหารที่เตรียมโดยมีการสั มผัสกับพนักงาน
- อาหารสาเร็จรู ป ( ready - to - eat food ) เช่ นสลัด , เนื้อ
- ผักดิบ , นม , ผลิตภัณฑ์ นม , เนื้อสั ตว์ ปีกดิบ
- นา้ ไม่ สะอาด
6. Staphylococcus aureus
ชนิดของจุลนิ ทรีย์
( Causative Agent ) Staphylococcus aureus พบในผิวหนัง , มือ , ผม และขน ,
จมูก , คอ ( Facultative anaerobic bacteria )
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ (Common Foods )
Bacterial intoxication
การป้องกัน
- ล้ างมือ , GMP , หลีกเลีย่ งการไอหรื อจามใกล้ อาหาร , ไม่ ควร
ใช้ ซ้าช้ อนที่ชิมแล้ ว , สวมถุงมือ , ถ้ ามีแผลต้ องติดพลาสเตอร์ ,
การให้ ความร้ อนไม่ ทาลาย Toxin
( Prevention )
คลื่นไส้ , อาเจียน , ปวดท้ วงอย่ างรุนแรง ,ปวดศรีษะ
1 – 6 ชม. โดยปกติ 2-4 ชม. และนานที่สุดคือ 1 – 2 วัน
- อาหารที่เตรียมโดยมีการสั มผัสกับพนักงาน
- อาหารพร้ อมบริโภค ( cooked ready to eat ) เช่ น อาหาร
กลางวัน
- เนื้อ, เนื้อสั ตว์ ปีก ,สั งขยา
- อาหารที่มีเกลือสู ง เช่ น แฮม
- นม และผลิตภัณฑ์ นม
- อาหารแปรรู ป
7. Vibrio spp.
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ ( Causative Agent )
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
Vibrio spp.
Bacterial intoxication
- ปวดศรีษะ , มีไข้ , หนาวสั่ น , ท้ องร่ วง , อาเจียน
- สู ญเสี ยเกลือแร่ อย่ างรุนแรง
- กระเพาะและลาไส้ อกั เสบ
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ (Common Foods )
2 – 48 ชม.
การป้องกัน
- GMP
-อาหารที่ทาให้ เย็นอย่ างถูกวิธี
-แยกวัตถุดบิ และอาหารที่สุกแล้ วออกจากกัน
( Prevention )
- ปลาดิบ
- ปลาที่ให้ ความร้ อนไม่ ถูกวิธี
- สั ตว์ นา้ ที่มีเปลือก เช่ น ปู , กุ้ง
อาหารเป็ นพิษจากไวรัส
1. Hepatitis A Virus
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ ( Causative Agent )
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
อาหารที่พบ
การป้องกัน
(Common Foods )
( Prevention )
Hepatitis A Virus
Viral infection
เป็ นไข้ , เวียนศรีษะ , อาเจียน , ปวดท้ อง
10 – 15 วัน กรณีไม่ รุนแรงใช้ เวลาหลายสั ปดาห์ กรณีรุนแรงใช้
เวลาหลายเดือน
- หอยที่ดบิ หรื อปรุงไม่ สุกที่ได้ จากแหล่ งนา้ สกปรก
- ผักดิบที่ใช้ นา้ ชลประทานหรื อล้ างโดยนา้ ไม่ สะอาด
- อาหารที่เตรียมโดยสั มผัสกับพนักงาน
- ชื้อหอย และสั ตว์ นา้ จากแหล่ งที่น่าเชื่ อถือ
- แยกอาหารที่สุกแล้ วออก จากอาหารดิบ
- สวมถุงมือ
- GMP
2. Norwalk virus
ชนิดของจุลินทรี ย ์
( Causative Agent )
Norwalk virus
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Virus infection
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
อาเจียน , ท้ องร่ วง , ปวดท้ อง , ปวดหัว , มีไข้ อ่อน
อาการเริ่ มต้นปรากฏ
24 – 48 ชม. ปกติอาจถึง 1 – 3 วัน
อาหารที่พบ
การป้องกัน
(Onset )
(Common Foods )
( Prevention )
นา้ ที่ปนเปื้ อนจากนา้ เสี ย , วัตถุดบิ ของสลัดที่ถูกปนเปื้ อนหอย
สด , หอยนางรสสด , อาหารที่ปนเปื้ อนจากเชื้อตัวผู้ประกอบ
อาหาร
ใช้ นา้ ประปา , ทาอาหารให้ สุก , ขนส่ งอาหารให้ ถูกวิธี
สุ ขลักษณะส่ วนบุคคล , แยกอาหารดิบและสุ กออกจากกัน
1. Anisakis spp.
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ ( Causative Agent )
Anisakis spp.
