การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

Download Report

Transcript การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
กรมพินจิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน
โดย
นายดุสติ เขมะศักดิช์ ยั
รองผู อ้ านวยการสานักงบประมาณ
2 ธันวาคม 2553
1
หัวข้อการบรรยาย
 ระบบงบประมาณในปัจจุบัน
 การบริหารงบประมาณ
 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณ
2
ระบบงบประมาณในปัจจุบนั :
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
STRATEGIC PERFORMANCE BASED BUDGETING : SPBB
3
ระบบงบประมาณแบบมุง่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
Concept
 ใช้งบประมาณเป็ นตัวเชื่อมโยงนโยบายไปสูก
่ ารปฏิบตั ิ
(Top-down Budgeting)
 มุ่งเน้นผลงาน (output / outcome-oriented)
4
ระบบงบประมาณแบบมุง่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
วัตถุประสงค์
เป็ นเครื่องมือในการจัดสรร
ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
ประเทศ
ให้กระทรวง ทบวง กรม
มีบทบาท/ อานาจตัดสินใจ
ในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น
เป็ นระบบควบคุม ตรวจสอบ
ที่มีประสิทธิภาพ และ โปร่งใส
5
หลักการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
หลักการเชิงนโยบาย
 ใช้นโยบายเป็ นตัวนา (Policy Driven)
หลักการเชิงบริหาร
 การมอบอานาจการตัดสินใจ
 มีการจัดลาดับความสาคัญของเป้าหมาย  ใช้หลักการธรรมาภิบาล
เชิงยุทธศาสตร์
(ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ)
 การรักษาวินยั ทางการคลัง
 ให้มีความคล่องตัวในการบริหาร
 เน้นการบริการประชาชน
 ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
 มีการคาดการณ์ล่วงหน้า
 มีการติดตามประเมินผลและมีขอ้ มูล
 คานึงถึงการวัดผลสาเร็จในการ
ครบถ้วนสมบูรณ์
ดาเนินงาน
6
ประโยชน์ตามกลุ่มเป้าหมาย
รัฐสภา
รัฐบาล
 สามารถอนุมตั ิ
 บริหารนโยบายได้ตาม
งบประมาณตามนโยบาย
เป้าหมายที่สญ
ั ญากับ
ที่แถลงต่อรัฐสภาได้
ประชาชนและที่แถลง
ชัดเจนยิ่งขึ้ น
ต่อรัฐสภา
 สามารถตรวจสอบรัฐบาล  มีความโปร่งใสและ
ได้ตามเป้าหมายเชิง
ตรวจสอบได้
ยุทธศาสตร์
 ใช้ทรัพยากรของ
 สามารถตรวจสอบหน่วย
ประเทศอย่างคุม้ ค่า
ปฏิบตั ิได้ตามเป้าหมาย
และเกิดประโยชน์
การให้บริการ
สูงสุด
ส่วนราชการ
 สามารถบริหารงาน
ได้อย่างคล่องตัว
และมีประสิทธิภาพ
ตลอดจนบรรลุ
ผลสาเร็จตาม
เป้าหมาย
ประชาชน
 ได้รบั บริการและการ
แก้ไขปั ญหาที่ดีขึ้น
 มีคุณภาพชีวิตที่ดี
 ได้รบั ข้อมูลข่าวสาร
ครบถ้วน รวดเร็ว
7
ตัวชี้ วัด
โครงสร้างชั้นข้อมูล SPBB
ยุทธศาสตร์ระดับชาติ/รัฐบาล
National/Government Strategy
GFMIS
แผนบริหารราชการ 4ปี
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
Government
Strategic Direction
แผนปฏิบตั ริ าชการ 4ปี
แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี
แผนปฏิบตั ิ
ราชการ 4ปี
แผนปฏิบตั ิ
ราชการประจาปี
เป้าหมาย
การให้บริการ
(PSA/SDA)
การกาหนดทางเลือก
ในการผลิตและการใช้
ทรัพยากร
ผลผลิต
(Output)
กระบวนการ
จัดทาผลผลิต
(Delivery Process)
ทรัพยากร
(Resources)
(Strategic Target)
AMIS
ผลลัพธ์
BIS
ผลลัพธ์
Major
Key Success
Factors
Key Success
Factors
Key
Performance
Indicators
Output
Performance
(QQTC)
Ev MIS
PART
Evaluation
8
กระบวนการงบประมาณภายใต้ระบบงบประมาณฯ
1
การวางแผน
งบประมาณ
5
 ประมาณการรายได้
 กาหนดวงเงินโครงสร้าง งปม.
 กาหนดยุทธศาสตร์จดั สรร
 ทบทวนผลผลิต
 ปรับปรุงฐานข้อมูล MTEF
2
การประเมินผล
 ก่อนการดาเนินงาน
 ระหว่างการดาเนินงาน
 หลังการดาเนินงาน
4
การบริหารงบประมาณ
 จัดทาแผนปฏิบตั งิ าน
 จัดทาแผนใช้จา่ ยงบประมาณ
 จัดสรรงบประมาณ
กระบวนการ
งบประมาณ
3
การจัดทางบประมาณ
 จัดทาแผน งปม. เชิงยุทธศาสตร์
 จัดทา คาขอ งปม.
