การจัดทาคาขอตั้งงบประมาณของ ตร. วิทยากรผู้บรรยาย กองงบประมาณ วงจรงบประมาณ(Budget Cycle) การจัดเตรียมงบประมาณ (งบประมาณรายรับ-รายจ่ าย) การบริหารงบประมาณ (รวมการรายงานและติดตามผล) การอนุมตั ิ งบประมาณ การจัดเตรียมงบประมาณ  ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับงบประมาณ  นโยบายและวงเงินงบประมาณ  กระบวนการจัดทางบประมาณ  โครงสร้ างงบประมาณของสานักงานตารวจแห่ งชาติ3

Download Report

Transcript การจัดทาคาขอตั้งงบประมาณของ ตร. วิทยากรผู้บรรยาย กองงบประมาณ วงจรงบประมาณ(Budget Cycle) การจัดเตรียมงบประมาณ (งบประมาณรายรับ-รายจ่ าย) การบริหารงบประมาณ (รวมการรายงานและติดตามผล) การอนุมตั ิ งบประมาณ การจัดเตรียมงบประมาณ  ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับงบประมาณ  นโยบายและวงเงินงบประมาณ  กระบวนการจัดทางบประมาณ  โครงสร้ างงบประมาณของสานักงานตารวจแห่ งชาติ3

การจัดทาคาขอตั้งงบประมาณของ ตร.
วิทยากรผู้บรรยาย
กองงบประมาณ
1
วงจรงบประมาณ(Budget Cycle)
การจัดเตรียมงบประมาณ
(งบประมาณรายรับ-รายจ่ าย)
การบริหารงบประมาณ
(รวมการรายงานและติดตามผล)
การอนุมตั ิ
งบประมาณ
2
การจัดเตรียมงบประมาณ
 ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับงบประมาณ
 นโยบายและวงเงินงบประมาณ
 กระบวนการจัดทางบประมาณ
 โครงสร้ างงบประมาณของสานักงานตารวจแห่ งชาติ
3
3
ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับงบประมาณ
4
พัฒนาการของระบบงบประมาณไทย
ปี 2540
แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
Strategic Performance
Based Budgeting
พ.ศ. 2546 - ปั จจุบนั
แบบแสดงแผนงาน
Program Budgeting
พ.ศ. 2525 - 2545
แบบแสดงรายการ
Line Items
พ.ศ. 2502 - 2524
5
แนวคิดเกีย่ วกับระบบงบประมาณปัจจุบัน
ระบบงบประมาณแบบ
มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
( Strategic Performance-Based Budgeting : SPBB )
มุ่งเน้นการดาเนินงานและผลสาเร็จ
ของผลผลิต / ผลลัพธ์
6
SPBB : องค์ประกอบที่สาคัญ
 มุ่งเน้ นผลสาเร็จของงานตาม
ผลผลิต ผลลัพธ์
• เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์
ระดับชาติ
• เป้ าหมายการให้บริ การระดับ
กระทรวง
• ผลผลิตและตัวชี้วดั
• เน้นหลักการธรรมาภิบาล
• การแบ่งหน้าที่และความ
รับผิดชอบในแต่ละระดับ
• มีระบบการติดตามประเมินผล
และการรายงานผลการ
ดาเนินงานที่โปร่ งใส และ
ตรวจสอบได้
 การมอบอานาจการบริหาร
จัดการงบประมาณ
• เน้นให้กระทรวงมีอานาจใน
การบริ หารจัดการงบประมาณ
เพื่อให้บรรลุผลสาเร็ จมากกว่า
เน้นกฎระเบียบ
• การเพิม่ ขอบเขต
ความครอบคลุม
ของงบประมาณ
• การประมาณการงบประมาณรายจ่ าย
ล่วงหน้ าระยะปานกลาง (MTEF)
7
ระบบงบประมาณแบบมุง
่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
Strategic Performance Based Budgeting
SPBB
ผลงาน = ผลผลิต + ผลล ัพธ์
8
ผลผลิต ( Outputs )
สิ่ งของหรือบริการ ทีเ่ ป็ นรู ปธรรม หรือรับรูไ ด้ไ
จั้ทาโ้ยหน่ วยงานของรัฐเพือ่ ใหไ บุคคลภายนอก
ด้ไ ใชไ ประโยชน์
9
ผลลัพธ์ ( Outcomes)
ผลที่เกิดขึน้ ผลกระทบ หรือผลต่ อเนื่องจากผลผลิต
ทีม่ ีต่อชุมชนและสิ่ งแวดล้ อม หรือผลตามวัตถุประสงค์
หรือจุดมุ่งหมายทีต่ ้งั เป้ าหมายไว้
10
ตัวชี้วดั ระดับผลผลิต
• ตัวชี้วดั ความสาเร็ จระดับผลผลิตที่บรรลุเป้ าหมายมี 4 มิติ
1.ตัวชี้วดั เชิงปริ มาณ
2.ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ
3.ตัวชี้วิดเชิงเวลา
4.ตัวชี้วดั เชิงต้นทุน
11
แผนพัฒนำฯแห่งชำติ
รัฐธรรมนูญ2550
กฎกระทรวง
ควำมต้องกำรของประชำชน
คำแถลงนโยบำยของรัฐบำล
แผนบริหำรรำชกำรแผ่นดิน(เป้ ำหมำยยุทธศำสตร์ชำติ)
ระดับ
ชาติ
ระดับ
กระทรวง
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร
ตัวชี้วดั
เป้ าหมาย
ตัวชี้วดั
ค่ าเป้ าหมาย
ตัวชี้วดั
ค่ าเป้าหมาย
ระดับ
หน่ วยงาน
ตัวชี้วดั
ค่ าเป้าหมาย
ตัวชี้วดั
ค่ าเป้าหมาย
แผนงาน
เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์
เป้ าหมายการให้ บริการกระทรวง
► กระบวนการจัดทางบประมาณ
เป้ าหมายการให้ บริการหน่ วยงาน
ผลผลิต/งาน/โครงการ
วัตถุประสงค์
แนวทางการจัดสรรงบประมาณ
ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์ หน่ วยงาน
วัตถุประสงค์
กิจกรรมหลัก
กิจกรรมย่ อย
กิจกรรมรอง/สนับสนุน
งบประมาณ
12
12
นโยบายงบประมาณ มี 3 แบบ
งบประมาณสมดุล
(Balanced Budget)
รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลมีจานวนเท่ากัน
งบประมาณเกินดุล
(Surplus Budget)
รายได้ของรัฐบาลมีมากกว่ารายจ่าย
งบประมาณขาดดุล
(Deficit Budget)
รายได้ของรัฐบาลมีนอ้ ยกว่ารายจ่าย
13
13
การจัดเตรียมงบประมาณ(ระดับรัฐบาล)
งบประมาณโดยสังเขปประจาปี งบประมาณพ.ศ.2557
1.สาระสาคัญของงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ
พ.ศ.2557
2.ประมาณการรายรับ
3.งบประมาณรายจ่าย
4.การคลังของรัฐบาล
14
สาระสาคัญของงบประมาณรายจ่ ายประจาปี พ.ศ.2557
1.ภาพรวมแนวโน้ มเศรษฐกิจไทยปี 2557
2.นโยบายงบประมาณปี 2557
3.โครงสร้ างงบประมาณปี 2557
4.ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายปี 2557
5.การจัดสรรงบประมาณรายจ่ าย
15
1.ภาพรวมแนวโน้ มเศรษฐกิจไทยปี 2557
16
2.นโยบายงบประมาณปี 2557
1. ดาเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุลภายใต้กรอบความยั ่งยืน
ทางการคลัง และความจาเป็ นของการใช้จา่ ยภาครัฐ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
และเข้าสู่งบประมาณสมดุลในอนาคต
2. เพิ่มประสิทธิภาพการใช้จา่ ยงบประมาณของหน่วยควบคู่กบั
การพิจารณาแหล่งเงินอื่น ทบทวนเพื่อลดเป้าหมายการดาเนินงานของหน่ วยที่มี
ความสาคัญลดลง หรือหมดความจาเป็ นหรือไม่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและ
การบูรณาการในระดับพื้นที่เพื่อลดความซ้ าซ้อน
3. เน้นนโยบายเร่งด่วน 16ข้อ และนโยบายสาคัญ 9 ข้อและการ
ดาเนินงานที่มีผลในการกระตุน้ เศรษฐกิจและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของ
ประเทศ
4.ส่งเสริมศักยภาพทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.นโยบายงบประมาณปี พ.ศ.2557
รัฐบาลประมาณการรายได้สุทธิ 2,275,000 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 17.2ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย 2,525,000 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ19.1
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP)
กาหนดวงเงินกูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ 250,000 ล้านบาท คิด
เป็ นสัดส่วนร้อยละ 1.9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ซึ่งการขาดดุลงบประมาณจานวน
ดังกล่าวยังอยูใ่ นระดับที่ไม่ส่งผลกระทบต่อวินัยและฐานะการคลังของประเทศในระยะยาว
18
งบประมาณรายจ่ายประจาปี (ล้านบาท)
ปี งบประมาณ งบประมาณรายจ่าย ประมาณการรายได้ ดุลงบประมาณ
19
2549
1,360,000.0
1,360,000.0
-
2550
1,566,200.0
1,420,000.0
- 146,200.0
2551
1,660,000.0
1,495,000.0
- 165,000.0
2552
1,951,700.0
1,510,640.0
- 441,060.0
2553
1,700,000.0
1,350,000.0
- 350,000.0
2554
2,070,000.0
1,650,000.0
- 420,000.0
2555
2,380,000.0
1,980,000.0
- 400,000.0
2556
2557
2,400,000.0
2,525,000.0
2,100,000.0
2,275,000.0
-300,000.0
19
-250,000.0
วงเงินงบประมาณ ปี 2557
รายได้
กู้ขาดดุล
วงเงิน งปม.
