Early Civilization

Download Report

Transcript Early Civilization

ลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกทีส
่ าคัญในยุคก่อนโมเดิรน
์
Pre-Modern Architecture
801321 History, Theory & Philosophy of Architecture
สัปดาห์ที่ 1/ ครั้งที่ 2
9 มิ.ย. 54
1.
Prehistoric Era
Early Civilization
2. Mesopotamia
3. Egypt
4. Greek
5. Roman
6. Early Christian Period
Medieval Period
7. Romanesque
8. Gothic
9. Renaissance
10. Baroque/ Rococo
“ถ้าให้เลือกได้จะเลือกที่จะกลับไปใช้ชวี ต
ิ ในยุคสมัยใด เพราะอะไร จาก 10 ยุคที่ระบุให้”
1
Prehistoric Era
Natural Man (10,000 B.C.)
เป็นยุคที่ศึกษาเรียนรู้จากธรรมชาติ อยู่บนฐานของความ
เชื่อ ความกลัว ความไม่รู้ ยังไม่มีการสร้างสถาปัตยกรรม
ส่วนใหญ่จะอยู่ถ้า รู้จักถ่ายทอดประสบการณ์จริงเป็น
ผลงานทางศิลปะบนผนังถ้า
มนุษย์เป็นเพียงนักปฏิรูปธรรมชาติ และสร้างศิลปกรรม
ขึ้นมาจากความเป็นจริงอันบริสุทธิ์
1
Prehistoric Era
2
Early Civilization
Mesopotamia
(3000 B.C – 626 B.C)
2
Early Civilization
Mesopotamia
(3000 B.C – 626 B.C)
นิยมสร้างสถาปัตยกรรมให้สูงคล้าย
ภูเขา เพื่อใกล้ชิดกับสวรรค์ พระเสมือน
เป็นนักดาราศาสตร์ที่จะดูดาวหรือ
สนทนากับพระเจ้าบนสวรรค์
สถาปัตยกรรมก่อสร้างด้วย “อิฐ” เกิด
ระบบ Arch & Vault
2
Early Civilization
Egypt
(3000 B.C. - 525 B.C.)
มนุษย์ประกอบด้วยร่างกายและ
วิญญาณ เมือ่ ตายไปแล้ววิญญาณจะ
ไม่ดบั สูญ จวบจนกระทังวั
่ นส้ ิ นโลก
ซึง่ วิญญาณและร่างกายจะกลับมาเกิด
ใหม่
2
Early Civilization
- Egypt
(3000 B.C. - 33 B.C.)
Pylons, temple of Horus
2
Early Civilization
- Egypt
(3000 B.C. - 33 B.C.)
3
Early Civilization
Greek
(1100 B.C. - 100 B.C.)
3
ยึดมั่นในเหตุผล และความสมบูรณ์ของมนุษย์ มี
อิสรเสรีทางความคิดวิพากษ์วิจารณ์
สถาปัตยกรรมจะเข้าถึงชุมชน โครงสร้างเสา –
คาน โปร่งกว่าอียิปต์ วิหารมีสัดส่วนงดงาม เกิด
สนามกีฬา ลานแสดงละคร ดนตรีกลางแจ้ง
Early Civilization
- Greek
(1100 B.C. - 100 B.C.)
3
Early Civilization
- Greek
(1100 B.C. - 100 B.C.)
กรีก : ผูห้ ยังรู
่ ้ภายนอกด้วยเหตุและผล
“Man is the Measure of All Things” ,
Protagoras 481 – 411 BC.
3
Early Civilization
- Greek
(1100 B.C. - 100 B.C.)
3
Early Civilization
- Roman
(200 B.C. - 3rd C.)
โรมัน : อานาจคู่กนั กับสุนทรียภาพ
มีทักษะทางวิศวกรรมที่เยี่ยมยอด เป็นยุคแห่งอานาจทางการทหาร นักรบ เชื่อในชัยชนะความ
กล้าหาญในชีวิตปัจจุบัน สถาปัตยกรรมยิ่งใหญ่ มโหฬาร ซับซ้อน นิยมสร้างประตูชัย เป็นชาติ
แรกที่ใช้คอนกรีตอย่างกว้างขวาง นาเอาโครงสร้าง เสา – คาน รวมกับระบบโค้งต่างๆได้แก่
วงโค้ง (อาร์ค), ทรงโค้ง (โวลต์), ทรงกลม (โดม) เกิดบาสซิลิกา (ศาล) โคลอสเซียมหรือสนาม
ต่อสู้ระหว่างคนกับสัตว์ป่า
3
Early Civilization
- Roman
(200 B.C. - 3rd C.)