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Parasitic infection
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
-อาการไอ ถ้ าหนอนลงไปอยู่ที่คอ
-อาเจียนและ ปวดท้ อง ถ้ าหนอนอยู่ที่กระเพาะอาหาร
-มีไข้ และ ปวดท้ องมาก ถ้ าหนอนอยู่ในลาไส้ ใหญ่
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
1 ชม. – 2 อาทิตย์
อาหารทีพ่ บ (Common Foods )
อาหารทะเลที่ดบิ หรื อไม่ สุกโดยเฉพาะปลาที่ให้ อาหารอยู่ใต้
ผิวนา้ (bottom – feeding fish ) เช่ น ปลาซัลมอน
การป้องกัน ( Prevention )
- ให้ ความร้ อนแก่ อาหารพวกปลาจนสุ ก รวมถึง การแช่ แข็ง
เนื้อปลาให้ เป็ นไปตาม FDA Fook Code
- มีการตรวจสอบอาหารทะเลและขนส่ งอย่ างถูกวิธีและซื้อ
วัตถุดบิ จากแหล่ งที่ได้ รับการรับรอง
2.Cryptosporidium parvum
ชนิดของจุลนิ ทรีย์ ( Causative Agent )
Cryptosporidium parvum
ประเภทการเจ็บป่ วย (Type of Illness)
Parasitic infection
ลักษณะของอาการ (Symptoms )
ท้ องร่ วงอย่ างรุนแรงและขาดนา้
อาการเริ่มต้ นปรากฏ (Onset )
ภายใน 1 สั ปดาห์ หลังจากรับประทานเข้ าไป
อาหารทีพ่ บ (Common Foods )
ปนเปื้ อนจากนา้ , อาหารที่ปนเปื้ อนจากอาหารของ
พนักงานที่มีหนอนอยู่
การป้องกัน ( Prevention )
-การล้ างมือ
-ใช้ นา้ ประปา
- GMP
จุลินทรีย์ท่ เี ป็ นดัชนีบ่งบอกถึงการปนเปื ้ อนจากอุจจาระ

แบคทีเรี ยที่พบในระบบทางเดินอาหารโดยเฉพาะลาไส้ ใหญ่ ของคนและ
สัตว์ เลือดอุ่น
1. Coliform Bacteria
Fecal Coliform
Escherichai coli
2. แบคทีเรี ยในวงค์ Enterobacteriaceae ทัง้ กลุ่ม และ enterococci

 แบคทีเรี ย พวกนีจ้ ะพบเป็ นปริมาณมากในอุจจาระ สามารถตรวจพบ
ได้ ง่ายในอุจจาระ
 ไม่ ก่อให้ เกิดโรค
 ทนต่ อสภาพแวดล้ อมภายนอกร่ างกายได้ ดี
 สามารถตรวจวิเคราะห์ ได้ ง่าย รวดเร็วและถูกต้ อง
Coliform Bacteria
•
•
•
•
•
•
•
รู ปร่ างท่ อนสัน้ ติดสีแกรมลบ
ไม่ สร้ างสปอร์
เป็ น aerobe หรือ facultative anaerobe
o
สามารถเปลี่ยน lactose  acid + gas ที่35 C 48 ชม.
สามารถใช้ glucose  acid
สร้ างเอนไซม์ catalase แต่ ไม่ สร้ าง oxidase
สามารถเปลี่ยน No3-  No2-
Coliform Bacteria
ประกอบด้ วย 4 genus
1. Escheria ปกติพบในระบบทางเดินอาหารของคนและ
สัตว์ เลือดอุ่น
2. Enterobacter ปกติพบในระบบทางเดินอาหาร และพบใน
ดินและปนเปื ้ อนกับพืชผักต่ างๆ
3. Klebsiella
4. Citrobacter
Fecal Coliform และ Escheria coli
Coliform bacteria
• ที่ปนเปื ้ อนในอุจจาระโดยตรงเรียก Fecal Coliform
• Coliform อื่นๆ เช่ น Enterobacter aerogenes ซึ่งไม่
สามารถใช้ เป็ นดัชนีแสดงการปนเปื ้ อนของอุจจาระได้
เรียกกลุ่มนีว้ ่ า Non-fecal coliform
E.coli แตกต่ างจาก Enterobacter sp. คือ
1.
2.
E. Coli สามารถ ferment นา้ ตาล Lactose  gas ที่ 44.5oC
ภายใน 24-48 ชม. ซึ่งทาการทดสอบได้ ง่าย
E. coli ให้ ผลการทดสอบปฏิกิริยา IMViC เป็ น ++-ส่ วน
Enterobacter aerogenes ให้ ผลเป็ น --++
แต่ การตรวจวิเคราะห์ ย่ ุงยาก และสิน้ เปลือง
มากกว่ า
ดังนัน้
ปฏิกิริยา การ ferment นา้ ตาล lactose แล้ วเกิด
แก๊ ส
ที่ 44.5oC จึงสามารถแยก fecal coliform
และ nonfecal coliform ได้
เปอร์ เซ็นต์ ความถูกต้ องของการใช้ สารอาหารหรื อ
สารเคมี จาเพาะในการตรวจวิเคราะห์ E. coli
 การสร้ าง Indole จาก Tryptophane
99%
 การสลายสาร MUG
96%
 การใช้ นา้ ตาล lactose
96%
 การสร้ างแก๊ สจากนา้ ตาล Lactose 90%
E. coli บางสายพันธ์ ท่ กี ่ อให้ เกิดโรค
 เรียก Enteropathogenic E.coli (EEC)
 แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม ตามลักษณะอาการของโรค
1. Enterotoxigenic E.coli คือสายพันธ์ ท่ ีทาให้ ลักษณะการเกิดอาการ
ของโรคคล้ ายกับ Vibrio cholera ส่ วนใหญ่ พบว่ าทาให้ เกิดโรคท้ องร่ วงในเด็กเล็ก
(Infantile diarrhea)
2. Enteroinvasive E.coli คือสายพันธ์ ท่ ีทาให้ ลักษณะการเกิดอาการ
ของโรคคล้ ายกับ Shigella (dysentery-like disease) เกิดโรคได้ กับคนทุกวัย
สายพันธ์ นีจ้ ะไม่ สร้ าง enterotoxin
3. Enterohemorragic E.coli คือสายพันธ์ ท่ ีทาให้ ลักษณะการเกิดโรค
hemorrhagic colitis เชือ้ จะสร้ าง verotoxin ซึ่งคล้ ายกับ toxin ของ Shigella