20
3.โครงสร้ างงบประมาณปี 2557
3.1งบประมาณรายจ่ าย2,525,000 ล้านบาทเพิม่ ขึน้ 125,000ล้านบาทคิดเป็ น 19.1
ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ ( GDP)
3.2รายจ่ ายประจา 2,017,244 ล้านบาทคิดเป็ นสั ดส่ วนร้ อยละ 79.9 ของวงเงิน
งบประมาณ
3.3 รายจ่ ายลงทุน 441,510.4 ล้านบาท คิดเป็ นสั ดส่ วนร้ อยละ 17.5ของวงเงิน
งบประมาณ
3.4 รายจ่ ายชาระคืนต้ นเงินกู้ 52,821. 9 ล้านบาทคิดเป็ นสั ดส่ วนร้ อยละ 2.1ของ
วงเงินงบประมาณ
3.5 รายจ่ ายเพือ่ ชดใช้ เงินคงคลัง 13,423.7 ล้านบาท คิดเป็ นสั ดส่ วนร้ อยละ 0.5 ของ
วงเงินงบประมาณ
21
หน่ วย : ล้ านบาท
งบประมาณ
4 .ยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณปี 2557
จานวน
ร้อย
ละ
รวมทั้งสิ้น
1.ยุทธศาสตร์เร่ งรัดการพัฒนาประเทศและเตรี ยมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซี่ยน
2,525,000.0
100.0
145,006.9
5.7
2.ยุทธศาสตร์ความมัน่ คงแห่งรัฐ
210,783.5
8.4
3.ยุทธศาสตร์การสร้างความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยังยืน
343,746.7
13.6
4.ยุทธศาสตร์การศึกษา คุณธรรม จริ ยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม
849,861.9
33.7
5.ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
112,288.5
4.4
6.ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และนวัตกรรม
21,323.8
0.8
7.ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
9,004.5
0.4
8.ยุทธศาสตร์การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
351,339.9
13.9
9.รายการค่าดาเนินการภาครัฐ
481,644.3
19.1
22
งบรายจ่ าย
การจัดสรรงบประมาณตามงบรายจ่ าย ปี งบประมาณ 2556-2557
ปี งบประมาณ 2557 เทียบกับ
ปี งบประมาณ
2556
2556
2557
จานวน
ปี งบประมาณ
ร้ อยละ
1. งบบุคลากร
575,325.3
606,128.1
30,802.8
5.3
2. งบดาเนินงาน
230,160.6
233,103.1
2,942.5
0.2
3. งบลงทุน
287,754.2
302,859.7
15,105.5
5.3
4. งบเงินอุดหนุน
654,853.8
705,940.9
51,087.1
7.8
5. งบรายจ่ ายอืน่
651,906.1
676,968.2
25,062.1
3.8
2,400,000.0
2,525,000.0
125,000.0
5.2
รวม
หมายเหตุ
งบบุคลากร
งบดาเนินการ
งบลงทุน
งบเงินอุดหนุน
งบรายจ่ ายอืน่
รายจ่ายเพื่อการบริ หารบุคคลภาครัฐ เช่น เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชัว่ คราว
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
รายจ่ายเพื่อการบริ หารและดาเนินงาน เช่น ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ และสาธารณูปโภค
รายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น ค่าครุ ภณั ฑ์ ที่ดิน สิ่ งก่อสร้าง และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่อง
รายจ่ายเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กร
เอกชน และนิติบุคคลต่าง ๆ ซึ่งจาแนกรายจ่ายเป็ น งบบุคลากร งบดาเนินงาน และงบลงทุน
รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะงบรายจ่ายใด หรื อสานักงบประมาณกาหนดให้ใช้จ่ายจากงบรายจ่ายนี้
ซึ่งจาแนกรายจ่ายเป็ น งบบุคลากร งบดาเนินงาน และงบลงทุน
งบประมาณรายจายปี
2557 จาแนกตามกระทรวง
่
กระทรวง
รวมทัง้ สิ้ น
1. งบกลาง
2. สานักนายกรัฐมนตรี
3. กระทรวงกลาโหม
4. กระทรวงการคลัง
5. กระทรวงการตางประเทศ
่
6. กระทรวงการทองเที
ย
่ วและกีฬา
่
7. กระทรวงการพัฒนาสั งคมและความมัน
่ คงของมนุ ษย ์
8. กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์
9. กระทรวงคมนาคม
10. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม
้
11. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
12. กระทรวงพลังงาน
13. กระทรวงพาณิชย ์
14. กระทรวงมหาดไทย
15. กระทรวงยุตธ
ิ รรม
16. กระทรวงแรงงาน
17. กระทรวงวัฒนธรรม
18. กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
์
งบประมาณ
จานวน ( ลานบาท)
้
2,525,000.0
345,549.0
31,742.8
184,737.5
229,355.6
8,610.4
9,363.9
ร้อยละ
100.0
13.7
1.2
7.5
9.1
0.3
0.4
10,384.9
77,276.4
99,389.8
31,836.7
9,658.3
2,098.3
7,788.0
328,755.4
19,843.4
33,489.7
6,892.1
9,246.3
0.4
3.1
3.9
1.3
0.4
0.1
0.3
13.0
0.8
1.3
0.3
0.4
งบประมาณรายจายปี
2557นกตามกระทรวง (ตอ)
่
่
กระทรวง
รวมทัง้ สิ้ น
งบประมาณ
จานวน (ลานบาท)
้
ร้อยละ
2,525000.0
100.0
19. กระทรวงศึ กษาธิการ
481,337.8
19.1
20. กระทรวงสาธารณสุข
106,436.3
4.2
6,774.8
0.3
101,923.7
4.8
8,958.3
0.3
16,827.2
0.7
14,132.0
0.6
18,170.0
0.7
150,745.9
6.0
5,110.8
0.2
155,231.0
13,423.7
6.1
0.5
21. กระทรวงอุตสาหกรรม
22.. ส่วนราชการไมสั่ งกัดสานักนายกรัฐมนตรี
กระทรวง หรือทบวง
23. หน่วยงานของรัฐสภา
24. หน่วยงานของศาล
25. หน่วยงานขององคกรตามรั
ฐธรรมนูญและ
์
หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ
26. จังหวัดและกลุมจั
่ งหวัด
27. รัฐวิสาหกิจ
28. สภากาชาดไทย
29. กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน
30. รายจายเพื
อ
่ ชดใช้เงินคงคลัง
่
กระบวนการจัดทางบประมาณปี 57
การทบทวน
9ต.ค.55-ม.ค.56
การอนุมตั ิ
29พ.ค.-9ก.ย.56
กระบวนการจัดทา
การวางแผน
งบประมาณ
9ต.ค.55-12ก.พ.56
การจัดทา
9ม.ค.-22ก.พ.56
26
26
การจัดทางบประมาณปี 2557 ตำมปฏิทินงบประมำณ
9 ต.ค. 55
9 ต.ค.55-4ม.ค.56
8ม.ค.56
12ก.พ.56
ครม.เห็นชอบปฏิทนิ งบประมาณ
การจัดทาแผนความต้องการงบลงทุนเบื้องต้น
ครม. เห็นชอบยุทธศาสตร์ การจัดสรร
ครม. เห็นชอบนโยบายงบประมาณ วงเงิน โครงสร้ างงบประมาณ
รายจ่ ายขั้นต่าทีจ่ าเป็ นและรายจ่ ายตามข้ อผูกพัน
27
27
การจัดทางบประมาณปี 2557 ตำมปฏิทินงบประมำณ
22ก.พ.56
ส่ วนราชการฯส่ งคาขอและประมาณการรายได้ ประจาปี
9เม.ย.56
ครม.ให้ความเห็นชอบรายละเอียดงบพร้อมหลักเกณฑ์การปรับปรุ ง
30 เม.ย.56
ครม.ให้ความเห็นชอบการปรับปรุ งงบประมาณฯ
14พ.ค.56
ครม. ให้ ความเห็นชอบร่ างพ.ร.บ.ฯและเอกสารประกอบงบประมาณ
เพือ่ เสนอต่ อสภาผู้แทนราษฎรต่ อไป
28
28
การจัดทางบประมาณปี 2557 ตำมปฏิทินงบประมำณ
29-30 พ.ค. 56
สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่ าง พ.ร.บ.
งบประมาณฯ วาระที่ 1
14-15 ส.ค. 56
สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่ าง พ.ร.บ.
งบประมาณฯ วาระที่ 2-3
2 ก.ย. 56
วุฒสิ ภา พิจารณาร่ าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ
9 ก.ย. 56
สลค.นาร่ าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ
ขึน้ ทูลเกล้ าฯ
29
29
แนวทางการจัดทางบประมาณปี 2557
1.ให้ ความสาคัญกับการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการ ทั้งมิตน
ิ โยบายสาคัญของรัฐบาล
และมิติของพืน้ ที่ เพือ่ ให้ ประสานสอดคล้องกัน
2.จัดทาแผนความต้ องการงบลงทุนเบือ
้ งต้ น ในขั้นตอนการวางแผนงบประมาณ
3.กาหนดปฎิทนิ เพือ่ กาหนดแผนและขั้นตอนการปฎิบัติงานตามกรอบระยะเวลาที่กฎหมาย
กาหนดไว้ 4 กระบวนการ
3.1 กระบวนการทบทวนงบประมาณ( 9ต.ค.55- ม.ค.56)
3.2 กระบวนการวางแผนงบประมาณ ประกอบด้ วย 2 ส่ วนคือ
- การจัดทาแผนความต้ องการงบลงทุนเบือ้ งต้ น ปี 57 (9ต.ค.-29พ.ย.55)
-เห็นชอบยุทธศาสตร์ การจัดสรร นโยบายงบประมาณ วงเงิน โครงสร้ างงบประมาณ
รายจ่ ายขั้นตา่ ทีจ่ าเป็ นและรายจ่ ายตามข้ อผูกพัน นโยบายการจัดทางบประมาณ ปี 57
( ตั้งแต่ 8ม.ค.-12 ก.พ. 56)
30
การกาหนดวงเงินงบประมาณและโครงสร้ างรายจ่ าย
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ..............
