ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีอุษาคเนย์

Download Report

Transcript ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีอุษาคเนย์

หัวข ้อ ดนตรีไทย ในรายวิชา ๐๑๙๙๙๐๓๒
ึ ษา
ไทยศก
ผู ้สอน ผู ้ชว่ ยศาสตราจารย์ณรงค์ เขียนทอง
๕,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคหิน
๕,๐๐๐ ปี มาแล ้ว บรรพ
ชนคนอุษาคเนย์เริม
่ ทยอยหยุด
ร่อนเร่ แล ้วตัง้ หลักแหล่งอยูเ่ ป็ น
เป็ นทาง บางแห่งรวมกันเป็ น
หมูบ
่ ้านขนาดเล็ก
้ อ
คนเหล่านีใ้ ชเครื
่ งมือทาจากหิน เรียกภายหลังว่าขวานหิน หรือ
้ ้ไผ่ไปด ้วย รู ้จักทานาปลูกข ้าวเหนียว
เครือ
่ งมือหิน ขณะเดียวกันก็ใชไม
้
กินเป็ นอาหารหลัก, เลีย
้ งวัวควายไว ้ใชงาน,
ทอผ ้า, ทาลูกปั ดเป็ น
เครือ
่ งรางป้ องกันผีร ้าย, มีพธิ ท
ี าศพ
ี , มนุษย์
แหล่งสาคัญของคนยุคนี้อยูท
่ ม
ี่ นุษย์ชวาในอินโดนีเซย
่
ลาปางในไทย และยังมีทอ
ี่ น
ื่ ๆ ในไทยอีก เชน
บ ้านโนนนกทา
ี ง (อุดรธานี), บ ้านโนนวัด (นครราชสม
ี า), ถ้าลอด
(ขอนแก่น), บ ้านเชย
่
๕,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคหิน
“วัฒนธรรมไม้ไ ผ่ ”
่
เครืองดนตรี
แรกสุดของอุษาคเนย ์
๕,๐๐๐ ปี มาแล ้ว คนสุว รรณภูม ิ เริ่ม ท าเครื่ อ ง
ดนตรี “วั ฒ นธรรมไม ไ้ ผ่ ” เพื่ อ พิธ ี ก รรมส ื่อ สารกั บ
้ ้ไผ่ขนาดต่างๆ มีชอ
ื่
อานาจเหนือธรรมชาติ โดยใชไม
เรี ย กภายหลั ง ว่ า “เกราะ” “โกร่ง ” และ
“กร ับ”
้ ้ไผ่กระทุ ้งดิน
ชาวข่าใชไม
๕,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคหิน
เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทตี
เรียกว่า “ระนาดหิน”
เป็ นหลั ก ฐานแสดงให ้
ิ ปะ
เห็ น ถึง เทคโนโลยีแ ละศ ล
ของคนสมัยก่อนประวัตศ
ิ าสตร์
ในภาคใต ้ ที่น าหิน มาท าเป็ น
ขวานหิน ขั ด ยาวต่ า งๆ กั น ส ี
ขาว ผิว เรี ย บ มีล วดลายของ
หินตามธรรมชาติ ผูกร ้อยด ้วย
เช ือ กคล ้ายระนาดไม ้ในบั จ จุ
ที่ ม า พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น
แ ห่ ง ช า ติ ที่ ๑ ๑
นครศรี ธ รรมราช ส านั ก
โ บ ร า ณ ค ดี แ ล ะ
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
๓,๐๐๐ ปี มาแล ้ว คนสุวรรณภูม ิ รู ้จั ก ถลุง โลหะ
ด ้วยความร ้อน แล ้วเอามาทุบตีและหล่อหลอมให ้ได ้
้
รูปเครือ
่ งมือ เครือ
่ งใชตามต
้องการ
โลหะยุคนัน
้ มีทองแดง, ดีบก
ุ , ตะกัว่ , เหล็ก
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
“ ส า ริ ด ” ส า ม า ร ถ
เขีย นอีก อย่า งหนึ่ง ได ้ว่า
“ สั ม ฤ ท ธิ์ ” น่ า จ ะ มี ร า ก
ศั พ ท์ ม า จ า ก ภ า ษ า
สั น สกฤต ตรงกั บ ภาษา
