infectious disease - สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้

Download Report

Transcript infectious disease - สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้

โรคติดเชื้อ
Infectious disease
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นิสิตทราบและเข้าใจถึงโรคติดเชื้อ
2. เพื่อให้นิสิตทราบและเข้าใจระบบภมู ิคม้ ุ กันโรคติดและการป้องกันการ
เกิดโรคต่างๆ
ที่มา: http://static.framar.bg/snimki/zabolyavaniya/
infectious_disease.jpg
ที่มา: http://www.shutterstock.com/pic-129651959/stock-photocontagious-disease-transmitting-a-virus-infection-with-an-openhuman-mouth-spreading-dangerous.html
โรคติดเชื้อ หรือ Infectious disease
โรคที่ มี ส าเหต มุ าจากเชื้ อจุลิ น ทรี ย ์ อัน ได้แ ก่ เชื้ อไวรัส
(Viruses),เชื้อแบคทีเรีย (Bacterias), เชื้อโปรโตซัว (Protozoas),
เชื้อรา (Fungi) เป็นต้น
จุลนิ ทรีย์ประจำถิน่
Normal Flora
Normal Flora
จุลินทรียป์ ระจาถิ่น คือ จุลินทรียท์ ี่พบตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย คือ
ผิวหนัง ช่องปาก กระเพาะ ลาไส้ ระบบขับถ่ายและอวัยวะสืบพันธ์ ุ ฯลฯ
แต่ไม่พบในอวัยวะภายใน ระบบเลือด และระบบน้าเหลือง
จุลิ น ทรียป์ ระจ าถิ่ น อาจมี ค วามสัมพัน ธ์กบั คนแบบ commensalism
คื อได้ประโยชน์จากโฮสต์โดยที่ ไม่มีผลต่ อโฮสต์ หรือมี ความสัมพันธ์
แบบ mutualism คือให้ประโยชน์บางอย่างกับโฮสต์
แต่ในบางภาวะที่โฮสต์มีภมู ิคม้ ุ กันต่า (เช่น ผูป้ ่ วยเอดส์) เชื้อเหล่านี้
อาจทาให้เกิดโรคได้ เรียกว่าเชื้อโรคฉวยโอกาส
Normal Flora
ทารกในครรภ์มารดาไม่มีเชื้อจุลินทรียน์ ้ ีในร่างกาย แต่ เริ่มได้รบั
เชื้อเมื่อแรกคลอด และปนเป้ ื อนมาในขณะที่เลี้ยงด ู
ในช่ ว งแรกๆ ของชี วิ ต ชนิ ด ของจุลิ น ทรี ย ์มี ก ารเปลี่ ย นแปลง
ค่อนข้างมาก จนกระทัง่ ถึงระยะเวลาหนึ่ง จึงมีจลุ ินทรีย ป์ ระจาถิ่น
ที่ ถาวร ส่วนใหญ่ จลุ ินทรียป์ ระจาถิ่ นเป็นพวกแบคที เรี ย และอาจ
พบเชื้อราพวกยีสต์และโปรโตซัวบางชนิด
ชนิ ด และจ านวนของจุลิ น ทรี ย ์ ใ นแต่ ล ะอวั ย วะจะต่ า งกั น ไป
เนื่องจากความแตกต่างทางกายภาพและทางเคมี
Normal Flora
ในแต่ ล ะคนจะมี ช นิ ด ของจุลิ น ทรี ย ์ ป ระจ าถิ่ น ไม่ เ หมื อ นกั น
แตกต่ า งกัน ไปตามส ขุ นิ ส ัย จ านวนครั้ง ที่ อ าบน้ า ในแต่ ละวัน
อาหาร และสภาพแวดล้อมที่อยูอ่ าศัย
เด็กและผูใ้ หญ่ที่อยูใ่ นสิ่งแวดล้อมเดียวกัน จะมีจลุ ินทรียป์ ระจาถิ่น
ค่อนข้างเหมือนกัน
ในระยะเวลาต่างกัน แต่ละคนอาจมีชนิ ดของจุลินทรียป์ ระจาถิ่ น
เปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยู่กบั ส ุขภาพ อาหาร ระดับฮอร์โมน อาย ุ และ
ปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง
บทบาทของ Normal Flora
สร้างวิตามินให้กบั โฮสต์
จากการทดลองพบว่าสัตว์ปลอดเชื้อต้องการวิตามินเค ในขณะที่
สัต ว์ป กติ ไ ม่ ต ้อ งการ และสัต ว์ป ลอดเชื้ อยัง ต้อ งการวิ ต ามิ น บี
มากกว่าสัตว์ปกติอีกด้วย
มีส่วนช่วยป้องกันการบ ุกร ุกและการเจริญเพิ่มจานวนของเชื้อโรค
ได้โดยการแย่งอาหาร หรือการสร้างสารที่มีฤทธิ์ยบั ยัง้ เชื้ออื่น
Escherichia coli
สร้าง colicins ยับยัง้ แบคทีเรียชนิดอื่น จึ งช่วย
ป้องกันลาไส้เล็กจากเชื้อโรคอื่นได้
ผลของสารเคมีและยาปฏิชีวนะต่อ Normal
Flora
การใช้ hexachlorophene ทาความสะอาดผิวหนังจะมีผลในการ
กดเชื้อประจาถิ่ นที่ เป็นแบคทีเรียแกรมบวก และส่งเสริม การเพิ่ม
จานวนของแบคทีเรียแกรมลบร ูปร่างท่อน (bacilli) และเชื้ออื่นๆ
ซึ่งเดิมไม่สามารถเจริญบนผิวหนังได้
คนที่ ได้รบั ยาปฏิชีวนะซึ่งกดเชื้อจุลินทรียป์ ระจาถิ่ นในลาไส้ใหญ่
อาจเกิดโรคลาไส้ใหญ่อกั เสบ (pseudomembranous colitis) ซึ่ง
มีสาเหต ุจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium difficile สายพันธท์ ุ ี่
สร้างสารพิษ ซึ่งปกติเพิ่มจานวนได้ไม่มากเพราะถกู จุลิ นทรีย ์
ประจาถิ่นกดเอาไว้
Normal Flora
109 cfu/g
103-107 cfu/g
106-107 cfu/g
101-103 cfu/g
1011-1012 cfu/g
106-107 cfu/g
Normal Flora of the Gastrointestinal Tract
โรคติดเชื้อ ภ ูมิคม้ ุ กัน
และการป้องกันการเกิดโรค
โรคและการติดเชื้อ
โรค หมายถึง การเจ็บป่วยที่เนื่องมาจากร่างกายทางานผิดปกติ
โรคติดเชื้อ (infectious disease) เกิดจากการติดเชื้อจลุ ินทรีย ์
ก่อโรค เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ รา หรือไวรัส ฯลฯ อาจเป็นโรคชนิด
ที่ติดต่อได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ หรืออาจเป็นโรคชนิดที่ไม่ติดต่อ เช่น
บาดทะยัก
โรคไม่ติดเชื้อ (non-infectious disease) เป็นโรคที่เกิดขึ้นเฉพาะ
ราย เนื่องจากความผิดปกติของร่างกาย เช่น เบาหวาน ความดัน
หัวใจ ข้อเสื่อม ภ ูมิแพ้
ระบบภูมิคม้ ุ กัน
Immune System
คือ ระบบที่
ท าหน้า ที่ ป้ องกัน เชื้ อโรค หรือสิ่ ง
แ ป ล ก ป ล อ ม ไ ม่ ใ ห้ เ ข้ า ม า ท า
อัน ตรายต่ อ ร่ า งกาย หรื อ เมื่ อ
หล ุดเข้ามาแล้ว ระบบภมู ิคม้ ุ กันก็
จะพยายามทาลาย หรือกาจัดสิ่ ง
แ ป ล ก ป ล อ ม ใ ห้ ห ม ด ไ ป จ า ก
ร่ า ง ก า ย โ ด ย เ ร็ ว แ ล ะ อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพ
http://www.novabizz.com/NovaAce/ImmuneSystem.htm
หน้าที่ของระบบภูมิคม้ ุ กัน
หน้าที่โดยสังเขปของระบบภ ูมิคม้ ุ กัน
- Defense
