Transcript การผลิต
“www.LearnWWW.com
Add your company slogan ”
การจัดการงานผลิตและบริการ
เพื่อการพัฒนา
Production Management and Service
for Development
ดร.สก ุล คานวนชัย
วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร
คณะเทคโนโลยีอ ุตสาหกรรม
[email protected]
LOGO
สารบัญ
1
ตอนที่ 1 การป้อนปัจจัยการผลิต (Input)
2
ตอนที่ 2 กระบวนการผลิต (Production Process)
3
ตอนที่ 3 การควบคุมการผลิต (Production Control)
4
ตอนที่ 4 ข้อมูลป้อนกลับและกรณีศึกษา
(Feedback and Case Study)
นักบริหารกับการจัดการงานผลิตและบริการเพื่อการพัฒนา
บทที่ 1
เนื้อหา
1.
2.
3.
4.
ความหมาย…
ลักษณะและความสาคัญ…
แนวคิดและการตัดสินใจเลือกกลยุทธ์…
ขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบ…
วัตถ ุประสงค์
1. ทราบความหมาย…
2. เข้าใจลักษณะความสาคัญ...
3. ศึกษาแนวคิดและการเรียนรูก้ ารตัดสินใจเลือกกล
ย ุทธ์...
4. ได้ทราบขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ…
บทที่ 1.
1.1
ความหมายของการจัดการงานผลิตและบริการเพื่อ
การพัฒนา
การผลิตหรื อการบริ การเป็ นเรื่ องเดียวกัน
การผลิต (Production) เป็ นสิ่ งที่จบั ต้องได้เพราะผ่าน
ขบวนการแปรรู ปผลิตภัณฑ์ได้ออกมาเป็ นสิ นค้า (Goods)
ส่ วนบริการ (Services) ถือว่าเป็ นการผลิตรู ปแบบหนึ่ง แต่มี
ลักษณะเป็ นนามธรรม จับต้องไม่ได้ แต่สมั ผัสความพึงพอใจได้
ตาราง 1.1 เปลี่ยนเทียบแนวคิดเกี่ยวกับการผลิตและการบริการ
รูปแบบการตัดสินใจ
ในการดาเนินการ
สินค้า
บริการ
(Goods)
(Service)
1. คุณภาพ (Quality) ที่มง่ ุ เน้น
ตัวสินค้า
ลูกค้าหรือผูใ้ ช้
2. การออกแบบ (Design)
มีตวั ตน
ไม่มีตวั ตน
3. กระบวนการและความสามารถ
(Process and Capacity)
ลูกค้าไม่มีสว่ นร่วม
ในกระบวนการผลิต
ลูกค้ามีสว่ นร่วม
ในกระบวนการผลิต
4. การวางผังสถานประกอบการ
(Production Site Layout)
ใกล้แห่งวัตถุดิบ
และแรงงาน
ใกล้ลกู ค้า
5. ทรัพยากรมนุษย์
(Human Resource Management)
ขึน้ อยู่กบั การจ่าย
ค่าแรง
ขึน้ อยู่กบั ลูกค้า
สาคัญมากโดยเฉพาะ
ผลิตภัณฑ์ขนั้ สุดท้าย
สาคัญน้อยกว่า
เชิงป้องกัน
เชิงแก้ไข
6. เครือข่ายปั จจัยการผลิต
(Supply Chain Management)
7. การบารุงรักษาและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
(Maintenance and Safety)
ค ุณภาพ (Quality)
นักบริหารการผลิตจะต้องตระหนักเรื่องคุณภาพเสมอ
มุมมองด้านการผลิต: มุ่งเน้นที่ตวั สิ นค้าเป็ นสาคัญ
มุมมองด้านบริ การ : มุ่งเน้นที่ความพึงพอใจของลูกค้า
บริการ (Service)
ตัวสินค้า (Goods)
การออกแบบ (Design)
การออกแบบมุมมองด้านการผลิต: รูปร่างของสินค้า (รูปธรรม)
การออกแบบมุมมองด้านการบริการ: ความรูส้ ึก รสนิยม (นามธรรม)
ตัวสินค้า (Goods)
บริการ (Service)
กระบวนการผลิตและความสามารถ
(Process and Capacity)
ด้านการผลิต ล ูกค้าไม่มีสว่ นร่วม ในการผลิตสินค้า แต่ลกู ค้ามี
ส่วนร่วมในการให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (Feedback)
ด้านการบริการ ล ูกค้ามีสว่ นร่วม ในการบริการ เช่น การทาผม
(ตัดผม) รักษาในโรงพยาบาล
ตัวสินค้า (Goods)
บริการ (Service)
การวางผังสถานประกอบการ
(Production Site Layout)
การวางผังโรงงานที่ทาการผลิตสินค้ามักอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดบิ และ