บาลี ว่ า สมิ ทฺ ธิ แปล ว่ า
“ความส
จ”
สาริด สัมฤทธิ์ ทองสาริ
ด หรือาเร็
Bronze
ใน
ภาษาอั ง กฤษ ก็ ค ือ “โลหะผสม” ที่เ กิด ขึน
้ จากการ
เทคโนโลยีใ นการน าแร่ ท องแดงจากธรรมชาติม า
่
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
โลหกรรมสาริด กระจายตัวไปในพืน
้ ทีต
่ า่ งๆ มี
ทั ง้ มากและน ้อย เช ่น ที่โ นนนกทา จั ง หวั ด ขอนแก่น
บ ้านเช ีย ง อุ ด รธานี แ ละลุ่ ม น้ า ป่ าสั ก ในเขตจั ง หวั ด
นครสวรรค์ ลพบุรี ล ้วนมีร่องรอยการถลุงแร่ทองแดง
และการหลอมส าริด มายาวนานและมากกว่า ที่อ น
ื่ ๆ
ในประเทศไทย
จนเมื่อ ราว ๒,๕๐๐ ปี ที่แ ล ้ว จึง เริ่ม มีก ารใช ้
เหล็กเป็ นครัง้ แรกๆ โลหกรรมเหล็กกระจายตัวไปใน
วั ฒ นธร ร ม ตาม ลุ่ ม น้ าโบร าณ เ ข า้ ถึ ง ชุ ม ชนใ ก ล ้
้
เส นทางก่
อ นชุม ชนที่อ ยู่ห่า งไกลออกไป ในขณะที่
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
“วัฒนธรรมฆ้อง” สัญลักษณ์เครือ
ญาติอษ
ุ าคเนย ์
วัฒ นธรรมฆ้อ ง เป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ ร่ ว มเฉพาะ
ภูมภ
ิ าคอุษาคเนย์ พบเก่าสุดอายุราว ๓,๐๐๐ ปี มาแล ้ว
พบที่ ยู น นาน (ในมณฑลทางใต ้ของจี น ) , กวางส ี
ิ (ในเวียดนาม)
และทีด
่ งเซน
มีช ื่อ เรีย กหลายอย่ า ง เช ่น กลองทอง (ไทย,
ลาว), ฆ้องบัง้ (ลาว),
กลองกบ (กะเหรีย
่ ง), ฆ้อง
กบ, มโหระทึก (ไทย), ฯลฯ
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
“วัฒนธรรมฆ้อง” สัญลักษณ์เครือ
ญาติอษ
ุ าคเนย ์
กลอง
ฆ้อง
ภาพเขียนส ี ถ้าตาด ้วง จ.กาญจนบุรี
มีรูป
้
กระบวนแห่ทเี่ ป็ นดนตรีใชในการประกอบพิ
ธก
ี รรมของ
ั นิษฐานจากภาพวาดกระบวน
คนก่อนประวัตศ
ิ าสตร์ สน
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
“มโหระทึก”
เป็ นกลองชนิด หนึ่ง ท าด ้วยโลหะ
เป็ นกลองหน า้ เดีย ว
รู ป ทรงกระบอก ตรง
กลางคอดเล็กน ้อย มีขนาดต่างๆ สว่ นฐานกลวง มีหู
ื กหามหรือ
หล่อติดข ้างตัวกลอง 2 คู่ สาหรับร ้อยเชอ
แขวนกับหลัก ทีห
่ น ้ากลองเป็ นแผ่นเรียบ มักมีรูปกบ
หรือเขียดอยูท
่ ด
ี่ ้านบนหน ้ากลอง
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
กลองมโหระทึก เป็ นตั ว แทนของอารยธรรม
เริ่ม แรกของภู ม ิภ าคและเป็ นวั ฒ นธรรมที่โ ดดเด่ น
ี ตะวั น ออกเฉี ย งใต ้ เป็ น
อย่า งหนึ่ง ในดิน แดนเอเช ย
ื่ ของกลุม
วัฒนธรรมความเชอ
่ ชนโบราณสมัยก่อน
การพบกลองมโหระทึกเป็ นหลักฐานทีช
่ ใี้ ห ้ถึง
ภู มิ ปั ญ ญ า แ ล ะ ค ว า ม รู ค
้ ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ด า้ น
ิ ปกรรมและเทคโนโลยีข องคนในภูม ภ
ี
ศล
ิ าคเอเช ย
ตะวั น ออกเฉี ย งใต ไ้ ม่ น อ