1. ประมาณการรายได้สุทธิ
2. งบประมาณรายจ่าย
2.1 รายจ่ายประจา
2.2 รายจ่ายเพือ่ ชดใช้เงินคงคลัง
2.3 รายจ่ายลงทุน
2.4 รายจ่ายชาระคืนเงินกู้
31
งบประมาณแผ่ นดิน
งบประมาณรายรับ
- รายด้ไ
- เงินกูไ
- เงินคงคลัง
งบประมาณรายจ่ าย
- งบกลาง
- งบสาหรับส่ วนราชการและ
รัฐวิสาหกิจ
32
งบประมาณรายรับ
1. รายได้
 ภาษีอากร
 การขายสิ่ งของและบริการ
 รัฐพาณิชย์
 รายด้ไ อนื่ ๆ
33
งบประมาณรายรับ
2. เงินกู้
ต่ อ
 ธนาคารแห่ งประเทศไทย
 ธนาคารออมสิ น
 ธนาคารพาณิชย์
 สถาบันทางการเงิน สมาคม มูลนิธิ และ
เอกชน
34
งบประมาณรายรับ
ต่ อ
3. เงินคงคลัง คือ เงินทีเ่ ก็บอยู่ในคลัง
 จากงบประมาณเหลือจ่ าย
 จากการรับชาระหนีค้ นื
35
งบส่ วนราชการจาแนกตามประเภท
รายจ่ายได้เป็ น 5 งบรายจ่าย
36
งบประมาณรายจ่ าย
งบส่ วนราชการ
รัฐวิสาหกิจ
บุคลากร
ดาเนินงาน
งบกลาง
ลงทุน
อุดหนุน
รายจ่ ายอืน่
37
1. รายจ่ ายของส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
หมายถึง รายจ่ายซึ่งกาหนดไว้สาหรับแต่ละส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
มี 5 ประเภทงบรายจ่าย
1. งบบุคลากร
2. งบดาเนินงาน
3. งบลงทุน
4. งบเงินอุดหนุน
5. งบรายจ่ ายอืน่
38
1.งบบุคลากร
• งบบุคลากร หมายถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการบริ หารงานบุคคล
ภาครัฐ ได้แก่เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชัว่ คราว ค่าตอบแทน
พนักงานราชการ งบบุคลากร เพิ่มเติม
- เงินค่าตอบแทนรายเดือนสาหรับข้าราชการ/ลูกจ้างประจา
- เงินช่วยเหลือการครองชีพข้าราชการระดับต้น
- เงินช่วยเหลือค่าครองชีพพิเศษ(ลูกจ้างประจา)
- เงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับค่าจ้างชัว่ คราว
- ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
39
2. งบดาเนินงาน
• งบดาเนินงาน
หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการบริ หารงานประจา
เป็ นรายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ
- ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ
- และค่าสาธารณูปโภค
40
2.งบดาเนินงาน(ต่อ)
• ค่ าตอบแทน
หมายถึง เงินทีจ่ ่ ายตอบแทนให้ แก่ ผ้ ูทปี่ ฏิบัติงานให้ ราชการตามที่
กระทรวงการคลังกาหนด ได้ แก่
- ค่ าเช่ าบ้ าน ค่ าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เงินรางวัลกรรมการสอบ
ค่ าเบีย้ ประชุ มฯ
ค่ าตอบแทนเพิม่ เติม
- เงินตอบแทนพิเศษของข้ าราชการผู้ได้ รับเงินเดือนขั้นสู งของอันดับ
- เงินตอบแทนพิเศษของลูกจ้ างประจาผู้ได้ รับค่ าจ้ างขั้นสู งของตาแหน่ ง
- เงินตอบแทนเหมาจ่ ายแทนการจัดหารถประจาตาแหน่ ง
- เงินตอบแทนพิเศษรายเดือนสาหรับผู้ปฏิบัติงานในเขตพืน้ ที่พเิ ศษ
41
2. งบดาเนินงาน(ต่ อ)
ค่ าใช้ สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่ งบริ การ(ยกเว้น บริ การ
สาธารณูปโภค สื่ อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการ
รับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบตั ิราชการ
ที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่นๆ เช่น
- ค่าเช่าทรัพย์สิน ค่าจ้างเหมาบริ การ ค่าซ่อมแซมบารุ งรักษา
ทรัพย์สิน
- ค่ารับรอง ค่ารับรองประเภทเครื่ องดื่ม
- ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พกั ค่าพาหนะ
42
2. งบดาเนินงาน(ต่อ)
• ค่ าวัสดุ
หมายถึง รายจ่ ายเพือ่ จัดหาสิ่ งของซึ่งโดยสภาพมีลกั ษณะเมื่อใช้ แล้ วย่อมสิ้นเปลือง
หมดไป แปรสภาพ หรือไม่ คงสภาพเดิม หรือสิ่ งของมีลกั ษณะคงทนถาวรแต่ มี
ราคาต่ อหน่ วยหรือต่ อชุ ดไม่ เกิน 5,000 บาท
- รายจ่ ายจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทมี่ ีราคาต่ อหน่ วยไม่ เกิน 20,000 บาท
- ค่ าปรับปรุ งครุ ภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ ไม่ เกิน 5,000 บาท
- ค่ าปรับปรุ งครุ ภัณฑ์ วงเงินไม่ เกิน 5,000 บาท
- ค่ าปรับปรุ งทีด่ นิ และสิ่ งก่ อสร้ าง วงเงินไม่ เกิน 50,000 บาท
43
2.งบดาเนินงาน(ต่อ)
• ค่ าสาธารณูปโภค
หมายถึง รายจ่ายค่าบริ การสาธารณูปโภค สื่ อสารและโทรคมนาคม
รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งชาระพร้อมกัน ได้แก่ ค่าบริ การ ค่าภาษี เป็ นต้น
เช่น ค่าไฟฟ้ า ค่าน้ าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าไปรษณี ยโ์ ทรเลข
ค่าสาธารณูปโภคเพิม่ เติม
- ค่าโทรศัพท์พ้นื ฐาน/เคลื่อนที่
- ค่าใช้จ่ายให้ได้มาซึ่งบริ การสื่ อสารและโทรคมนาคม เช่นค่า
อินเทอร์เน็ต ค่าสื่ อสารผ่านดาวเทียม
- ค่าเคเบิ้ลทีวี ค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม
44
3. งบลงทุน
• งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่
• ค่ าครุ ภัณฑ์ คือรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่ งของที่มีลกั ษณะคงทนถาวร ราคาต่อ
หน่ วยหรื อต่อชุดเกิ นกว่า 5,000
บาท รวมถึงการประกอบขึ้นใหม่
ดัดแปลง ต่อเติมหรื อปรับปรุ งครุ ภณ
ั ฑ์ วงเงินเกินกว่า 5,000 บาท /จัดหา
โปรแกรมคอมฯราคาต่อหน่วยเกินกว่า 20,000 บาท /ซ่อมแซมครุ ภณ
ั ฑ์
ขนาดใหญ่ /ค่าจ้างที่ปรึ กษาจัดหาปรับปรุ งครุ ภณ
ั ฑ์
• ค่ าที่ดินและสิ่ งก่ อสร้ าง คือรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซี่ งที่ดินและสิ่ งก่อสร้าง
รวมถึงสิ่ งต่าง ๆ ที่ติดตรึ งกับที่ดินหรื อสิ่ งก่ อสร้ าง รวมค่าติดตั้งระบบ
ไฟฟ้ าประปา ปรับปรุ งที่ดินสิ่ งก่อสร้างวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท
ค่าจ้างออกแบบ ควบคุมงาน ค่าเวนคืน ค่าชดเชย
45
4. งบเงินอุดหนุน
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็ นค่าบารุ งหรื อเพื่อ
ช่วยเหลือ สนับสนุ นการดาเนิ นงานของหน่ วยงานอิสระตามรัฐธรรมนู ญหรื อ
หน่ วยงานของรัฐซึ่ งมิใช่ราชการส่ วนกลางตามพ.ร.บ.ระเบียบบริ หารราชการ
แผ่นดิน หน่วยงานในกากับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น สภาตาบล องค์การระหว่างประเทศ นิ ติบุคคล เอกชน หรื อกิจการ
อันเป็ นสาธารณะประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริ ย ์ เงิ นอุดหนุน
การศาสนาและรายจ่ายที่ สงป. กาหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้
46
4.งบเงินอุดหนุน(ต่อ)
• งบเงินอุดหนุน มี 2 ประเภท
1. เงินอุดหนุนทัว่ ไป
จ่ายตามวัตถุประสงค์เช่น เงินอุดหนุนเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด
2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
จ่ายตามรายการกาหนด เช่น เงินอุดหนุนในการให้บริ การป้ องกัน
ดูแลและรักษาโรคเอดส์
47
5.งบรายจ่ายอื่น
• งบรายจ่ ายอืน่
หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใด หรื อรายจ่าย
ที่สานักงบประมาณกาหนด ให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้
เช่น เงินราชการลับ ค่าจ้างที่ปรึ กษาเพื่อศึกษา วิจยั ประเมินผล
พัฒนาระบบ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ
ชัว่ คราว ค่าใช้จ่ายสาหรับกองทุนหรื อเงินทุนหมุนเวียน ค่าใช้จ่าย
สาหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ
48
งบประมาณรายจ่ ายงบกลางปี 2556ในความควบคุมของ กค.และสงป.
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ข้าราชการ ลูกจ้าและพนักงานของรัฐ
ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดาเนิ นและต้อนรับประมุขต่างประเทศ
เงินชดเชยค่างานสิ่ งก่อสร้าง
เงินสารองจ่ายเพื่อกรณี ฉุกเฉิ นหรื อจาเป็ น
เงินปรับเงินเดือนแรกบรรจุและเงินปรับเงินเดือนชดเชยผูไ้ ด้รับผลกระทบ
ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
7. เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ
8. เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ
9. เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิขา้ ราชการ
10. เงินสารอง เงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ
11. เงินสมทบของลูกจ้างประจา
12. ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
49
2 . รายจ่ ายงบกลาง
หมายถึง รายจ่ ายทีต่ ้งั ไว้ เพือ่ จัดสรรให้ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
โดยทัว่ ไปใช้ จ่าย ตามรายการดังต่ อไปนี้
(1) เงินเบีย้ หวัดบาเหน็จบานาญ
(2) เงินช่ วยเหลือข้ าราชการ ลูกจ้ าง และพนักงานของรัฐ
(3) เงินเลือ่ นขั้นเลือ่ นอันดับเงินเดือนและเงินปรับวุฒิข้าราชการ
(4) เงินสารองเงินสมทบและเงินชดเชยของข้ าราชการ
(5) เงินสมทบลูกจ้ างประจา
50
2 . รายจ่ ายงบกลาง (ต่ อ)
(6) ค่ าใช้ จ่ายเกีย่ วกับการเสด็จพระราชดาเนินและต้ อนรับประมุข
ต่ างประเทศ
(7) เงินสารองจ่ ายเพือ่ กรณีฉุกเฉินหรือจาเป็ น
(8) ค่ าใช้ จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
(9) ค่ าใช้ จ่ายในการรักษาพยาบาลข้ าราชการ ลูกจ้ างและพนักงานของรัฐ
อนึ่ง รายการข้ างต้ นเป็ นรายการหลัก ในแต่ ละปี พ.ร.บ.งบประมาณ
รายจ่ ายอาจตั้งรายจ่ ายรายการอืน่ ๆไว้ ในงบกลางตามความเหมาะสม
เช่ น ค่ าใช้ จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ ค่ าใช้ จ่ายในการ
ชาระหนี้ กองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง ค่ าใช้ จ่ายในการพัฒนา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็ นต้ น
51
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรและคาขอตั้ง
งบประมาณรายจ่ายประจาปี
52
แผนบริหาร
ราชการ
แผ่ นดิน
ยุทธศาสตร์
การจัดสรร
คาขอตั้งงบประมาณปี 2557
1. กรอบงบประมาณรายจ่ ายล่วงหน้ า
ระยะปานกลางของหน่ วยงาน /
ผลผลิต (1+3)
2. วงเงินคาขอตั้งงบประมาณปี 2557
2.1 วงเงินรายจ่ ายประจาขั้นต่า
2.2 วงเงินผูกพันตามสั ญญา หรือตาม ม.23
2.3 รายจ่ ายตามนโยบายสาคัญของรัฐบาล
2.4 รายจ่ ายต่ อเนื่องตามภารกิจพืน้ ฐาน
-พืน้ ฐานต่ อเนื่อง (รักษางานเดิม),
-พืน้ ฐานอืน่ ๆ (เพิม่ เป้ าหมาย)
-นโยบายใหม่
3. แผนปฏิบัตงิ าน และแผนการใช้ จ่าย
53
งบประมาณทีช่ ัดเจน
ภาพแสดงงบประมาณรายจ่ ายล่ วงหน้ าระยะปานกลาง
= งบประมาณ + 3 ปี ถัดไป
ปี ที่ 1
งบประมาณ
2554
ปี ถัดไปปี ที่ 1
2555
ปี ถัดไปปี ที่ 2
2556
ปี ถัดไปปี ที่ 3
2557
ปี ที่ 2
งบประมาณ
2555
ปี ถัดไปปี ที่ 1
2556
ปี ถัดไปปี ที่ 2
2557
ปี ถัดไปปี ที่ 3
2558
ปี ที่ 3
งบประมาณ
2556
ปี ถัดไปปี ที่ 1
2557
ปี ถัดไปปี ที่ 2
2558
ปี ถัดไปปี ที่ 3
2559
54
54
โครงสร้างและงบประมาณของ
สานักงานตารวจแห่งชาติ
55
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557
จาแนกตามยุทธศาสตร์ การจัดสรร 5 ยุทธศาสตร์
จาแนกตามแผนงาน 12 แผนงาน
จาแนกตามเป้าหมายการให้ บริการ 15 เป้ าหมาย
จาแนกตามผลผลิต
9 ผลผลิต 6 โครงการ
จาแนกตามกิจกรรม
29 กิจกรรม
56
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557
จาแนกตามยุทธศาสตร์ การจัดสรร 5 ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ ที่ 1
ยุทธศาสตร์เร่ งรัดการพัฒนาประเทศและเตรี ยมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซี่ยน
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ความมั่นคงแห่ งงรัฐ
ยุทธศาสตร์ ที่ 4 การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวติ และความเท่าเทียมกันในสังคม
ยุทธศาสตร์ ที่ 5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ ที่ 8 ยุทธศาสตร์ การบริหารกิจการบ้ านเมืองทีด่ ี
57
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกเป็ น 11 แผนงาน
1.
แผนงานรองรับการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซี่ยน
2.
แผนงานแก้ ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
3.
แผนงานเพิม่ รายได้ จากการท่ องเทีย่ ว
4.
แผนงานยกระดับคุณภาพแรงงาน การจัดการแรงงานต่ างด้ าว และป้ องกันการค้ ามนุษย์
5.
แผนงานเทิดทูน พิทกั ษ์ และรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์
6.
แผนงานรักษาความสงบเรียบร้ อยภายในประเทศ
7.
แผนงานขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
8.
แผนงานพัฒนาด้ านสาธารณสุ ข
9.
แผนงานป้ องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบในภาครัฐ
10. แผนงานป้ องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
11. แผนงานจัดการภัยพิบัติ
12. แผนงานปฏิรูปกฎหมายและพัฒนาระบวนการยุติธรรม
58
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557จาแนกตามเป้าหมาย
การให้ บริการของหน่ วยงานจานวน 15 เป้าหมาย
1.เสริมสร้ างจิตสานึกและสร้ างการมีส่วนร่ วมของประชาชนให้ ตระหนักถึงพระมหา
กรุ ณาธิคุณของพระมหากษัตริย์ รวมทั้งปกป้ องการล่ วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ
2.นักเรียนระดับ ป.1และ ม.1ได้ รับเครื่องคอมพิวเตอร์ พกพา(แทบเล็ต)และสามารถเข้ าถึง
เทคโนฯสารสนเทศเพือ่ การศึกษาได้ อย่ างเหมาะสม
3. การดาเนินคดีความผิดเกีย่ วกับการค้ ามนุษย์ สามารถดาเนินการได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
4.ป้ องกันการกระทาความผิดเกีย่ วกับการทุจริตและประพฤติมชิ อบในวงราชการ
5.การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินส่ งเสริมการพัฒนาและความร่ วมมืออันดี
กับประเทศในภูมภิ าคอาเซี่ยน
59
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557จาแนกตามเป้าหมายหน่ วยงาน
6.เพิม่ ประสิทธิภาพการควบคุมสถานการณ์ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
7.สั งคมและชุ มชนมีความเข้ มแข็งและปลอดจากการแพร่ ระบาดของยาเสพติด
รวมทั้งผู้มีอทิ ธิพลเกีย่ วข้ องกับยาเสพติด
8. ข้ าราชการตารวจ ครอบครัว และประชาชนได้ รับบริการสุ ขภาพทีม่ คี ุณภาพ
ได้ มาตรฐานทัว่ ถึง และเป็ นธรรม
9. นักท่ องเทีย่ วมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์ สิน ไม่ ถูกเอารัดเอาเปรียบและ
ได้ รับการช่ วยเหลืออานวยความสะดวกอย่ างทัว่ ถึงทันเหตุการณ์
10. มีระบบการบริหารจัดการงานตรวจคนเข้ าเมือง ระบบการป้องกันการลักลอบ
เข้าเมือง และการปราบปรามจับกุม ผลักดันคนต่างด้าวเข้าเมืองผิด
60
กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างงบประมาณของ ตร. ปี 2557จาแนกตามเป้าหมายหน่วยงาน
11. ถวายและรักษาความปลอดภัย ถวายพระเกียรติ องค์พระมหากษัตริย ์
พระบรมวงศานุวงศ์ และธารงไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย ์
12. ประชาชนในพื้นที่ หมู่บา้ นชายแดนและเขตน่านน้ ามีความมั ่นคง
ปลอดภัย มีข่าวกรองที่มีประสิทธิภาพ รัฐและบุคคลสาคัญมีความ
มั ่นคงปลอดภัยจากภัยคุกคามการก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ
13. ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และได้รบั ความ
คุม้ ครองตามกฎหมายอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม
14. ประชาชนได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมายอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม
15. ประชาชนมีความปลอดภัยจากการใช้ยานพาหนะทางบก มีการบังคับ
ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดทั ่วถึง
61
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกตาม 6 โครงการ 9 ผลผลิต
1. โครงการ
- สร้ างจิตสานึกต่ อสถาบันพระมหากษัตริย์
2. โครงการ
- เพิม่ ประสิ ทธิภาพการควบคุมสถานการณ์ ความไม่ สงบในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้
3.โครงการ
-การป้ องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบในวงราชการ
4.โครงการ
- จัดการเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ พกพา
5.โครงการ
-ปราบปรามการกระทาความผิดเกีย่ วกับการค้ ามนุษย์
6.โครงการ
-การเสริมสร้ างความสั มพันธ์ และความร่ วมมือในการแก้ ไขปัญหาความมัน่ คงและการรักษา
ความปลอดภัยในภูมภิ าคอาเซี่ยน
62
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกตาม 6 โครงการ 9 ผลผลิต
1. ผลผลิต - การถวายความปลอดภัยพระมหากษัตริย ์ และพระบรมวงศานุวงศ์
2. ผลผลิต
- การป้องกันและการปราบปรามการลักลอบหลบหนีเข้าเมืองและ
คนต่างด้าวที่ไม่พึงปรารถนา
3. ผลผลิต
- การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั ่นคง
4. ผลผลิต
- การให้บริการสุขภาพ
5. ผลผลิต
- การป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด
63
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร.ปี 2557 จาแนกตาม 6 โครงการ 9 ผลผลิต
6. ผลผลิต - การรักษาความปลอดภัยและให้ บริการแก่นักท่ องเที่ยว
7. ผลผลิต - การรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์ สินของประชาชน
8. ผลผลิต - การอานวยความยุติธรรม
9. ผลผลิต - การอานวยการจราจร
64
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกตามกิจกรรม 29 กิจกรรม
1. การสื บสวนปราบปรามผู้ผลิตและผู้ค้ายาเสพติด
2. การอานวยการและสนับสนุนด้ านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
3. การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการควบคุมสถานการณ์ ความไม่ สงบในเขตจังหวัด
ชายแดนภาคใต้
4. การถวายความปลอดภัยพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์
5. การเสริมสร้ างจิตสานึกและสร้ างการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการ
แสดงออก ถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
6. การเฝ้ าระวังแก้ไขปัญหาสถานการณ์ ชายแดนและการรักษาความสงบ
เรียบร้ อยบริเวณพืน้ ที่ชายแดนเพือ่ ความมั่นคงของรัฐ
65
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกตามกิจกรรม 29 กิจกรรม
7. การดาเนินการด้ านการข่ าวที่มีผลกระทบต่ อความมัน่ คงของประเทศ
และการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ
8. การรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์ สินของประชาชนในเขต
น่ านนา้ และการรักษาความสงบเรียบร้ อยทางทะเล
9. การป้องกันปราบปรามการลักลอบหลบหนีเข้ าเมือง และการป้องกัน
ปราบปรามคนต่ างด้ าวทีไ่ ม่ พงึ ปรารถนา
10. การตรวจบุคคลและพาหนะเดินทางเข้ า – ออกราชอาณาจักร และการ
อนุญาตให้ คนต่ างด้ าวพานักอยู่ในราชอาณาจักร
11. การเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยและให้ บริการแก่
นักท่ องเที่ยว
66
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกตามกิจกรรม 29 กิจกรรม
12. การตรวจรักษาทางการแพทย์ และการให้ บริการสุ ขภาพ
13. การตรวจพิสูจน์ ทางด้ านนิตเิ วช
14. การตรวจรักษาผู้ป่วยเอดส์ และการป้องกันการติดเชื้อเอดส์
15. การปฏิบัติการ และอานวยการจราจร
16. การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมคดีเฉพาะทาง
17. การป้องกันปราบปรามอาชญากรรม
18. การชุ มชนและมวลชนสั มพันธ์
19. การผลิตและฝึ กอบรมตารวจ
20. การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
21. การบริหารจัดการ
67
โครงสร้ างงบประมาณของ ตร. ปี 2557 จาแนกตามกิจกรรม 29 กิจกรรม
22. การสื บสวน สอบสวน คดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน
23. การตรวจพิสูจน์ หลักฐาน และการดาเนินการด้ านนิติวทิ ยาศาสตร์ ตารวจ
24. การสนับสนุนการปฏิบัติด้านการสอบสวน
25.จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ พกพา(แทบเล็ต)ให้ นักเรียน ป.1
26. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ พกพา(แทบเล็ต)ให้ นักเรียน ม.1
27.การสื บสวนและสอบสวนการกระทาความผิดเกีย่ วกับการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบในวงราชการ
28. การป้องกันและปราบปรามคดีเกีย่ วกับการค้ ามนุษย์
29.เสริมสร้ างความสั มพันธ์ และความร่ วมมือในการแก้ไขปัญหาความมั่นคง
และการรักษาความปลอดภัยในภูมิภาคอาเซี่ยน
68
ยุทธศาสตร์ ท4ี่ การศึกษา คุณธรรม จริ ยธรรม คุณภาพชีวติ และความเท่าเทียมในสังคม
แผนงาน : ป้ องกันปราบปรามและบาบัดรักษายาเสพติด
ผลผลิต การป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด(บช.ปส.)