3
Early Civilization
- Roman
(200 B.C. - 3rd C.)
คริสเตียนตอนต้น
รับมรดกทางเทคนิคและรูปทรงมาจากอาคารโรมัน แต่มีจุดหมายเปลี่ยนไป
เน้นที่โบสถ์ เข้าสู่ประสบการณ์ลึกลับทางศาสนา ผนังภายนอกจะถูกปล่อย
เรียบๆ ทื่อๆ และภายในประดับประดาตกแต่งหรือเป็นการเน้นที่ว่างภายใน
เป็นหลัก เพื่อให้เกิดที่ว่างภายในอันศักดิ์สิทธ์ของพระเจ้า ยึดศูนย์กลางและ
แนวแกนตามยาวเป็นหลัก
3
Early Christian
Period (5th century)
: พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง
ไบเเซนไทน์
อยู่ยุโรปตะวันออก มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเบิล โบสถ์จะ
เน้นแกนตามตั้งเป็นพิเศษ เกิดหลังคาโดม (โบสถ์ Hagia Sophia)
ภายในแสดงออกถึงความสลายตัวบางเบา
3
Early Christian
Period (5th century)
: พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง
3
Early Christian
Period (5th century)
: พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง
: การตกแต่งเพื่อศาสนาและความโอ่อ่าของกษัตริย์
4
Medieval Period
- Romanesque
(5th C. - 15th C.)
มีความก้าวหน้าในเทคนิค
การก่ออิฐ ทาหลังคาทรง
โค้งอย่างโรมัน
สถาปัตยกรรมมีลักษณะ
กายา หนักแน่นคล้ายป้อม
โบราณ มีโครงสร้างวงโค้ง
อย่างโรมัน มีหอสูงสองหอ
หรือมากกว่า เพื่อป้องกัน
ศตรูและสะท้อนการขึ้นสู่
สรวงสวรรค์เข้าถึงพระเจ้า
มีหลังคาโค้งตัน มีช่องเปิด
ที่ลดหลั่นถูกดันเข้าไปใน
ผนัง ช่องเปิดมีขนาดใหญ่
ขึ้น สัมพันธ์กับ
สภาพแวดล้อมมากขึ้น วัด
ใกล้ชิดสังคมมากขึ้น เริ่มมี
การนาแสงธรรมชาติที่
เปรียบเหมือนแสงแห่งพระ
จิตเข้าสู่ตัวโบสถ์
มีศรัทธาอย่างลึกซึ้งในศาสนา สร้างมหาวิหารยิ่งใหญ่สูง
เสียดฟ้า ใช้หินก้อนเล็กๆมาเรียงต่อกัน เกิดระบบโค้งแหลม
(Pointed Arch) ทาให้สถาปัตยกรรมดูบางเบาผนังไม่ต้องรับ
น้าหนัก นาแสงแห่งพระเจ้าเข้ามาใกล้ชิดกับมนุษย์ เป็น
สถาปัตยกรรมที่มีสัจจะ ไม่ปิดบังซ่อนเร้น ถือว่าเป็นการแสดง
ถึง “ที่ว่างอันศักดิ์สิทธิ”์ ได้อย่างสมบูรณ์ในยุคนั้น
4
Cathedral Amiens
Medieval Period
- Gothic
(12th C.-15th C.)
4
Medieval Period
- Gothic
(12th C.-15th C.)
: ความแหลมของหลังคา
คือความสง่าของพระเจ้า
4
Medieval Period
- Gothic
(12th C.-15th C.)
4
Medieval Period
- Gothic
(12th C.-15th C.)