้ ยกว่ า ๓,๐๐๐ ปี มาแล ว้
ก่อนทีจ
่ ะรับอารยธรรมจากอินเดียและจีน
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
กลองมโหระทึก บ่ ง บอกถึง สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง
อานาจของมนุษย์ทส
ี่ ามารถผลิตเครือ
่ งมือสาริดทีใ่ ช ้
โลหะสาคัญในการผลิตเป็ นจานวนมาก ทีส
่ าคัญยังมี
่ ลาย
ลวดลายทีบ
่ ่งบอกถึง “ความอุดมสมบูรณ์ ” เชน
ปลา ลายคลืน
่ น้ า หรือมีรป
ู ประติมากรรมรูปกบประดับ
ั ลักษณ์ของน้ าหรือฝนนั่นเอง
ตามมุม ซงึ่ เป็ นสญ
๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยุคโลหะ
กลองมโหระทึกนี้มักจะเรียกแตกต่างกันออกไปตาม
ื่ ของคนในท ้องถิน
รูปแบบและความเชอ
่ นั น
้ ๆ อาทิ ภาคเหนือ
ของประเทศไทย และในประเทศพม่าเรียกว่า ฆ ้องกบหรือ
ฆ ้องเขียด เพราะมีรูปกบหรือ เขียดปรากฏอยู่บนหน ้ากลอง
จีนเรียกว่า ตุงกู่ (Tung Ku) อังกฤษเรียกว่า Kettle drum
หรือ Bronze drum เพราะว่ากลองนี้มรี ป
ู ร่างคล ้ายกับโลหะ
้
สาริดทีใ่ ชในการต
้มน้ า ส่วนไทยเรานั น
้ เรียกว่า หรทึก หรือ
ื่ เรียกนั น
มโหระทึก ซงึ่ ชอ
้ จะแตกต่างกันไปแต่ละยุคสมัย
้ ่ อ งในพิธ ีก รรมความเช ื่อ เป็ น
กลองมโหระทึก ใช เนื
ี ตะวันออกเฉียง
วัฒนธรรมร่วมทีพ
่ บในพืน
้ ทีต
่ า่ งๆ ของเอเชย
มโหระทึกในปั จจุบน
ั
้
่ พระราชพิธ ี
ปั จจุบน
ั มีการใชมโหระทึ
กในพระราชพิธ ี เชน
จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ั ท์เฉพาะ
ศพ
แทนคาว่า “ตี”
สาหรับ
มโหระทึก คือ
“กระทั่ง”
VDO กระทั่งมโหระทึก
ในพระราชพิธ ีจ รดพระ
นังคัลแรกนาขวัญ
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
บ ริ เ ว ณ ค า บ ส มุ ท ร
ภาคใต ้ ได ้พบประติมากรรม
รู ป พ ร ะ วิ ษ ณุ ห รื อ พ ร ะ
นารายณ์ เทพเจ ้าสาคัญองค์
ห นึ่ ง ใ น ศ า ส น า พ ร า ห ม ณ์
ิ ดูสลักจากหิน มีอายุ
หรือฮน
เก่าแก่ทส
ี่ ด
ุ คือ ราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๐ ทีศ
่ าลาทึง
อ าเภอไชยา
จั ง หวั ด สุ
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
มีลก
ั ษณะทางประติมาณวิทยา
่
คล ้ายคลึงกับเทวรูปพระวิษณุ ทีพบใน
ลุ่มแม่น้ากฤษณาทางภาคตะวันออก
เฉี ย งใต ข
้ องอินเดีย ที่มีอ ายุอ ยู่ในราว
พุทธศตวรรษที่ ๘-๑๐ เช่น ลักษณะ
ของพระหัตถ ์ซ ้ายล่างทรงถือสังข อ์ ยู่
ในระดับพระโสณี พระหัตถ ์ขวาบนอยู่
ท่าอภัยมุทรา (ปางป้ องกันภัย) พระ
หัตถ ์ขวาล่างทรงถือคฑา ส่วนพระ
่ ก หายไปคงจะถื อ
หัต ถ ซ
์ า้ ยบนซึงหั
่ วน
จักร
ลักษณะผ้านุ่ งและผ้าซึงม้
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
้