กิจกรรม 1) การสื บสวนปราบปรามผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ยาเสพติด
2) การอานวยการและสนับสนุนด้านการป้ องกัน
และปราบปรามยาเสพติด
69
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
•
การดาเนินคดีกบั ผูก้ ระทาความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่นอ้ ยกว่า 125,700 ราย
• เชิงคุณภาพ
ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดาเนินงานป้ องกันและปราบปราม
ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตารวจ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
• เชิงเวลา
ระยะเวลาการสอบสวนคดียาเสพติดรายสาคัญเสร็ จสิ้ นภายใน 60 วัน
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90
70
ยุทธศาสตร์ที่1
เร่งรัดพัฒนาประเทศและเตรียมความเข้าสู่ประชาคมอาเซี่ยน
*แผนงาน : รองรับการเข้าสูป
่ ระชาคมอาเซี่ยน
*โครงการ เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือในการแก้ไขปั ญหาความ
มัน่ คงและการรักษาความปลอดภัยในภูมิภาคอาเซี่ยน
*กิจกรรม เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือในการแก้ไขปั ญหาความ
มัน่ คงและการรักษาความปลอดภัยในภูมิภาคอาเซี่ยน
71
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
•จานวนคดีอาญาซึ่ งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวิต ร่ างกาย และเพศ บริ เวณจังหวัดซึ่ งมีเขต
ติดต่อกับประเทศในภูมิภาคอาเซี่ ยน ไม่เกิน 21.6 คดี/ประชากรแสนคน
• เชิงปริมาณ
•จานวนความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ บริ เวณจังหวัดที่มีเขตติดต่อกับประเทศในภูมิภาคอาเซี่ ยน
ไม่เกิน 5.14 คดี/ประชากรแสนคน
• เชิงเวลา
ระยะเวลาการตรวจคนเข้าเมือง ณ ด่านตรวจคนเข้าเมืองสนามบินนานาชาติ
ไม่เกิน 2 นาที/คน
72
ยุทธศาสตร์ ท1ี่
เร่ งรัดพัฒนาประเทศและเตรี ยมความเข้าสู่ ประชาคมอาเซี่ ยน
• แผนงาน : แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
• โครงการ เพิ่มประสิ ทธิภาพการควบคุมสถานการณ์ความไม่สงบในเขต
จังหวัดชายแดนภาคใต้
• กิจกรรม 1) การเพิ่มประสิ ทธิภาพการควบคุมสถานการณ์ความไม่
สงบในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้(ศชต.)
73
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
• เหตุการณ์ การก่ อการร้ ายทีม่ ีผลกระทบต่ อชีวิตและทรัพย์ สินบริเวณพืน้ ทีช่ ายแดน
ลดลง เมือ่ เทียบกับจานวนเหตุการณ์ ในปี ทีผ่ ่ านมาไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 5
• เชิงคุณภาพ
• ประชาชนในพื้นที่มีความสงบสุ ขและพึงพอใจจากการเฝ้ าระวังและ
แก้ไขปัญหาสถานการณ์เกี่ยวกับความมัน่ คงของรัฐไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ80
74
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
• เหตุการณ์ การก่ อการร้ ายทีม่ ีผลกระทบต่ อชีวิตและทรัพย์ สินบริเวณพืน้ ทีช่ ายแดน
ลดลง เมือ่ เทียบกับจานวนเหตุการณ์ ในปี ทีผ่ ่ านมาไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 5
• เชิงคุณภาพ
• ประชาชนในพื้นที่มีความสงบสุ ขและพึงพอใจจากการเฝ้ าระวังและ
แก้ไขปัญหาสถานการณ์เกี่ยวกับความมัน่ คงของรัฐไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ80
75
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ความมัน่ คงแห่ งรัฐ
• แผนงาน : เทิดทูน พิทกั ษ์และรักษาสถาบันพระมหากษัตริ ย ์
• โครงการที1่ สร้างจิตสานึกต่อสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ (บช.ส.)
• กิจกรรม 1)การเสริ มสร้างจิตสานึกและสร้างการมีส่วนร่ วมของ
ประชาชนในการแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบัน
พระมหากษัตริ ย ์ ( ตชด., บช.น.)
76
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
เชิงปริมาณ
จานวนครั้งในการรณรงค์ผา่ นสื่ อเพื่อสร้างจิตสานึกฯไม่นอ้ ยกว่า 3,650ครั้ง
เชิงปริ มาณ
การรณรงค์สร้างจิตสานึกและค่านิยมโดยชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ฯ696/448
ครั้ง/หมู่บา้ น
เชิงคุณภาพ
ความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมฯ ร้อยละ 80
77
ยุทธศาสตร์ ท2ี่ ความมัน่ คงแห่งรัฐ
แผนงาน : เทิดทูน พิทกั ษ์และรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์
ผลผลิตที1่ การถวายความปลอดภัยพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ (สง.นรป.)
กิจกรรม การถวายความปลอดภัยพระมหากษัตริ ยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงคุณภาพ ถวายความปลอดภัยได้สมพระเกียรติตอ้ งตามพระราช
ประสงค์ โดยไม่มีเหตุระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท ร้อยละ 100
78
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ความมัน่ คงแห่งรัฐ
แผนงาน : การรักษาความสงบเรี ยบร้อยภายในประเทศ
ผลผลิตที่1 การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมัน่ คง (บช.ตชด.)
กิจกรรม
1) การเฝ้ าระวังแก้ไขปั ญหา สถานการณ์ชายแดน และการรักษา
ความสงบเรี ยบร้อยบริ เวณพื้นที่ชายแดนเพื่อความมัน่ คงของรัฐ (บช.ตชด.)
2) การดาเนิ นการด้านการข่าวที่มีผลกระทบต่อความมัน่ คงของ
ประเทศและรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ (บช.ส.)
3) การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ในเขตน่ านน้ าและการรักษาความสงบเรียบร้อยทางทะเล(บก.รน.)
79
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
หมู่บา้ นเป้ าหมายที่ดาเนิ นกิจกรรมเฝ้ าระวังและแก้ไขปั ญหาสถานการณ์ ชายแดนเพื่อ
ความสงบเรี ยบร้อยและความมัน่ คงของรัฐ ไม่นอ้ ยกว่า 2,470 หมู่บา้ น
• เชิงปริมาณ
ผลิตข่าวกรองที่เกี่ยวข้องกับความมัน่ คงฯที่ส่งให้กบั ผูใ้ ช้ข่าวฯ2,500 เรื่ อง/ปี
• เชิงปริมาณ
การออกตรวจดูแลและรักษาความสงบเรี ยบร้อยในเขตน่านน้ า 70,900ครั้ง
• เชิงคุณภาพ
ประชาชนในพื้นที่เป้ าหมายมีความสงบสุ ขและพึงพอใจในการเฝ้ าระวังและ
แก้ไขปั ญหาสถานการณ์ที่เกี่ยวกับความมัน่ คงของรัฐและการรักษาความสงบเรี ยบร้อยใน
เขตน่านน้ าไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
80
ยุทธศาสตร์ ที2่ ความมัน่ คงแห่งรัฐ
แผนงาน : การรักษาความสงบเรี ยบร้อยภายในประเทศ
ผลผลิต ที่ 2 การป้ องกันและการปราบปรามการลักลอบการหลบหนี
เข้าเมือง และคนต่างด้าวที่ไม่พึงปรารถนา(สตม.)
กิจกรรม 1) การป้ องกันปราบปรามการลักลอบการหลบหนีเข้าเมืองและการ
ป้ องกันปราบปรามคนต่างด้าวที่ไม่พึงปรารถนา
2) การตรวจบุคคลและพาหนะเดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักร
และการอนุญาตให้คนต่างด้าวพานักอยูใ่ นราชอาณาจักร
81
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
คนต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมายที่ดาเนินการจับกุม ผลักดันออกนอก
ราชอาณาจักร ไม่นอ้ ยกว่า 300,000 คน
• เชิงคุณภาพ
ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการป้ องกันปราบปรามผลักดันคนต่าง
ด้าวและการรับการบริ การตรวจอนุญาต ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
• เชิงเวลา
ระยะเวลาผลักดันคนต่างด้าวลักลอบหลบหนีเข้าเมือง โดยคดีถึงที่สุด
แล้ว และสานักงานตรวจคนเข้าเมืองได้รับตัวไว้เพื่อดาเนินการผลักดันออกนอก
ราชอาณาจักรภายใน 7 วัน
82
ยุทธศาสตร์ ท1ี่ เร่ งรัดการพัฒนาประเทศและเตรียมความพร้ อมเข้ าสู่
แผนงาน
ประชาคมอาเซี่ยน
เพิม่ รายได้ จากการท่ องเที่ยวและบริการ
ผลผลิต การรักษาความปลอดภัยและให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยว(บก.ทท.)
กิจกรรม 1) การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการรักษาความปลอดภัย
และให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยว
83
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
ควบคุมคดีเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดขึ้นกับ
นักท่องเที่ยวต่างชาติไม่เกิน 15 คดี ต่อนักท่องเที่ยวหนึ่งแสนคน
เชิงคุณภาพ
นักท่องเที่ยวมีความเชื่อมัน่ และพึงพอใจในการรักษาความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 80
เชิงเวลา
เจ้าหน้าที่ตารวจไปถึงที่เกิดเหตุในแหล่งท่องเที่ยวสาคัญตามเป้ าหมาย/
นอกแหล่งท่องเที่ยวสาคัญตามเป้ าหมายภายใน 15/30 นาที
84
ยุทธศาสตร์ ท4ี่ การศึกษา คุณธรรม จริ ยธรรม คุณภาพชีวติ และเท่าเทียมกันในสังคม
แผนงาน : พัฒนาด้านสาธารณสุ ข
ผลผลิตที1่ การให้บริ การสุ ขภาพ (รพ.ตร.)
กิจกรรม 1) การตรวจรักษาทางการแพทย์ และการให้บริ การสุ ขภาพ
2) การตรวจพิสูจน์ดา้ นนิติเวช (นต.รพ.ตร.)
3) การตรวจรักษาผูป้ ่ วยเอดส์ และการป้ องกันการติด
เชื้อเอดส์
85
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
ผูม้ ารับบริ การสุ ขภาพ(เฉพาะบุคคลภายนอก) 370,000 ราย
• เชิงคุณภาพ
ผูม้ ารับบริ การมีความพึงพอใจไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
86
ยุทธศาสตร์ ท4ี่ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
แผนงาน : ป้ องกันและแก้ไขปัญหาอุบตั ิภยั ทางถนน
ผลผลิตที่2 การอานวยการจราจร(สงป.ตร.)
กิจกรรม 1) การปฏิบตั ิการและอานวยการจราจร (บช.น.