 พิจารณาคาขอ งปม.
 จัดทาร่าง พรบ. งบประมาณ
 เสนอร่าง พรบ. งบประมาณ
การอนุมตั งิ บประมาณ
 พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ
โดยฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ
 การตราพระราชบัญญัติ
9
การบริหารงบประมาณ
BUDGET EXECUTION
10
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548
 ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ พ.ศ. 2534
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549
11
การบริหารงบประมาณ
1
พ.ร.บ.
งบประมาณรายจ่ายประจาปี
3
2
รัฐมนตรี
จัดทาและดาเนินการ
6
มอบหมาย/เห็นชอบ/กากับ
ปรับกลยุทธ์
ตามสถานการณ์
5
คณะรัฐมนตรี
กากับการดาเนินงาน
การใช้จา่ ยและความสาเร็จ
ส่วนราชการ
แผนปฏิบตั งิ านและ
แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
จัดซื้อ/จัดจ้าง/ก่อหนี้ผูกพัน
7
4
สานักงบประมาณ
วิเคราะห์แผนและ
กาหนดกรอบจัดสรรให้
สอดคล้องกับการใช้จา่ ย
และระเบียบ
ปรับแผนกลางปี
4
กรมบัญชีกลาง
เห็นชอบ/กากับ
แผนการเบิกจ่าย
งบประมาณ
12
การบริหารงบประมาณ
กระบวนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ
1. การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและ
แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
3. การใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่าย
4. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
5. การรายงานผล
13
1. การจัดทาแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
 เมื่อร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี ผ่านการพิจารณาของ
สภาผูแ้ ทนราษฎร วาระที่ 1
ส่วนราชการเตรียมความพร้อมและวางแผนปฏิบตั งิ าน
 เมื่อร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี ผ่านการพิจารณาของ
สภาผูแ้ ทนราษฎร วาระที่ 3
ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบตั งิ านและแผนการใช้จา่ ย
งบประมาณ ตามรายการและวงเงินที่ได้รบั อนุมตั ิ และส่งให้สานัก
งบประมาณก่อนวันเริ่มต้นปี ไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน
14
2. การจัดสรรงบประมาณ
 สงป. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบต
ั งิ านและแผน
การใช้จา่ ยงบประมาณ
 สงป. จัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการใช้จา่ ยหรือก่อหนี้
ผูกพันตามวัตถุประสงค์ และภายในระยะเวลาที่กาหนดตาม
วงเงินงบประมาณที่ได้รบั อนุมตั จิ ากรัฐสภา ตาม พ.ร.บ.
งบประมาณรายจ่ายประจาปี
15
3. การใช้จ่ายงบประมาณ
การใช้จา่ ยจากงบประมาณรายจ่าย
“การเบิกจ่ายเงินจากคลัง”
โดยเบิกจ่ายตามงบรายจ่าย
16
ประเภทงบรายจ่าย
 งบบุคลากร
 งบดาเนินงาน
 งบลงทุน
 งบเงินอุดหนุน
 งบรายจ่ายอื่น
17
4. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
ในกรณีเกิดความจาเป็ นตามสถานการณ์
ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือประมาณการ
ค่าใช้จา่ ยที่แตกต่างไปจากที่ได้รบั อนุมตั จิ ากรัฐสภา
18
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ มี 2 กรณี
1. กรณีที่เป็ นอานาจ
ส่วนราชการ
2. กรณีที่เป็ นอานาจ
สานักงบประมาณ
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548
19
กรณีท่ีเป็ นอานาจส่วนราชการ
ภายใต้แผนงานเดียวกัน
 โอนเปลี่ยนแปลงข้ามผลผลิต แต่งบรายจ่ายเดียวกัน
 โอนเปลี่ยนแปลงข้ามงบรายจ่าย ภายใต้ผลผลิตเดียวกัน
 เปลี่ยนแปลงรายการ/จานวนเงิน ภายใต้ผลผลิตเดียวกัน
 โอนเปลี่ยนแปลงเพื่อจัดหาครุภณ
ั ฑ์ วงเงินต่อหน่วยต ่ากว่า 1 ลบ.
 โอนเปลี่ยนแปลงเพื่อจัดหาสิ่งก่อสร้าง วงเงินต่อหน่วยต ่ากว่า 10 ลบ.
 โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายการครุภณ
ั ฑ์/สิ่งก่อสร้าง ที่ไม่อาจจัดหา
ได้ หรือนาเงินนอกงบประมาณไปสมทบ เพื่อเพิ่มวงเงินรายการครุภณ
ั ฑ์/
สิ่งก่อสร้างนั้นได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่ได้รบั จัดสรร
20
ข้อยกเว้น การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
 ต้องไม่ก่อให้เกิดรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ
 ต้องไม่เป็ นการกาหนดอัตราข้าราชการใหม่
 ต้องไม่เป็ นรายการค่าที่ดิน
 ต้องไม่เป็ นค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
ชั ่วคราวที่ไม่ได้กาหนดไว้ในแผนการปฏิบตั งิ านและแผนการ
ใช้จา่ ยงบประมาณที่ได้รบั ความเห็นชอบจากสานัก
งบประมาณแล้ว
21
การโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่าย
 การใช้เงินเหลือจ่ายมีวตั ถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การใช้จา่ ย และปรับปรุงหรือพัฒนาองค์กร
 เป็ นเงินเหลือจ่ายจากการดาเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์และ
เป้าหมายแล้ว จัดซื้อจัดจ้างแล้ว หัวหน้าส่วนราชการ
นาไปใช้จา่ ยได้ ภายใต้แผนงานเดียวกัน
22
ข้อยกเว้น การโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่าย
 ต้องไม่เป็ นรายการค่าที่ดิน
 ต้องไม่เป็ นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ
 ต้องไม่มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชาระเมื่อสิ้นปี งบประมาณ
 ต้องไม่มีค่าใช้จา่ ยที่จาเป็ นต้องจ่ายตามข้อผูกพันสัญญาค้าง
ชาระ เช่น ค่างานตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K)
23
กรณีท่ีเป็ นอานาจสานักงบประมาณ
 เริม
่ ผลผลิต/โครงการใหม่ (ครม.อนุมตั ิ)
 เพิ่มเงินราชการลับ (ครม.อนุมต
ั )ิ
 โอนเปลี่ยนแปลงข้ามแผนงานในภารกิจที่ไม่ได้กาหนดไว้
ในแผนปฏิบตั งิ าน
24
การขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่าย
 กรณีที่สว่ นราชการไม่สามารถก่อหนี้ได้ทน
ั ภายใน
ปี งบประมาณ หรือจาเป็ นต้องกันเงินไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปี
 ให้ทาความตกลงกับกระทรวงการคลัง
 กรณีที่ตอ้ งขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเกินกว่าที่
กระทรวงการคลังกาหนด ต้องเสนอให้ ครม. อนุมตั ิ
25
การขออนุมัติใช้งบกลาง
รายการ เงินสารองจ่ายเพือ่ กรณีฉุกเฉินหรือจาเป็ น
(CENTRAL FUND)
ต ่ากว่า 10 ลบ.
ผอ.สงป. อนุมตั ิ
มากกว่า 10 ลบ.
นรม.เห็นชอบ หรือ นรม.เสนอ
ครม. อนุมตั หิ ลักการ
มากกว่า 100 ลบ.
ครม.อนุมตั ิ
26
งบประมาณผูกพันข้ามปี งบประมาณ
 มีระยะเวลาการใช้จา่ ยเงินเกิน 1 ปี งบประมาณ
 ต้องเสนอให้ ครม. อนุมตั ริ ายการและวงเงิน
ก่อนการก่อหนี้ผูกพัน
27
การเปลี่ยนแปลงรายการผูกพันข้ามปี งบประมาณ
เปลี่ยนแปลงวงเงิน
เปลี่ยนแปลงวงเงิน
และขยายระยะเวลา
เสนอ ครม.
อนุมตั ิ
การขยายระยะเวลา
โดยไม่เปลี่ยนแปลงวงเงิน
เสนอ รมต.
ให้ความเห็นชอบ
28
5. การรายงานผล
 รายงานผลการปฏิบต
ั งิ านและผลการใช้จา่ ย
งบประมาณ ตามตัวชี้วัดผลสาเร็จ
 ระบุปัญหาอุปสรรค และเสนอแนวทางแก้ไข
 ส่ง สงป. ภายใน 60 วัน นับตัง้ แต่วน
ั สิ้นปี งบประมาณ
29
การมุ่งสู่งบประมาณสมดุล
BALANCED BUDGET
30
งบประมาณสมดุล
คือ การจัดทางบประมาณในลักษณะที่มี
การกาหนดให้รายได้เท่ากับรายจ่าย
31
การมุ่งสู่งบประมาณสมดุล
ต้องดาเนินการใน 3 ประเด็น
 เพิ่มประสิทธิภาพในการหารายได้
 ลดรายจ่ายประจาในรายการสาคัญ เช่น
- มาตรการใหม่ในการรักษาพยาบาลข้าราชการและลูกจ้าง
- เงินสมทบในกองทุนต่างๆ จะมีการ Share Cost หรือออมล่วงหน้า
จากผูไ้ ด้รบั ประโยชน์
 จัดสรรงบประมาณรายจ่ายที่ส่งผลโดยตรงให้ประเทศ
สามารถเพิ่มรายได้ในอนาคต
32
สานักงบประมาณ www.bb.go.th
ขอขอบคุณ
33