นอกจากนี ้บัน ทึ ก หรือ จดหมายเหตุ ข องจีน ที่เขี ย นขึ น
ประมาณระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๑ ถึงกลางพุทธศตวรรษที่
้ ้
๑๒ ยังได ้กล่าวถึงการดนตรีของชาวเมืองต่างๆ บนคาบสมุทรนี ไว
ด ้วย เช่น
่ าวมาแลว้ ในพุทธศตวรรษที่ ๖-๘
อาณาจักรตุนชุนทีกล่
จดหมายเหตุในพุทธศตวรรษได ้กล่าวว่า
้ บ ป่ วย เขาก็
“เมื่อประชาชนเจ็ บ ป่ วยในอาณาจัก รนี เจ็
่
่ จึงนา
แสดงความปรารถนาทีจะปลงศพ
ของเขากับนก คนอืนๆ
เขาออกมานอกเมืองพร ้อมกับมีคนร ้องเพลงและฟ้ อนรา และจะ
่ อจะเผาใส่ไหและนาไป
มีนกมาจิกกินผูป้ ่ วยเหล่านั้น กระดูกทีเหลื
้
ทิงทะเล…”
( มจ.สุภท
ั รดิศ ดิศกุล, ๒๕๒๒, หน้า ๒๙)
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
สาหร บั ขนบประเพณี ของอาณาจัก รลิน ยี่ในพุท ธ
ศตวรรษที่ ๑๐ มีดงั นี ้
้
“…
ทังหญิ
งและชายมีแต่เพียงผ้าฝ้ ายผืน
เดียวห่อหุม้ ร่างกาย เรียกว่า กิเป (Ki-pei)… พระราชา
ทรงสวมพระมาลาทรงสูง ประดับ ด ว้ ยดอกไม้ท องและพู่
่
ไหม เมือพระองค
์เสด็จออกจากพระราชวัง ก็จะทรงช ้าง มี
ขบวนแห่แหน ประกอบดว้ ยสังข ์และกลองนาหน้า ทรงมี
กลดท าด ว้ ยผ้า กิ เ ปกั้น และล อ
้ มรอบไปด ว้ ยข า้ ราช
บริพาร…”
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
อาณาจัก รลัง กาสุ ก ะ (Langkasuka,
Lang-YaHaiu,Lang-Chia-Shu)อยู่ทางทิศใตข
้ องอาณาจักรตามพรลิงค ์
อาณาเขตทางเหนื อถึงคอคอดกระทางใต ้แหลมมาลายู สันนิ ษฐาน
ว่า มีศูนย ์กลางอยู่ทปั
ี่ ตตานี ตะกั่วป่ าและตรงั มีพ ฒ
ั นาการเป็ น
้ พุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ เคยตกอยู่ใตอ้ านาจ
บา้ นเมืองมาตังแต่
ของอาณาจัก รฟู นานและติด ต่อทางการทูต กับ จีน ในเมื่อ พ.ศ.
๑๐๕๒ พงศาวดารจีนชือ่ ม้าตวนหลิน (Ma-Tua-Lin) บันทึกไว ้
่ ทาใหท
เมื่อพุ ทธศตวรรษที18
้ ราบว่า สภาพบ า้ นเมืองมีก ษัตริย ์
้ มี ก าแพง มี ป้ อมปราการ
ปกครอง ในเมื อ งมี ป ระตู ๒ ชัน
้
ประชาชนทังชายหญิ
งไม่สวมเสือ้ ไวผ
้ มลุ่ยประบ่านุ่ งผ้าฝ้ ายหรือ
่ ยกว่า กันมาน (Kan-Man) กษัตริย ์และขุนนางผูใ้ หญ่มี
โสร่งทีเรี
้
่ งพาดบ่ า มี ส ายคาดเอว คาดเข็ ม ขัด ทอง สวมต่ า งหู
ผ้า ชินหนึ
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
้
้
“ประชาชนทังชายและหญิ
งสยายผมและสวมเสือไม่
มีแ ขนท าด ว้ ยผ้า กัน มัน อัน ทอดว้ ยฝ้ ายกิเ ป พระราชา
และขุน นางในราชอาณาจัก รมีผ า้ สีแ ดงรุง่ อรุณ คลุม อยู่
้
่ง คลุ ม อยู่ บ นบ่ า ทังสองข
้
ข า้ งบนหลัง อี ก ชันหนึ
า้ ง ทัง้
พระราชาและขุนนางต่างก็คาดเข็ มขัดทอดว้ ยดว้ ยเชือก
ทอง และสวมต่างหูทองเป็ นวงกลม สตรีแต่งกายดว้ ยผ้า