ภ1-9, ศชต. )
87
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
• อัตราส่ วนจานวนผู้เสี ยชีวิตจากอุบัตเิ หตุทางถนน14.27ต่ อประชากรหนึ่งแสนราย
•เชิงคุณภาพ ความพึงพอใจของประชาชนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80
• เชิงเวลา
การแจ้งเหตุทางโทรศัพท์ให้เจ้าหน้าที่ตารวจไปถึงที่เกิดเหตุ
ในเขต กทม./เทศบาล ภายใน 15 นาที
นอกเขตกทม./เทศบาลภายใน 30 นาที
88
ยุทธศาสตร์ ท8ี่ การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
แผนงาน : พัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
ผลผลิตที่1 การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน (สงป.)
กิจกรรม 1. การป้ องกันปราบปรามอาชญากรรมเฉพาะทาง
2.) การป้ องกันปราบปรามอาชญากรรม(น.ภ.1-9, .ศชต.)
3) การชุมชนมวลชนสัมพันธ์(สยศ.ตร.)
4) การผลิตและฝึ กอบรมตารวจ(บช.ศ.,รร.นรต.ฯลฯ)
5) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร(สทส.)
6) การบริ หารจัดการ(หน่วยงานสังกัด สง.ผบ.ตร.)
89
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงปริมาณ
- ควบคุมคดีอาญาซึ่ งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินฯกลุ่มคดีความผิด
เกี่ยวกับทรัพย์ไม่เกิน 6.24 คดี/ต่อประชากรแสนคน
-ควบคุมคดีอาญาซึ่ งมีผลต่อความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน กลุ่มคดีความผิด
เกี่ยวกับชีวติ ร่ างกายและเพศไม่เกิน 24.20คดี/ประชากรหนึ่งแสนคน
เชิงคุณภาพ
ร้ อยละของความหวาดกลัวภัยของประชาชน ไม่ เกินร้ อยละ 40
•เชิงเวลา
การแจ้งเหตุให้เจ้าหน้าที่ตารวจไปถึงที่เกิดเหตุในเขต กทม. /เทศบาล
ภายใน 10 นาที และนอกเขตกทม./เทศบาล ภายใน 20 นาที
90
ยุทธศาสตร์ ที่ 8 การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
แผนงาน : พัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
ผลผลิตที่2 การอานวยความยุติธรรม(สงป.ตร.)
กิจกรรม 1) การสื บสวนสอบสวนคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน (น. ภ.1-9,ก.ศชต.)
2) การตรวจพิสูจน์หลักฐานและการดาเนินการด้านนิติ
วิทยาศาสตร์ตารวจ(สพฐ.ตร.)
3) การสนับสนุนการปฏิบตั ิดา้ นการสอบสวน(กมค.สบส.)
91
เป้าหมายผลผลิต / ตัวชี้วดั
• เชิงคุณภาพ
จานวนคดีอาญาที่พนักงานสอบสวนดาเนินการเสร็ จสิ้ นเทียบกับค่า
มาตรฐานไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90
• เชิงคุณภาพ
ผลการสัง่ คดีในชั้นพนักงานอัยการมีความเห็นสอดคล้องกับพนักงาน
สอบสวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90
• เชิงเวลา
ระยะเวลาการสอบสวนคดีเสร็ จสิ้ นสามารถส่ งอัยการได้ภายในกาหนด
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90
92
งบประมาณปี 2557 ของสานักงานตารวจแห่ งชาติ
งบรายจ่ าย
ปี 2556
ปี 2557
เพิม่ /ลด
ร้ อยละ
1.งบบุคลากร
62,603,950,700
65,877,618,700
3,273,668,000
5.23
2.งบดาเนินงาน
15,408,333,000
14937827000
-470,506,000
- 3.05
5,098,496,900
5,313,141,100
214,644,200
4.21
4.งบเงินอุดหนุน
236,850,000
221391600
-15,458,400
- 6.53
5.งบรายจ่ ายอืน่
411,200,900
418,749,900
7,549,000
1.84
83,758,831,500
86,768,728,300
3,009,896,800
3.59
3.งบลงทุน
รวม
93
โครงสร้างคาของบประมาณ
แผนการบริหารฯ
ยุทธศาสตร์จดั สรรฯ
ประเด็นยุทธศาสตร์
แผนงบประมาณ
เป้าประสงค์
เชิงยุทธศาสตร์
เป้าประสงค์
เชิงยุทธศาสตร์
ชาติ
แนวทาง
การจัดสรร งปม.
กลยุทธ์หลัก
กระทรวง
เป้าหมายการให้
บริการกระทรวง
ยุทธศาสตร์
กระทรวง
เป้าหมายการให้
บริการหน่วยงาน
กลยุทธ์หน่วยงาน
ผลผลิต/โครงการ
กองทุน/เงินทุน
กิจกรรม
หน่วยงาน
94
95
ยุทธฯ จั้สรร
นโยบายจั้สรร
รองรับเข้า
สู่
ประชาคม
อาเซียน
โครงการ / ผลผลิต
๑.๑.๗
เสริ มสร้าง
ความสัมพัน
ธ์และความ
ร่ วมมือใน
การแก้ไข
ปัญหาความ
มัน่ คง ...
แผนงาน
ที่ 1 เร่ งรั้การพัฒนาประเทศ และเตรียมความ
พรไ อมสู่ ประชาคมอาเซียน
ค. การ
เสริ มสร้าง
ความสัมพันธ์
และความ
ร่ วมมือในการ
แก้ปัญหา
ความมัน่ คง
และความ
ปลอดภัยใน
ภูมิภาค
อาเซี ยน
C
๑.๖.๓ บูรณาการ
แผนและการบริ หาร
จัดการทุกภาคส่วน
ให้เป็ นไปใน
แนวทางเดียวกัน
ป้ องกันและควบคุม
สถานการณ์ความ
ไม่สงบในพื้นที่....
๑.๗.๒
ส่ งเสริ ม
ภาพลักษณ์
การ
ท่องเที่ยว
ของ
ประเทศ
แก้ไขปัญหา
และพัฒนา
จังหวัด
ชายแดน
ภาคใต้
เพิ่ม
รายได้
จากการ
ท่องเที่ยว
และ
บริ การ
ค. เพิ่ม
ประสิ ทธิภา
พการ
ควบคุม
สถานการณ์
ความไม่
สงบในเขต
จังหวัด
ชายแดน
ภาคใต้
ผ. การ
รักษาความ
ปลอดภัย
และ
ให้บริ การ
แก่
นักท่องเที่ย
ว
C
C
๑.๘.๓
สนับ
สนุนการ
ขจัด
กระบวน
การค้า
มนุษย์
ยกระดับ
คุณภาพ
แรงงาน การ
จัดการ
แรงงานต่าง
ด้าวและ
ป้ องกัน
การค้ามนุษย์
ค.
ปราบปราม
การกระทา
ความผิด
เกี่ยงกับ
การค้า
มนุษย์
C
ที่ 2 ความมั่นคง
แห่ งรัฐ
ที่ 4 การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม
คุณภาพชี วติ และความเท่ าเทียมกัน
ในสั งคม
๒.๑.๑ เทิดทูน
พิทกั ษ์ และ
รักษา ถวาย
พระเกียรติและ
ถวายความ
ปลอดภัย
พระมหากษัตริ
ย์....
๒.๔.๑ พัฒนา
ศักยภาพและ
ประสิ ทธิภาพ
ของหน่วยงาน
ในด้านการ
รักษาความ
สงบเรี ยบร้อย
ภายใน....
๔.๑.๒
จัดหา
เครื่ อง
คอม
พิวเตอร์
แบบ
พกพา
(แท็บ
เล็ต) ....
เทิดทูน
พิทกั ษ์และ
รักษา
สถาบัน
พระ
มหา
กษัตริ ย ์
รักษา
ความสงบ
เรี ยบ
ร้อย
ภายใน
ประเทศ
ขยาย
โอกาส
และ
พัฒนา
คุณภาพ
การศึกษ
า
ผ. การ
ถวาย
ความ
ปลอดภั
ยพระ
มหา
กษัตริ ย ์
และ
พระ
บรม
วงศานุ
วงศ์
ค.
สร้าง
จิต
สานึก
ต่อ
สถาบั
นพระ
มหา
กษัตริ
ย์
ผ. การ
ผ.
ป้ องกัน
การ
รักษา และการ
ความ ปราบปราม
การ
สงบ
ลักลอบ
เรี ยบ หลบหนี
ร้อย
เข้าเมือง
และ และคนต่าง
ความ ด้าวที่ไม่พึง
มัน่ คง ปรารถนา
C
ค. :
จัดการ
เรี ยนการ
สอนโดย
ใช้เครื่ อง
คอมพิวเต
อร์แบบ
พกพา
(แท็บเล็ต)
C
๔.๓.๗
สนับสนุน
การ
ดาเนินงา
นตาม
ภารกิจ
พื้นฐาน
ของ
หน่วยงาน
๔.๖.๔
สนับสนุน
การ
ดาเนินงา
นตาม
ภารกิจ
พื้นฐาน
ของ
หน่วยงาน
พัฒ
นา
ด้าน
สา
ธารณ
สุ ข
ป้ องกัน
ปราบปรา
ม การ
ทุจริ ตและ
ประพฤติ
มิชอบใน
ภาครัฐ
ผ.
การ
ให้
บริ
การ
สุ ข
ภาพ
ค. การ
ป้ องกัน
และ
ปราบปรา
มการ
ทุจริ ต
และ
ประพฤติ
มิชอบใน
วง
ราชการ
C
๔.๗.๒
ปราบ
ปราม
ผูผ้ ลิต
ผูค้ า้
และผู ้
นาเข้า
ยาเสพ
ติด
ป้ องกัน
ปราบป
ราม
และ
บาบัดรั
กษา
ผูต้ ิดยา
เสพติด
ผ. : การ
ป้ องกัน
และ
ปราบ
ปราม
ยาเสพ
ติด
C
การจั้การ
ทรัพยากรธร
รมชาติและ
สิ่งแว้ลไอม
ที่ 8 การ
บริหารกิจการ
บไ านเมืองที้่ ี
๕.๕.๓
สนับสนุ
นการ
ป้ องกัน
แก้ไข
และ
เตรี ยม
ความ
พร้อม...