แรงงาน
ส่วนด้านการบริการมักเลือกทาเลใกล้กบั ลูกค้าให้เกิดการสะดวก
ร ูปแบบการตัดสินใจอีก 3 ด้านคือ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource
Management)
โรงงานหรื อสถานประกอบการที่ผลิตสิ นค้า : ค่าจ้างพนักงาน ขึ้นอยูก่ บั ค่าแรงงาน
ด้านบริ การ : ลูกค้า
เครือข่ายปั จจัยการผลิต (Supply Chain Management)
ด้านการผลิตสิ นค้าเพื่อจาหน่ายจะเน้นผลิตภัณฑ์ข้ นั สุ ดท้ายมากกว่า ธุรกิจด้าน
บริ การ
การบารุงรักษาและความปลอดภัยในโรงงาน(Maintenance
and Safety)
ด้านการผลิตเป็ นเชิงป้ องกัน
ด้านบริ การไม่มุง้ เน้นมักทาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ความหมาย : การพัฒนาองค์การและการบริหารการพัฒนา
สนธยา พลศรี 2545
สุนนั ทา เลาหนันท์ 2541
Fred Luthans 1995
Stewart Black and Newton Margulies 1989
Wendell L. French, Cecil H. Bell, Jr. 1990
Paul R. Lawrence and Jay W. Lorch 1969
Richard Beckhard 1969
Warren W. Burke and Warren H. Schmidt. 1971
Michael E. McGill 1977
สร ุป : จากนักวิชาการทัง้ หมด
การพัฒนาองค์การ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
มีการมุง่ ไปสูอ่ นาคต เน้นการทางานเป็ นกระบวนการที่
เป็ นระบบ มีการประสานงานของกลุม่ ทางานจนได้งานที่
มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล เพื่อเป้าหมายของ
องค์การ คือ ความก้าวหน้าและการเติบโต
จากแนวความคิดของนักวิชาการด้านบริหารการพัฒนา
มีมมุ มองคือ
ติน ปรัชญพฤทธิ์ 2541 George Honadale 1982 และ
Warren F. Ilchman 1970 ให้ความหมายของการ
บริหารการพัฒนาว่า เป็ นการจัดเตรียม เปลี่ยนแปลง
ปรับปรุง หรือปฏิรปู โครงสร้างกระบวนการและ
พฤติกรรมของการบริหารให้มคี วามสามารถหรือ
สมรรถนะ (Capability) ที่รองรับนโยบาย แผนงาน
หรือกิจกรรมสาหรับการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาต้องมีลกั ษณะร่วม 4 ประการ คือ
ประการแรก : การบริหารการพัฒนามีความหมายที่บ่งชีถ้ ึงสภาพทาง
ภูมศิ าสตร์ (Geographical) หมายความว่า การบริหารการพัฒนาจะถือ
กาหนดในประเทศที่พฒ
ั นา สามารถนามาปรับใช้กบั ประเทศที่กาลังพัฒนาได้
ประการสอง :การบริหารการพัฒนาเป็ นผลลัพธ์มาจากองค์ประกอบของ
การพัฒนาการบริหาร การพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจและการ
พัฒนาสังคม
ประการสาม :การบริหารการพัฒนาเป็ นกระบวนการเคลื่อนไหวจาก
สภาพการณ์หนึง่ ไปสูเ่ ป้าหมายใด เป้าหมายหนึง่ (Teleological) คือ
จากสภาพด้อยพัฒนา
กาลังพัฒนา
พัฒนาแล้ว
ประการสี่ : การกาหนดหน้าที่ (Function) ทัง้ ในด้านการบริหารการ
พัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
องค์ประกอบการพัฒนา
ติน ปรัชญพฤทธิ์ 2541
การพัฒนาการบริหาร
(Development of Administration)
• โครงสร้าง
• กระบวนการ/เทคโนโลยี
• พฤติกรรม
การบริหารเพื่อพัฒนา
(Administration of Development)
•
•
•
•
•
•
•
การบริหารโครงการพัฒนา
การพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาวังคม
การพัฒนาการเมือง
การพัฒนาชนบท
การพัฒนารัฐวิสาหกิจ
การพัฒนาความช่วยเหลือจาก
ต่างประเทศ
การบริหารการ
พัฒนา
การพัฒนา
ประเทศ
(Development
(Nation
Development)
Administration)
สิ่งที่อยู่นอกกรอบคือ สิ่งแวดล้อม
บทที่ 1.