ป้องกันและทาลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
- Homeostasis คอยกาจัดเซลปกติที่เสื่อมสภาพ เช่น เม็ดเลือดที่
มีอาย ุมากแล้ว ออกจากระบบของร่างกาย
- Surveillance คอยจับตาด ูเซลต่างๆ ที่จะแปรสภาพผิดไปจาก
ปกติ เช่น คอยดักทาลาย tumor cells เพื่อป้องกันการเกิด
โรคมะเร็ง
http://www.novabizz.com/NovaAce/ImmuneSystem.htm
ส่วนประกอบของระบบภ ูมิคม้ ุ กัน
อวัยวะต่างๆ ในร่างกายมีบทบาทและ
มี ค วามส าคัญ ในการสร้า งภ มู ิ ค ้มุ กัน
เช่ น ไขกระด กู ต่ อ มน้ า เหลื อ ง ต่ อ ม
ไทมัส ม้าม ต่อมทอนซิล กระด ูกอ่อน
ในจมูก และไส้ติ่ง ฯลฯ
อ วั ย วะ เ ห ล่ า นี้ รั บ ผิ ดช อบ ต่ อ กา ร
เจริญเติบโต พัฒนาการ และผลิตเซล
lymphocytes (ส่วนหนึ่งของเม็ดเลือ ด
ขาว) ซึ่ ง เป็ นก าลั ง ส าคั ญ ในระบบ
ภ ูมิคม้ ุ กัน
การตอบสนองทางภ ูมิคม้ ุ กัน
การตอบสนองปฐมภ ูมิ
เมื่อเชื้อชนิดใดชนิดหนึ่งเข้าสู่ร่างกายครัง้ แรก ระบบภมู ิคม้ ุ กันจะ
ใช้ระยะเวลาหนึ่งในการทาความรจ้ ู กั เชื้อนัน้ แล้วจึงหาวิธีกาจัด
การตอบสนองท ุติยภ ูมิ
เมื่ อ ร่ า งกายถ กู โจมตี จ ากเชื้ อชนิ ด เดิ ม เป็ นครั้ง ที่ ส อง ระบบ
ภมู ิ คม้ ุ กันซึ่งเคยเรียนรก้ ู ารป้องกันมาแล้ว จะจาเชื้ อดังกล่าวได้
ดังนัน้ การป้องกันจึงเกิดขึ้นทันที
Non-Specific Immune Response
เป็นการกาจัดสิ่งแปลกปลอมออกจากร่างกายโดยวิธีการง่าย ๆ
เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รบั สิ่งแปลกปลอมนัน้ เป็นครัง้ แรก หรือแม้
ได้ร ับ อี ก ในคราวต่ อ มา ร่ า งกายก็ อ าจใช้วิ ธี ก ารนี้ ก าจั ด สิ่ ง
แปลกปลอมร่วมกับ specific immune response
Barrier หรือเครือ
่ งกีดขวางตามธรรมชาติ ได้แก่ ผิวหนัง เยื่อ
เมือกซึ่งบ ุตามอวัยวะต่างๆและขนอ่อน (cilia) เมื่อสิ่งแปลกปลอม
นัน้ สามารถผ่าน barrier นี้เข้าไปได้ จะถกู ร่างกายกาจัดโดยใช้
inflammatory response และ phagocytosis
ระบบภ ูมิคม้ ุ กันของคนเรา
มี 2 ประเภท คือ ภ ูมิคม้ ุ กันก่อเองและภ ูมิคม้ ุ กันรับมา
ภมู ิคม้ ุ กันก่อเอง (Active immunization) เป็นวิ ธีการกระตน้ ุ ให้
ร่างกายสร้างภมู ิคม้ ุ กัน โดยการนาสารที่ เป็นแอนติ เจน ซึ่งอาจ
เป็นเชื้อโรคที่อ่อนกาลังแล้ว ไม่สามารถทาอันตรายต่ อร่างกาย
นามาฉีด กิน หรือ ทาผิวหนัง เพื่ อการกระตน้ ุ ให้ร่างกายสร้าง
ภมู ิคม้ ุ กันที่ จาเพาะต่อแอนติ เจนชนิดนัน้ เชื้อโรคที่ ถกู ทาให้อ่อน
กาลังแล้ว นามากระตน้ ุ ให้รา่ งกายสร้างสารภมู ิตา้ นทานต่อต้าน
เชื้อนัน้ ๆ เรียกว่า วัคซีน
ระบบภ ูมิคม้ ุ กันของคนเรา
วัคซีน (Vaccine)
วัคซีน ที่ได้จากจุลินทรียท์ ี่ตายแล้วหรือสกัดสารบางอย่าง
จากจุลินทรียท์ ี่ตายแล้ว ได้แก่ วัคซีนที่คม้ ุ กันโรคไอกรน
