3. PBBคลิกที่นี่ - บริหารการศึกษา รุ่น 15

Download Report

Transcript 3. PBBคลิกที่นี่ - บริหารการศึกษา รุ่น 15

การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
Performance Based Budgeting : PBB
กลุม่ 6
วิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจงั หวัดนครราชสีมา
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
Input
Output
Outcome
Economy
ประหยัด
Efficiency
ประสิ ทธิภาพ
Effectiveness
ประสิ ทธิผล
ปัจจัย
ผลผลิต
ผลลัพธ์
หลัก 3 E
7
ลักษณะความสาคัญ
ของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
: PBB)
 ให้ ความสาคัญBudgeting
กับผลผลิต (Output)และผลลั
พธ์ (Outcome)







ใช้ การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning)
จัดสรรงบประมาณเป็ นวงเงินรวม (BlockGrant)
คานวณค่ าใช้ จ่ายหรืองบประมาณจากผลผลิตหรือกิจกรรม
กาหนดวงเงินงบประมาณล่ วงหน้ า (MTEF )
ใช้ ระบบบัญชีพงึ รับพึงจ่ าย (Accrual Basis)
เน้ นการควบคุมภายใน
การรายงานผลเชื่อมโยง
7
ประโยชน์ ของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based Budgeting
: PBB)
 ทราบผลลัพธ์ ที่รัฐบาลต้ องการ
 ระบุเป้าประสงค์ และวัดผลผลิตได้
 จัดลาดับความสาคัญของรายจ่ ายและเชื่อมโยงผลผลิตกับผลลัพธ์ ได้
 แสดงให้ เห็นว่ าผลผลิตที่เกิดขึน้ ส่ งผลให้ เกิดผลลัพธ์ อย่ างไร
 สามารถตรวจวัดผลผลิตทีเ่ กิดขึน้ อย่ างถูกต้ อง
ในเชิง ปริมาณ ต้ นทุน เวลา คุณภาพ
7
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
หั ว ใจของระบบงบประมาณแบบ
(Performance Based
มุ่ ง เ น้ นBudgeting
ผ ล ง า: น
PBB) คื อ
การเชื่อมโยงทรัพยากรตาง
ๆ ทีใ่ ช้
่
และผลงานที่เ กิด ขึ้น โดยมีร ะบบการ
ประเมิน ทบทวน ตรวจสอบผลงานที่
เป็ นระบบเป็ นรู ป ธรรม และที่ส าคัญ
หน่ วยงานต้ องเป็ นผู้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ
ผ ล ง า น ที่ ไ ด้ ส ร้ า ง ขึ้ น ม า ส า ห รั บ
ผ ล ง า น ใ น ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง PBB
หมายถึง “ผลลัพธและผลผลิต”
7
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ผลผลิต (Outputs) หรือผลผลิตหลัก คือ สิ่ งของหรือบริ การที่
เป็ นรู ป ธรรมหรื อ รั บ รู้ ไ ด้ ที่ จั ด ท าหรื อ ผลิต โดยหน่ ว ยงานของรั ฐ
เพื่อให้ บุคคลภายนอกได้ ใช้ ประโยชน์ ผลผลิตคือการตอบคาถามที่ว่า
อะไรทีไ่ ด้ รับจากการดาเนินงานผลิต หรือให้ บริการ เช่ น...
7
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ผลลัพธ์ (OUTCOMES) เป็ นผลงาน ผลกระทบที่มีต่อชุ มชน
และสิ่ งแวดล้ อม (กลุ่มเป้าหมาย) จากการได้ รับประโยชน์ จากการบริการ
และบริหาร (ผลผลิต) ที่เกิดจากการดาเนินงาน โดยสถานศึกษา ผลลั พธ์
จะตอบคาถามว่ า ทาไมจึงมีการดาเนินการผลิตหรือให้ บริการนั้น เช่ น...
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
1. มุ่งเน้ นผลงานและผลผลิต
“เน้ นการควบคุมทรัพยากรมากกว่ าผลสาเร็จ
ในการผลิตผลผลิต”
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
2. ความโปร่ งใสและการรายงาน
“กาหนดกรอบการรายงานผลประจาปี และการรายงาน
ผลทางการเงินที่สอดคล้ องกับการกระจาย
ความรับผิดชอบในการจัดทางบประมาณ”
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3. กระจายความรับผิดชอบในการจัดเตรียมงบประมาณ
“การปฏิรูปกระบวนการจัดทางบประมาณโดยให้
หน่ วยราชการเป็ นผู้จัดเตรียม รายละเอียดงบประมาณ
ให้ อยู่ในกรอบเป้าหมายทีก่ าหนดจากหน่ วยงานกลาง”
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
4. กรอบงบประมาณรายจ่ ายระยะปานกลาง (MTEF)
“เสนอให้ มกี ารทา กรอบงบประมาณรายจ่ ายล่ วงหน้ า
ระยะปานกลาง (MTEF) เพือ่ ประสิ ทธิภาพใน
การจัดสรรงบประมาณ”
งบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based
Budgeting : PBB)
ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
5. ความครอบคลุมของงบประมาณ
“รายรับ-รายจ่ ายงบประมาณ ต้ องสะท้ อนถึงการใช้ จ่าย
ทีแ่ ท้ จริงของภาครัฐ มาตรฐานการจัดการทางการเงิน”