5
เป็นการเกิดใหม่ เป็นยุคที่มนุษย์
ตระหนักถึงตัวตนของตนเอง
มนุษย์เป็นผู้ควบคุมธรรมชาติ ยึด
มั่นในเหตุผล เชื่อว่าคุณค่าของ
มนุษย์อยู่ที่ความคิด ความรู้ และ
ความสามารถ เป็นยุคแห่งการ
ปฏิวัติความคิดครัง้ ยิ่งใหญ่ ทั้ง
ทางปรัชญาและวิทยาศาสตร์ มี
การนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้กับ
สถาปัตยกรรม เป็นยุคฟื้นฟูศิลปะ
วิทยาการ เกิดระบบการพิมพ์ ดิน
ปืน เข็มทิศ ฯลฯ หันกลับไปหา
คลาสสิคหรือ กรีก โรมัน เพื่อเป็น
แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์
สถาปัตยกรรม เกิดโดมแหลม
สถาปัตยกรรมมีเหตุผล อาคารมี
สัดส่วนเรียบง่าย เน้นแกนสมดุล
รูปผังสมมาตรคล้ายโรมัน
Renaissance
(1400 - 1500 AD)
: มนุษย์เป็ นศูนย์กลาง
ของจักรวาล
5
Renaissance
(1400 - 1500 AD)
: มนุษย์เป็ นศูนย์กลาง
ของจักรวาล
5
Renaissance
(1400 - 1500 AD)
: ทบทวนใหม่ด้วยจุดยืนที่แสวงหา
5
Renaissance
(1400 - 1500 AD)
5
Renaissance
(1400 - 1500 AD)
: สืบทอดเจตนารมณ์แมนเนอริสม์
6
เป็นแบบอย่างที่ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ เป็นเรื่องของความนึกคิดเฉพาะบุคคล เป็นสมัยที่มี
การขัดแย้งกันทางมโนคติอย่างรุนแรง เอาของเก่ามาแปลงใหม่แบบไร้กฎเกณฑ์ เป็นการ
จัดองค์ประกอบภาพและที่ว่างอย่างไม่ประสานกลมกลืนกันอย่างจงใจ (Mannerism) ก่อ
เกิดความกากวมคลุมเครือ (Ambiguity) ความขัดแย้ง (Conflict) การแข่งขัน (Duality)
รวมทั้งความจอมปลอม (Artificiality)
Baroque
(1600-1750 AD)
Villa Rotonda, Palladio
6
Baroque
(1600-1750 AD)
6
Baroque
(1600-1750 AD)
6
Baroque
(1600-1750 AD)
7
บาโรคช่วงสุดท้ายยุคหลังจะเป็นแบบ Rococo เน้นการประดับประดาตกแต่งภายใน รูปทรง
โปร่งเบา ผอมสูง ประดับประดาลวดลายต่างๆโดยใช้รป
ู ทรงจากธรรมชาติ เช่น เปลือกหอย
กิ่งไม้ ก้อนหิน ฯลฯ
Rococo
(1720-1770 AD)
7
Rococo
(1720-1770 AD)
: ความงามคือการตกแต่ง
Dark Age
Gothic 1100-1400
0
2
Renaissance 1400-1500
1400
1500
Nicolaus Copernicus
1473-1543
Geocentric
Holiocentric
Sukhothai
1238-1349
Ayutthayai 1350-1767
1600
Galileo Galilei
1564-1642
คิดกล้ องโทรทัศน์
Immanuel Kant 1724-1804
จิตวิญญาณนิยม (Spiritualism)
Rene Descartes 1596-1650
“I think therefor I am”
Enlightenment 1650-1770 (reason = god)
Baroque-Rococo 1600-1770
1600
คิดค้ นระบบการพิมพ์
1700
Neoclassic & Romantic 1750-1850
ปฏิวตั ิการปกครองใน USA
1720
1769
1789
1800
1825
Isacc Newton 1642-1727
สร้ างกฏแรงโน้ มถ่วงอธิบายกฏธรรมชาติทงมวล
ั้
ปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมในอังกฤษ
Jame Watt
คิดเครื่ องจักรไอน ้า
ปฏิวตั ิในฝรั่งเศส
Ayutthayai 1350-1760
เกิดรถไฟในอังกฤษ
Rattanakosin 1780-1851
RAMA 1 - 3
1850
สถาปัตยกรรม
ฯลฯ
สังคม
ความรู้
เทคโนโลยี
เศรษฐกิจ
ความเชื่อ
ปรัชญา
ศาสนา
เอกสารอ้างอิง
Fleming, John and Honour Huge . “A World History of Art”. Fifth Edition. China, 1999.
Seton Lloyd, David Talbot Rice, Norbert Lynton Andrew Boyd, Andrew Carden, Philip
Rawson and John Jacobus. WORLD ARCHITECTURE. The Hamlyn Publishing
Group Limited, Fifth Impression, 1971.
จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัตศ
ิ ล
ิ ปะ. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2533.
อัศนีย์ ชูอรุณ. ประวัตศ
ิ าสตร์ศล
ิ ปะยุคโบราณและยุคกลาง. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2536.
อัศนีย์ ชูอรุณ. ประวัตศ
ิ าสตร์ศล
ิ ปะยุคฟืน
้ ฟูและยุคใหม่. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2537.
อัศนีย์ ชูอรุณ และเฉลิมศรี ชูอรุณ. แบบอย่างศิลปะตะวันตก. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2528.