ไทฟอยด์ และอหิวาตกโรค
วัคซีนบางชนิด ทาจากจุลินทรียท์ ี่ยงั มีชีวิตอยู่ แต่มีความ
ร ุนแรงของโรคลดลง ได้แก่ วัคซีนคม้ ุ กันวัณโรค โปลิโอ
หัด หัดเยอรมัน และคางทูม
ระบบภ ูมิคม้ ุ กันของคนเรา
ทอกซอยด์
ทอกซอยด์ เป็นสารพิษที่ทาให้หมดสภาพความเป็นพิษ แต่
สามารถไปกระตน้ ุ ร่างกายให้สร้างภ ูมิคม้ ุ กันได้ เช่น วัคซีน
คม้ ุ กันโรคคอตีบ บาดทะยัก
ข้อดี ทาให้รา่ งกายเกิดภ ูมิอยูน่ าน
ข้อเสีย ต้องใช้เวลาในการรอให้รา่ งกายมีการ
ตอบสนองต่อวัคซีนหรือแอนติเจน
ระบบภ ูมิคม้ ุ กันของคนเรา
ภ ูมิคม้ ุ กันรับมา (passive immunization) เป็นวิธีที่ให้
แอนติเจนแก่รา่ งกายโดยตรง เพื่อให้ภ ูมิคม้ ุ กันเกิดขึ้นทันที
• ถ้าเป็ นการทาให้ร่างกายได้รบั ภูมคิ มุ้ กันโดยตรง สามารถ
ต่อต้านโรคได้ทนั ที เช่น เซรุ่มสาหรับคอตีบ แก้พิษงู แก้พิษสุนขั
บ้า
• ภูมคิ มุ้ กันรับมายังรวมไปถึงภูมคิ มุ้ กันที่แม่ให้ลกู โดยได้รบั
สารภูมติ า้ นทานจากแม่ผา่ นสายสะดือ
ตัวอย่ ำงโรคติดเชื้อที่มี
กำรติดต่ อ
ติดต่อได้อย่างไรบ้าง
•
•
•
•
การสัมผัสโดยตรง
การสูดดมหายใจเอาเชือ้ โรคที่แพร่จากผูป้ ่ วย
การรับประทานอาหารหรือนา้ ดืม่ ที่มเี ชือ้ ปนอยู่
แม้แต่ผา่ นตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ เช่น ยุง แมลงต่าง
ตัวอย่างโรคที่มีการติดต่อ
โรคตาแดง
โรคไข้หวัดใหญ่
โรคโปลิโอ
โรคหัด
โรคอีสกุ อีกใส
โรควัณโรค
โรคคอตีบ
โรคอหิวาตกโรค
โรคไข้เลือดออก
ฯลฯ
โรคบาดทะยัก
โรคไอกรน
โรคอุจจาระร่วง
โรคเลปโตสไปโรซิส
โรคเท้าช้าง
โรคเอดส์
โรคติดต่อที่ควรรูจ้ กั
โรคติดต่อทางเดินหายใจ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อจากสัตว์สค่ ู น
โรคติดต่อนาโดยแมลง
โรคติดต่อจากสัตว์สค่ ู น
โรคพิ ษ ส นุ ัข บ้ า
โรคเลปโตสไปโรซิ ส
โรคเมอร์ส -โควี (โรคไวรัส อ ฐู )
โรคติดต่อจากสัตว์สค่ ู น
โรคพิษส ุนัขบ้า
โรคพิษสุ นัขบ้ ำหรื อโรคกลัวน้ำ เป็ นโรคติดต่ อร้ ำยแรง
ชนิดหนึ่ง เกิดจำกเชื้อเรบีส์ไวรัส (Rabies) ทำให้ เกิดโรคได้ ใน
สั ต ว์ เ ลี้ย งลู ก ด้ ว ยนมทุ ก ชนิ ด เช่ น คน สุ นั ข แมว ลิ ง ชะนี
กระรอก ฯลฯ
โรคนี้ เ มื่ อ เป็ นแล้ วจะท ำให้ มี อ ำกำรทำงประสำท
โดยเฉพำะระบบประสำทส่ วนกลำง และถ้ ำเป็ นแล้ วเสี ยชีวติ ทุก
รำย ในปัจจุบันยังไม่ มยี ำทีจ่ ะรักษำโรคพิษสุ นัขบ้ ำได้
อาการของโรคพิษส ุนัขบ้า
• ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว มีไข้
• คันหรื อปวดบริ เวณรอยที่ถูกกัด ทั้ง ๆ ที่แผลอาจหายเป็ นปกติแล้ว
• หงุดหงิด ตื่นเต้นไวต่อสิ่ งเร้ารอบกาย ไม่ชอบแสง ลม
• มีน้ าลายไหล กล้ามเนื้อคอกระตุก เกร็ งขณะพยายามกลืนอาหาร
หรื อน้ า ทำให้ เกิดอำกำร "กลัวนำ้ "