งบประมาณทีม่ ่ ุงเน้ นผลงาน 7 ประการ 7 Hurdles
Performance Based Budgeting : PBB
1
2
3
4
5
6
7
การวางแผนงบประมาณ
การคานวณต้นทุนของกิจกรรม
การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
การบริหารทางการเงิน/งบประมาณ
การรายงานการเงินและผลการดาเนินงาน
การบริหารสินทรัพย์
การตรวจสอบภายใน
มาตรฐานที่ 1
การวางแผนงบประมาณ
แผนกลยุทธ์สถานศึกษา + แผนงานประจา
(SCHOOL STRATEGIC & ROUTINE PLAN)
กรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า
ระยะปานกลาง
(MEDIUM TERM EXPENDITURE FRAMEWORK: MTEF)
11 7
มาตรฐานที่ 2
การคานวณต้นทุนผลผลิต
( Output Costing )
เป็ นการคิ ด ต้น ทุ น การด าเนิ น การต่ อ หน่ ว ย
ผลผลิตของกิจกรรมภายใต้โครงการตามแผนกล
ยุทธ์สถานศึกษา
12
มาตรฐานที่ 2
การคานวณต้นทุนผลผลิต
( Activity - Based Costing )
 การกาหนดกิจกรรม
 การคิดต้ นทุนกิจกรรม และ
 การวัดผลการปฏิบัติงาน
12
ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรฐานที่ 3
( Procurement management )
วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
1. วิธีตกลงราคา คือ การซื้อ หรือการจ้ างครั้งหนึ่ง
ซึ่งมีราคาไม่ เกิน 100,000 บาท
2. วิธีสอบราคา คือ การซื้อ หรือการจ้ างครั้งหนึ่ง
ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ ไม่ เกิน 2,000,000 บาท
3. วิธีประกวดราคา คือ การซื้อ หรือการจ้ างครั้งหนึ่ง
ซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท
13
ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรฐานที่ 3
( Procurement management )
วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
4. วิธีพเิ ศษ คือ การซื้อ หรือการจ้ าง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000
บาท ตามระเบียบข้ อ 23 (1) - (8) และข้ อ 24 (1) - (6)
5. วิธีกรณีพเิ ศษ คือ การซื้อ หรือการจ้ าง จากส่ วนราชการ
หน่ วยงานตามกฎหมาย
6. วิธีประกวดราคา ด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ การซื้อ
หรือการจ้ าง ซึ่งมีราคาเกิน 2,000,000 บาท
13
ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรฐานที่ 3
( Procurement management )
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
 การวางแผนการจัดซื้อ
 การเลือกซื้อผูข้ าย
 จัดทาใบสั ่งซื้อ
 ตรวจรับพัสดุ
 เก็บดูแลรักษา/เบิกจ่าย
 การติดตามและประเมินผล
13
ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรฐานที่ 3
( Procurement management )
ที่แสดงถึง :• ความโปร่งใส
• ความยุติธรรม
• ตรวจสอบได้
13
จัดระบบการบริหารการเงินและ
มาตรฐานที่ 4
ควบคุมงบประมาณ
( Financial management&Budget control )
• กาหนดระดับมาตรฐาน
• กาหนดความรับผิดชอบในเรือ่ งบัญชีและการเงิน
• ใช้ระบบบัญชีแบบพึงรับพึงจ่ายหรือบัญชีคงค้ าง
• GFMIS : Government Fiscal Management
Information System
14
จัดระบบการวางแผนการเงินและ
มาตรฐานที่ 5
การรายงานผลการดาเนินการ
(Financial & Performance Reporting)
• การแสดงความโปร่งใส
• การตรวจสอบ
• การประเมินผลโครงการ
• การรายงานผลการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์
15
จั
ด
ระบบการบริ
ห
ารสิ
น
ทรั
พ
ย์
มาตรฐานที่ 6
(Asset management)
• การเพิ่มประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร
• ความคุม้ ค่าและคุม้ ทุน
16
มาตรฐานที่ 7
จัดระบบตรวจสอบภายใน
( Internal Audit )
• ตรวจสอบผลการดาเนินการตามแผนกลยุทธ์
- ตรวจสอบผลผลิต จาก กิจกรรม ( Activity )
- ตรวจสอบผลลัพธ์ จาก โครงการ ( Program )
- ตรวจสอบผลกระทบ จาก แผนงาน ( Project )
• ตรวจสอบรายงานทางการเงิน
- เทียบเคียงผลการดาเนินการกับงบประมาณที่ใช้
17
กระบวนการงบประมาณ vs 7 Hurdles
การงานแผนงบประมาณ
การจัดทางบประมาณ
การอนุมตั ิงบประมาณ
การคานวณต้ นทุนผลผลิต
การจัดการระบบจัดซื้อจัดจ้ าง
การบริหารงบประมาณ
การบริหารทางการเงิน
และควบคุมงบประมาณ
การบริหารสิ นทรัพย์
การรายงานทางการเงิน
และผลการดาเนินงาน
การควบคุมและติดตามประเมินผล
25
การตรวจสอบภายใน
จบเถอะ
เหนื่อยแล้ ว
ขอบคุณ