๘.๑.๕
เสริ มสร้าง
ประสิ ทธิภา
พในการ
ป้ องกัน
ปราบปราม
อาชญากรร
ม
จัดการ
ภัย
พิบตั ิ
พัฒนา
กฎหมาย
และ
กระบวน
การ
ยุติธรรม
ผ. :
การ
อา
นวย
การ
จรา
จร
ผ. 1 : ผ. การ
อา
การรักษา
นวย
ความ
ปลอดภัย ความ
ยุติ
ในชีวิต
ธรรม
และ
ทรัพย์สิ
นของ
ประชาช
น
ยุทธศาส
ตร ์
CS1
การเพิม
่ ขีด
ความสามารถ
ในการแขงขั
่ นของ
ประเทศ
CS2
การลดความเหลือ
่ มลา้
สนับ
สนุ น
การ
จัดหา
แท็บ
เล็ต
แรง
งาน
เพิม
่
รายได้
จากการ
ทองเที
ย
่
่
วและ
บริการ
รองรับ
การเขา้
สู่
ประชา
คม
อาเซีย
โครงการ
: เสริน
มสราง
้
ขยาย
โอกาส
และ
พัฒนา
คุณภา
พ
การศึ ก
โครงก
ษา
รักษา
ความ
สงบ
เรียบร้
อย
ภายใ
น
ประเท
ศต
ผลผลิ
โครงการ/
ผลผลิต
แผนงา
น
นโยบาย
การ
ทองเที
ย
่ ว
่
และบริการ
การ
เชือ
่ มโยง
เศรษฐกิจ
ในภูมภ
ิ าค
ผลผลิต :
การรักษา
ความ
ปลอดภัยฯ
ความสั มพั
นธและ
์
แกไข
้
ปัญหา
ความ
ปลอดภัย
าร :
จัดการ
เรียน
การ
สอน
โดยใช้
คอมพิว
เตอร ์
: การ
ป้องกัน
และ
ปราบปร
ามการ
ลักลอบ
หลบหนี
เข้าเมือง
การ
ป้องกั
นและ
แกไข
้
ปัญหา
การค้า
มนุ ษย
ยกระดั์
บ
คุณภา
พ
แรงงา
นการ
จัดการ
แรงงา
นตาง
่
โครงกา
ด
าว
ร้ :
ปราบป
รามการ
กระทา
ความผิ
ด
เกีย
่ วกับ
การคา้
การ
ป้องกั
นและ
แก้ไข
ปัญหา
ยา
เสพ
ป้ติ
องกั
ด
น
ปราบ
ปราม
และ
บาบัด
รักษา
ผู้ติด
ยาเสพ
ติด ต
ผลผลิ
: การ
ป้องกัน
และ
ปราบป
รามยา
เสพติด
CS3
การเติบโตที่
เป็ นมิตร
กับสิ่ งแวดลอม
้
CS4
การสรางความ
้
สมดุลและปรับระบบ
บริหารจัดการ
การ
ภาครัฐแกไข
การ
ป้องกัน
และ
ปราบป
ราม
ทุจริต
คอรรั์ ป
่น
ปชั
องกั
้
น
ปราบ
ปราม
และ
บาบัด
รักษา
ผู้ติด
โครงก
ยาเสพ
าร
ติด :
ป้องกัน
และ
ปราม
การ
ทุจริต
ในวง
ราชกา
้
ปัญหา
ความ
มัน
่ คง
จ.
ชายแ
ดนใต้
ปและ
้ องกั
อาเซี
น ย
น
ปราบ
ปราม
และ
บาบัด
รักษา
ผู้ติด
ยาเสพ
ติด
โครงกา
ร : เพิม
่
ประสิ ทธิ
ภาพการ
ควบคุม
ความไม่
สงบ
ชายแดน
ใต้
การอนุมตั งิ บประมาณ
1
คณะรั ฐมนตรี
(มิ.ย.-ก.ย.)
2
สภาผู้แทนราษฎร
เสนอร่ างพ.ร.บ.งบประมาณ
รายจ่ ายประจาปี
 วาระที่ 1
 ขัน้ กรรมาธิการฯ
 วาระที่ 2-3
(อนุมัตภิ ายใน 105 วัน)
4
3
พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ าย
ประจาปี
วุฒสิ ภา
พิจารณาให้ ความเห็นชอบ
(ภายใน 20 วัน)
98
เงื่อนเวลาที่กฎหมายกาหนด
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
 กาหนดให้ สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่ าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ
ให้ แล้วเสร็จภายใน 105 วัน นับตั้งแต่ ร่าง พ.ร.บ. ถึง สภาผู้แทนราษฎร
 วุฒิสภาพิจารณาให้ ความเห็นชอบภายใน 20 วัน นับตั้งแต่
ร่ าง พ.ร.บ.งบประมาณฯ ถึง วุฒิสภา
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
 ให้ ผ้ ูอานวยการสานักงบประมาณเสนองบประมาณรายจ่ ายประจาปี ต่ อ
นายกรัฐมนตรี และนาเสนอต่ อ ครม. เพือ่ ครม. เสนอต่ อรัฐสภา เป็ นเวลา
อย่ างน้ อย 2 เดือนก่อนเริ่มปี งบประมาณนั้น
99
99
การบริหารงบประมาณ
หมายถึง
การควบคุมการใช้ จ่ายงบประมาณ
ให้ เป็ นไปตามเป้ าหมาย ของ ผลผลิต
กิจกรรม และตัวชี้วดั ของหน่ วยงาน
100
หน่ วยงานที่เกีย่ วข้ องกับการบริหารงบประมาณ
•
•
•
•
สานักงบประมาณ
กรมบัญชีกลาง
สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน
ส่ วนราชการ
101
กฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วข้ อง
กับการบริหารงบประมาณของ ตร.
1. พ.ร.บ.ตารวจแหงชาติ
่
พ.ศ.2547
2.
นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณา
การ (CEO)
3. ระเบียบวาด
หารงบประมาณ
พ.ศ.2548 และที่
่ วยการบริ
้
แก้ไขเพิม
่ เติม
และหลักเกณฑการแก
ไขเปลี
ย
่ นแปลงรายละเอียด
้
์
4. พ.ร.บ.วิ
ธก
ี ารงบประมาณ
พ.ศ. 2502 และทีแ
่ กไข
รายการงบประมาณรายจ
าย
่
้
เพิม
่ เติม (ฉบับที6
่ )พ.ศ.2543
5. ระเบียบการกอหนี
้ผูกพันขามปี
งบประมาณ
่
้
พ.ศ.2534 และทีแ
่ กไขเพิ
ม
่ เติม (ฉบับที2
่ )
้
พ.ศ.2549
102
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร.
พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 และ
นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ
คาสั ่ง ตร. ที่ 848/2548 ลง 15 พ.ย.2548
เรื่อง การมอบอานาจการบริหารงบประมาณรายจ่ ายตามระเบียบว่ า้ไ วยการบริหาร
งบประมาณใหไ ผวจ. , ผบช., รอง ผบช. ที่ ผบช. มอบหมาย ปฏิบัตริ าชการแทน
(อาศัยอานาจตาม ม.38 แห่ งพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่น้ินพ.ศ.2534และ ม.74แห่ งพ.ร.บ.ตารวจแห่ งชาติพ.ศ.2547)
103
ระเบียบ ก.ต.ช.ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การปฏิบตั ิราชการของผู้บญ
ั ชาการในฐานะเป็ นอธิบดีหรือแทนผู้
บัญชาการตารวจแห่ งชาติ พ.ศ.2551 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2555
โดยนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการนโยบายตารวจแห่ งชาติ
• อาศัยอานาจตามความใน ม.14 วรรคสอง และม. 18 (1) แห่ ง พ.ร.บ.
ตารวจแห่ งชาติ พ.ศ.2547 ประกอบมติ ก.ต.ช.ฯลฯ ก.ต.ช. จึงได้ ออก
ระเบียบไว้ โดยสรุปดังนี้
1 อานาจของผู้บัญชาการในฐานะเป็ นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการ
ตารวจแห่ งชาติในส่ วนเกีย่ วกับการปฏิบัตริ าชการของบช.นั้น
2- เรื่องทีเ่ ป็ นอานาจหน้ าทีข่ องผู้บัญชาการตารวจแห่ งชาติ
- ผู้บัญชาการตารวจแห่ งชาติมีอานาจออกแนวทางการปฏิบัติฯเพือ่ ให้
เป็ นไปตามระเบียบนี้
104
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
ส่วนที่ 2 ด้านงบประมาณ
1.การจัดทางบประมาณ
1.1 ให้ ผบช. มีหน้าที่เกี่ยวกับงบประมาณของ
บช. นั้น และจัดทาคาของบประมาณรายจ่าย
ประจาปี ของ บช. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
สานักงบประมาณและ ตร. กาหนด
105
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
1.2 ให้ ผบช. จัดทาค่าใช้จา่ ยต่อหน่วยผลผลิต
หรือโครงการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
สานักงบประมาณและ ตร. กาหนด สาหรับการ
จัดทางบประมาณรายจ่ายในปี งบประมาณ
ต่อไป
106
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย
การจัดทาและการปรับปรุง แผนการปฏิบตั งิ านและ
แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ การจัดสรร
งบประมาณรายจ่ายและการใช้จา่ ยงบประมาณ
รายจ่าย การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
และการบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง ให้ถือ
ปฏิบตั ติ ามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ
และตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สานักงบประมาณ
และ ตร. กาหนด
107
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย(ต่อ)
ในส่วนหลัก ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยคือ
ก.-คาสั ่ง ตร. ที่ 848 / 2548 ลง 15 พ.ย.2548เรือ่ งการ
มอบอานาจการบริหารงบประมาณรายจ่ายตามระเบียบว่าด้วย
การบริหารงบประมาณให้ ผูว้ ่าราชการจังหวัด ผูบ้ ญ
ั ชาการ รองผู ้
บัญชาการที่ผบู ้ ญ
ั ชาการมอบหมายให้ปฏิบตั ริ าชการแทน
- คาสั ่ง ตร.ที่ 418/2552 ลง 3ก.ย. 2552 เรื่อง
แนวทางปฏิบตั ใิ นการบริหารงานงบประมาณ ในอานาจของผู ้
บัญชาการ ซึ่งออกตามระเบียบ ก.ต.ช.ฯลฯ
108
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย(ต่อ)
ข. หนังสือ ตร. ที่ 0010.181/ว 120 ลง
24 ต.ค. 55 เรื่องแนวทางการบริหาร
งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ.
2556
109
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
2. การบริหารงบประมาณรายจ่าย(ต่อ)
อนึ่ง การดาเนินการใดที่ตอ้ งเสนอต่อ
นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี ให้เสนอเรือ่ ง
ผ่าน ตร. ( งป.)
110
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
3. การรายงานผล
ให้ บช. จัดให้มีระบบการรายงานผล
การปฏิบตั ิงานและผลการใช้จา่ ยงบประมาณ
และให้จดั ทารายงานผลการปฏิบตั ิงานและผล
การใช้จา่ ยงบประมาณ ตามเกณฑ์การวัดของ
ตัวชี้วัดผลสาเร็จตามที่กาหนดไว้ และตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่สานักงบประมาณ และ
ตร.กาหนด
111
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
4. เรือ่ งดังต่อไปนี้เป็ นอานาจหน้าที่ของ ผบ.ตร.
เดิม ระเบียบ ก.ต.ช.ฯ พ.ศ.2551 (9 เรือ่ ง)
1. การวางแผนสรรหากาลังพล
2. การขอพระราชทานยศและการถอดยศตารวจชั้น
สัญญาบัตร
3.การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
4.การให้ความยินยอมให้ขา้ ราชการตารวจโอนไป
รับราชการในส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น
112
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
5. การอนุญาตให้ขา้ ราชการตารวจไปปฏิบตั หิ น้าที่
ชั ่วคราวนอกสังกัด สานักงานตารวจแห่งชาติ
6. การจัดหาพัสดุประเภทยุทธภัณฑ์
7.การบริหารที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเฉพาะการอนุญาตให้
ใช้ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์และการส่งคืนที่ดิน
และสิ่งปลูกสร้าง
8.การเสนอเรื่องต่อ ก.ตร.