• เพ้อคลัง่ สลับกับอาการสงบ ชัก ผูป้ ่ วยบางรายอาจเป็ นอัมพาต
• อาการแขนขาอ่อนแรง หมดสติ และเสี ยชีวติ ใน
โรคติดต่อทางเดินหายใจ
•โรคไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่
•โรควัณโรค
โรคไข้หวัดนก
โรคไข้ หวัดนก (Bird Flu) หรือโรคไข้ หวัดใหญ่ สัตว์ ปีก (Avian Influenza) เป็ น
โรคที่เกิดจำกเชื้อไวรัสไข้ หวัดใหญ่ ชนิดเอ (Avian Influenza Type A) แบ่งออก
ได้เป็ นไข้หวัดนกชนิ ดรุ นแรง และชนิ ดไม่รุนแรง สายพันธุ์ที่มกั จะทาให้เกิ ด
โรคในนกและมีความรุ นแรงได้แก่ สายพันธุ์ H5 และ H7 ซึ่งเชื้อนี้ สามารถแพร่
ระบาดกันได้ในหมู่สัตว์ปีกทุกชนิด มีระยะการฟักตัวเฉลี่ย 3 - 5 วัน แต่ไม่เกิน 7
วัน หากเชื้ อโรคติ ด ต่ อสู่ คนจะมี ระยะฟั กตัว ประมาณ 1-3 วัน โดยทัว่ ไปเชื้ อ
ไข้หวัดนกนี้ มกั ระบาดในช่วงฤดูหนาว เนื่ องจากมีสภาพแวดล้อมเหมาะแก่การ
เจริ ญเติบโตของเชื้อไวรัส
คนเป็นโรคไข้หวัดนกได้อย่างไร
โรควัณโรค
วัณโรค เป็ นโรคชนิดหนึ่งที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรี ย
(เชื้อโรค)ไมโคแบคทีเรี ยม ทูเบอร์ คูโลซิ ส
•
สามารถทาลายปอดหรื ออวัยวะอื่นๆ ของร่ างกาย และ
อาจทาให้เกิดอาการป่ วยที่ร้ายแรงได้
โรควัณโรค
คลิปวิดีโอ วัณโรค
โรคติดต่อทางเดินอาหารและน้า
 อุจจำระร่ วง
 อหิ วาตกโรค
 บิด
 ไข้ไทฟอยด์
 ไข้รากสาดน้อย / ไข้รากสาดใหญ่
อาการของโรคอ ุจจาระร่วง
• ถ่ายอุจจาระเหลวมำกกว่ำวันละ 2 ครั้ง
• ถ่ายอุจจาระเป็ นนำ้ หรือมูก หรือมูกปนเลือด
นิสิตแบ่งตามกลมุ่ อภิปรายตามหัวข้อ
ปั จ จัย หรื อ สาเหตุใ ดของ
อาหารเหล่ า นี้ ที่ ส่ ง ผล
กระทบความเสี่ยงต่อการ
เกิดโรค
วิธีป้องกันโรคอ ุจจาระร่วง
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
•โรคเอดส์
•โรคหนองใน
•โรคหนองในเทียม
•แผลริ มอ่อน
โรคเอดส์ คืออะไร
คื อ กลุ่ ม อาการของโรคที่ เ กิ ด จากการติ ด เชื้ อ
ไวรั ส HIV เข้าไปทาลายเม็ดเลื อดขาวซึ่ ง เป็ น
แหล่งสร้ างภูมิคุม้ กันโรค ทาให้ภูมิคุม้ กันโรค
ในร่ างกายลดน้อยลง และทาให้ติดเชื้ อโรคอื่น
ได้ง่าย
เอดส์ติดต่อได้อย่างไรบ้าง
• เปลี่ยนคู่นอน
•ใช้เข็มฉี ดยาร่ วมกัน
• ติดต่อจากแม่สู่ลูก
ถ้าสงสัยว่า ติดเอดส์ !!!
แนะนาให้ตรวจเลือด
แต่ ไม่ ควรตรวจเลือดทันที
ควรตรวจเลือดภายหลังจากวันที่สงสัยว่า
ไปติดเชื้อมำ 6 เดือน
นิสิตรูห้ รือไม่ว่า
• ย ุงกัดติดเอดส์หรือไม่
• กินข้าวร่วมกับผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวีได้
หรือไม่
•จูบกับผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวีได้หรือไม่
โรคติดต่อนาโดยแมลง
โรคเทาช
าง
้ ้
โรคมาลาเรีย
โรคไขเลื
อ
ดออก
้
พาหะนาโรค
ยุงลายบ้ าน
ยุงลายสวน
ช่วงนี้........ชี้แนะ