ห่ ม อย่ า งสวยงามประดับ ด ว้ ยเพชรพลอย ก าแพงใน
่ บานประตู ๒ บานและมีพลับพลา
ประเทศก่อดว้ ยอิฐ ซึงมี
้ ่บนลาน เมือราชาเสด็
่
ตังอยู
จออกจากพระราชวัง พระองค ์
้
่
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
ที่ ฉี ตู ห รือ จิ ถู ม้า ตวนลิ นได ก
้ ล่ า วบรรยายถึ ง สภาพของ
อาณาจักรจิถูหรือดินแดงไว ้ในราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๒ แสดงให ้
เห็นสภาพของอาณาจักรต่างๆ ในแหลมมลายูในขณะนั้นได ้บ ้าง
“ราชวงศ ข
์ องพระราชาแห่ ง อาณาขจัก รจิถู ( Ch’ilt’an คือ โคตรมะ) และพระราชาเองก็ทรงพระนามว่าลิฟูโตชิ (Li-fu้
to-shi) เราไม่ทราบว่าบรรพบุรุษของพระองค ์เก่าขึนไป
ถึงแค่ไหน
กล่าวกันเพียงแต่ว่าพระบิดาของพระองค ์ไดท
้ รงพระราชสมบัต ิ เพื่อ
้ ไดข
เสด็ จออกทรงผนวชและพระราชาองค ์นี ก็
้ นครองราชย
ึ้
์มา ๑๖ ปี
่
แล ้ว(คงนับจาก พ.ศ.๑๑๕๒ อันเป็ นเวลาทีคณะทู
ตจีนเดินทางเขา้ มา
ในราชอาณาจักร) พระเจ ้าลิฟูโตซีทรงมีพระชายา ๓ องค ์ แต่ละองค ์
ก็ ทรงเป็ นพระราชธิดาของอาณาจักรขา้ งเคียง พระราชาประทับอยู่
ในเมืองเซงฉิ (Seng-ch’j) หรือ เซงเจง (Seng-che) อันเป็ นเมืองที่
้
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
่
(ต่อ)…ผุท
้ บิ
ี่ ดามารดาหรือพีชายตายจะโกนศี
รษะและนุ่ ง
ห่มขาว เขาสร ้างกระท่อม ไม้ไผ่ขนเหนื
ึ้
อน้า ในนั้นมีเศษ
ไม้ชนเล็
ิ ้ ก ๆ เต็ม และใส่ซากศพเข ้าไปไว ้ด ้วย ต่อจากนั้น
่
เขาจึ ง ช ก
ั ธงเผาเครืองหอม
เป่ าสัง ข แ์ ละตี ก ลอง ใน
ขณะเดี ย วกัน ก็ จุ ดไฟเข า้ กับ เศษไม้เ หล่ า นั้ นและเผา
่ ดทุกสิงทุ
่ กอย่างก็จมหายไปในน้า พิธป
ซากศพ ในทีสุ
ี ลง
ศ พ ข อ ง อ า ณ า จั ก ร จิ ถู ย่ อ ม เ ป็ น เ ช่ น นี ้ เ ส ม อ …”
(ประวัตศ
ิ าสตร ์เอเชียอาคเนย ์ถึง พ.ศ.๒๐๐๐ หน้า ๓๓ –
๓๔)
ยุคประวัตศ
ิ าสตร ์
่
พิธต
ี ้อนรบั คณะทูตจีนมีขบวนช ้างทรง เครืองต
้นประดับขน
นกยู ง และขบวนชายหญิง อีก ประมาณ ๑๐๐ คน เป่ าสัง ข แ์ ละตี
กลอง นาคณะทูตเขา้ เฝ้ าถวายราชสานส ์…” (พิ รยิ ะ ไกรฤกษ,์
๒๕๒๓: หน้า ๓๓)
่
พ.ศ.๑๒๑๔ เมือพระภิ
กษุ อจิ
ี ้ งไดเ้ ดินทางมาจากประเทศจีน
้ั
่ านได ้แวะพักหลังจาก
ไปยังประเทศอินเดียเป็ นครงแรก
แห่งแรกทีท่
ออกเดินทางจากเมืองกวางตุ ้งมาไม่ถงึ ๒๐ วัน ก็คอ
ื อาณาจักรโฟ
ชิ (Fo-shih)
ท่ า นได ห
้ ยุ ด พัก อยู่ ที่นั่ น ๖ เดือ น เพื่อศึก ษา
ไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตและได ้บันทึกว่า
“…พระราชวังมีร ะฆัง 2 ใบ ใบหนึ่ งหล่ อด ว้ ยทองและอีกใบ
้ า้ อาณาจักรปยุรก
้ เพื
้ อ
่
หนึ่ งหล่อด ้วยเงิน เขาเคาะระฆังนี ถ
ุ ราน ทังนี
้
่