1.2
ลักษณะและความสาคัญของการจัดการงานผลิตและ
บริการเพื่อการพัฒนา
นักบริหารการผลิตตระหนักดีว่า การผลิตเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กบั ปัจจัยหรือทรัพยากรการ
ผลิต (Input : Man+Money+Machine+Material+Land+Information (Feed Back))
เพื่อมาสร้างหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์
การบริหารจัดการ(Management) เมือ่ นาวัตถุดบิ
การบวนการผลิต(Process) ทาการตัด
แต่ง เสริม เชือ่ ม ต่อ ผสม บรรจุ
สินค้าหรือบริการ
เพื่อให้การเกิดการพัฒนาก้าวหน้าและ
การเติมโตในอนาคตอย่างยัง่ ยืน ต้องผสมผสานปั จจัยการผลิตให้มปี ระสิทธิภาพซึ่งได้มาผลิตภัณฑ์ที่
มีคณ
ุ ภาพ การบริหารงานจึงมีประสิทธิผล ในการสร้างกาไร (Profitability) โดยนาข้อมูลป้อนกลับ
(Feed Back)
จากลูกค้ามาปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป
ภาพรวมการบริหารการผลิตและบริการเพื่อพัฒนา
External Factors:
Market:
Resource :
Competition 1. Material
Information 2. Man
Customer 3. Money
4. Machine
ผลิต
ขนส่งสิ้นค้าปลีก-ส่ง
เก็บรักษา ประกันภัย
การเงิน
สื่อสาร
ส ุขอนามัย
Input
Process
Law, Politic, Econ, Techno
ประสิทธิภาพ + ประสิทธิผล
Most
Feed Back
Value
ก่อนกระบวนการผลิต
• ที่ตงั้
• กาลังการผลิต
• แผนผังสถานประกอบการ
หลังกระบวนการผลิต
• ผลการผลิตรวม
• การจัดการวัสดุ
• ลาดับการผลิต
Indirect :
- Tax
- Wage
- R&D
- Environment
- Labor
- Social
Out Put
Organizing
Efficiency = O / I
Planning
Efficiency+Effectiveness=Value/Quality
Direct:
- Goods
-Service
• Quality Control
• Just in Time
• Logistic
Low
Cost
• Quality Control
• Work Measurement
• Operation Standard
• Just in Time
• Logistic
Object
ที่มา : ศรีนา้ ขุนอ่อนและเบญจมาส ช่วยนุย้ 2546
1.
2.
3.
4.
5.
Product
Price
Timing
Flexibility
Service
ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบการลดต้นท ุนการผลิต
สามารถก่อกาไรได้มากกว่าเพิ่มยอดขาย
นโยบายของบริษทั
(หน่วย : ล้านบาท)
ยอดขาย (Sales)
นโยบายการ
ผลิต
นโยบายทาง
การตลาด
ลดต้นทุนการผลิต
ร้อยละ 10
เพิ่มยอดขาย
ร้อยละ 10
100 100
110
หัก ต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold)
60
54 (60x90%) 66 (60x110%)
กาไรขัน้ ตน (Gross Profile)
40
46
หัก ค่าขายและบริการ (Operating)
20
18
กาไรสุทธิ (Net Profit)
20
28
(20x90%) 22 (20x110%)
22
ตารางที่ 1.3 เปรียบเทียบสินค้าที่ผลิตตามมาตรฐาน
และสินค้าที่ผลิตตามคาสัง่ ซื้อ
นิยามศัพท์สาหรับ นัก
บริหารการผลิต
สินค้าผลิตตาม
มาตรฐาน
สินค้าผลิตตามคาสัง่ ซื้อ
(Custom Product)
(Standard Product)
การจัดจาหน่าย
มักถูกกว่า
มักแพงกว่า
ตัวอย่างสินค้า
บะหมีก่ ึ่งสาเร็จรูป
ปลากระป๋ อง
ช้างไม่แกะสลัก
เสื้อผ้าสัง่ ตัดเฉพาะบุคคล
ที่มา : ศรีนา้ ขุนอ่อนและเบญจมาส ช่วยนุย้ 2546
บทที่ 1.
1.3
แนวคิดและวิธีการตัดสินใจเลือกกลย ุทธ์
การผลิตและบริการเพื่อพัฒนา
1.3.1
กลยุทธ์ ม่ ุงความแตกต่ าง (Differentiation
Strategy)
1.3.2 กลยุทธ์ ม่ ุงเน้ นการลดต้ นทุน (Low Cost
Strategy)
บทที่ 1.
1.4
ขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบของการจัดการงานผลิตและ
ฝ่ายขาย
บริการเพื่อพัฒนา
ฝ่ายวิจยั และพัฒนา
ฝ่ายการเงินและบัญชี
ฝ่ายควบค ุมค ุณภาพการผลิต
ฝ่ายจัดซื้อ
ฝ่ ายผลิต
ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนษุ ย์
ฝ่ายคลังสินค้า
คาถามและกิจกรรมท้ายบทที่ 1
1. ให้นกั ศึกษาแบ่งกลุม่ เป็ น 5 กลุม่ ๆ 4 ท่าน
(3 ท่าน 1 กลุม่ )
2. ทางานกลุม่ ตามกิจกรรมที่มอบหมาย
3. เขียนชือ่ สมาชิก รหัส วิชา ทัง้ กลุม่ ส่ง 1 งาน/กลุม่
4. ให้เวลาในการทางานกลุม่ 30 นาที