9.การเสนอเรื่องต่อนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี
113
แนวทางปฏิบตั ิประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิราชการของผูบ้ ญั ชาการฯ
ใหม่ ระเบียบ ก.ต.ช.ฯ(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2555
4. เรือ่ งที่สงวนไว้เป็ นอานาจของ ผบ.ตร.
1. การวางแผนสรรหากาลังพล
2. การให้ความยินยอมให้ขา้ ราชการตารวจโอนไปรับ
ราชการในส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น
3. การอนุญาตให้ขา้ ราชการตารวจไปปฏิบตั หิ น้าที่
ชั ่วคราวนอกสังกัด สานักงานตารวจแห่งชาติ
4. การจัดหายุทธภัณฑ์บางประเภทตามที่สานักงาน
ตารวจแห่งชาติกาหนด
114
กระบวนการบริหารงบประมาณ
ประกอบ้ไ วย 5 ขั้นตอน
1)
2)
3)
4)
5)
การขอและอนุมตั เิ งินประจางวด , การโอนเงิน ,การจัดสรร
การจัดซื้อจัดจ้ าง
การเบิกจ่ ายเงินงบประมาณ
การตรวจสอบการใช้ จ่ายเงิน
การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน
115
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร.
1. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548
และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหลักเกณฑ์การแก้ไข
เปลี่ยนแปลง รายละเอียดรายการงบประมาณรายจ่าย
2. หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ
3. พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณพ.ศ.2502และที่แก้ไขเพิ่มเติม
4. ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณพ.ศ.2534
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ฯลฯ
116
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548
แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2554
หลักการสาคัญ...
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบตั ทิ ั ่วไปในการบริหาร
งบประมาณ
การบริหารงบประมาณรายจ่าย สาหรับส่วนราชการ
การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง
การรายงานผล
117
หลักการสาคัญ
1. มีความสอดคล้ องกับระบบและวิธีการจัดการงบประมาณทีม่ ่ ุงเน้ น ผลงาน
ตามยุทธศาสตร์
2. กาหนดวิธีการจัดสรรงบประมาณตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ ายประจาปี
และเพิม่ เติม รวมถึงการโอนเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณรายจ่ าย เพื่อให้
ใช้ จ่ายได้ อย่ างรวดเร็ว เกิดประโยชน์ สูงสุ ดและคุ้มค่ า
3. กาหนดการมอบอานาจและความรับผิดชอบให้ กบั หัวหน้ าส่ วนราชการ
ในการบริหารงบประมาณได้ อย่ างยืดหยุ่นและคล่ องตัวสู ง
4. กาหนดให้ ส่วนราชการ บริหารงบประมาณรายจ่ ายให้ บรรลุเป้ าหมายและ
ผลสั มฤทธิ์ของงาน ตามแผนงานและแผนงานในเชิงบูรณาการที่กาหนดไว้
118
หลักการสาคัญ
5. กาหนดให้ มีเครื่องมือในการบริหารงบประมาณ ดังนี.้ - การจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
- การจัดทาและรับส่ งข้ อมูลด้ วยระบบอิเลคทรอนิคส์
- การรายงานผล
- การจัดทาค่ าใช้ จ่ายต่ อหน่ วย
6. กาหนดให้ การบริหารงบประมาณสอดคล้องกับหลักการของ
ธรรมาภิบาล คือ ใช้ จ่ายได้ รวดเร็ว มีประสิ ทธิภาพ คุ้มค่ า โปร่ งใส
ตรวจสอบได้ และเปิ ดเผยต่ อสาธารณะได้
119
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบตั ิทวั่ ไป
ในการบริ หารงบประมาณ
•
•
•
•
•
การใช้ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี
การจัดเตรียมความพร้ อมในการใช้ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี
การมอบอานาจให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด
การจัดทาค่ าใช้ จ่ายต่ อหน่ วยผลผลิต หรือโครงการ
การใช้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐ (ระบบ GFMIS)
120
การบริ หารงบประมาณรายจ่าย
สาหรับส่ วนราชการ
1.
2.
3.
4.
5.
การจัดทา และปรับปรุงแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ าย
การใช้ รายจ่ ายจากงบประมาณรายจ่ าย
หลักการสาคัญของการโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณรายจ่ าย
การโอนเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณรายจ่ าย
- ตามอานาจของหัวหน้ าส่ วนราชการ
- ต้ องขอตกลงกับสานักงบประมาณ
- ต้ องได้ รับอนุมตั จิ าก คณะรัฐมนตรีก่อน
121
การบริ หารงบประมาณรายจ่าย
สาหรับส่ วนราชการ
1. การจัดทา และปรับปรุงแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
122
หมวด 1 การจัดทาแผน
ในการขอรับการจัดสรรงบประมาณครั้งแรกของปี งบประมาณ
1. แผนการปฏิบตั งิ าน
2. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
จัดทาตามผลผลิตหรือโครงการ
ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการของกระทรวงตามวงเงินที่ระบุในเอกสาร
พ.ร.บ. งบประมาณ รายจ่ายประจาปี
จัดทาหรือวางระบบข้อมูล
เพื่อรองรับระบบการรายงานผลและการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตาม
ผลผลิต และหรือ กิจกรรมหลัก พร้อมกับกาหนดค่าหรือเกณฑ์การวัดของ
ตัวชี้วัดผลสาเร็จ เพื่อใช้ในการรายงานผลและติดตามประเมินผล
123
การจัดทาแผน
ส่วนราชการ/
รัฐวิสาหกิจ
•เป้าหมายการให้
บริการกระทรวง
•ผลผลิตที่กาหนด
•วงเงินตาม พรบ.
สงป.
วิเคราะห์/
เห็นชอบ
แผนการปฏิบตั งิ านและ
แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
• ให้ใช้แผนการปฏิบตั งิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ที่ได้รบั
ความเห็นชอบจากสานักงบประมาณแล้ว เป็ นหลักในการใช้จา่ ยหรือก่อ
124
หนี้ผูกพันและเบิกจ่ายงบประมาณ
แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทาแผนการปฏิบตั ิงาน
และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
• แบบ สงป.301
แบบรายงานแผน/ผลการปฏิบัติงาน
• แบบ สงป.302
แบบรายงานแผน/ผลการใช้ จ่ายงบประมาณ
• แบบ สงป.302/1 แบบรายงานแผน/ผลการจัดซื้อจัดจ้ าง
ครุภัณฑ์ ทีด่ ิน สิ่ งก่อสร้ าง
ทีจ่ ัดสรรงบประมาณในงบลงทุน
แผน จัดทาส่ ง สานักงบประมาณเห็นชอบก่อนวันเริ่มต้ นปี งบประมาณ
ไม่ น้อยกว่ า 15 วัน ส่ งผ่ านระบบสารสนเทศเพือ่ การติดตามประเมินผล
(EvMIS) Evaluation Management Information System
125
การปรับปรุ งแผนการปฏิบตั ิงานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณ
• กรณีที่ต้องทาความตกลงกับสานักงบประมาณ
1. การปรับปรุ งแผนฯ ทาให้เป้ าหมายผลผลิต/โครงการเปลี่ยนแปลง
ไปจากที่ได้รับความเห็นชอบ
2. การปรับปรุ งแผนฯ ที่มีผลทาให้ตอ้ งโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
ด้วยให้ขอทาความตกลงกับสานักงบประมาณมาพร้อมกัน
• วิธีการปรับปรุงแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
จัดทารับส่ งการปรับปรุ งแผนฯ ด้วยระบบ GFMIS
แต่กรณี ขอ้ 2 ให้ทาหนังสื อขออนุมตั ิสานักงบประมาณด้วย
126
การบริ หารงบประมาณรายจ่าย
สาหรับส่ วนราชการ
2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ าย
127
การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
เริ่ มเมื่อ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี ประกาศบังคับใช้
• สานักงบประมาณ
จะจัดสรรงบประมาณให้กบั ส่ วนราชการ
- เต็มตามวงเงินงบประมาณรายจ่าย
- สอดคล้องกับแผนการปฏิบตั ิงานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว
- สานักเบิกส่ วนกลาง
- สานักเบิกส่ วนภูมิภาค กรณี ส่วนราชการมีที่ต้ งั ในส่ วนภูมิภาค
128
การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
• หัวหน้ าส่ วนราชการ
เร่ งดาเนินการโอนจัดสรรงบประมาณ ต่อไปยังสานักเบิกภูมิภาค
โดยไม่ชกั ช้า (15 วัน)
ยกเว้น งบบุคลากร ประเภทเงินเดือนและค่าจ้างประจา
• การโอนจัดสรรงบประมาณ ให้ จัดทาและรับส่ งข้ อมูลด้ วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐ (ระบบ GFMIS)
129
การบริ หารงบประมาณรายจ่าย
สาหรับส่ วนราชการ
3. การใช้ รายจ่ ายจากงบประมาณรายจ่ าย
130
การใช้รายจ่ายตามงบประมาณ
•
•
•
•
•
•
•
ตามรายการประกอบ พ.ร.บ.
ตามทีร่ ะบุในแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
ให้ เกิดผลสั มฤทธิ์ตามเป้าหมาย
ประสิ ทธิภาพ / คุ้มค่ า / โปร่ งใส
สอดคล้ องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ ชาติ
รับผิดชอบ
การโอนเปลีย่ นแปลง ให้ คานึงถึงประโยชน์ ต่อประชาชน
คุ้มค่ า โปร่ งใส ตรวจสอบได้ สอดคล้ องต่ อเป้าหมายการ
ให้ บริการ
131
การใช้รายจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย
•
•
•
•
•
หลักเกณฑ์ การใช้ จ่าย
งบบุคลากร ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กาหนดและให้ถวั จ่ายกันได้
งบดาเนินงาน ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กาหนดโดยถัวจ่ายได้
ยกเว้น ค่าสาธารณูปโภค โอนได้หากไม่มีหนี้คา้ งชาระ
งบลงทุน ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กาหนด
งบเงินอุดหนุน ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กาหนด
งบรายจ่ายอื่น ให้ใช้จ่ายตามประเภทรายการที่กาหนด
132
การใช้ จ่ายเงินงบประมาณทีไ่ ด้ รับจัดสรร
เงินเดือนและค่ าจ้ างประจา และค่ าจ้ าง
ชั่วคราว
- ให้ สกพ. (อต.)เร่ งรัดจัดทาบัญชีถือจ่ าย
โดยด่ วนทีส่ ุ ด
133
ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุและค่าสาธารณู ปโภค
1. การบริหารงบประมาณระดับ ตร. จะดาเนินการกันเงินงบประมาณของทุก
หน่ วยงาน จากงบดาเนินงาน จานวน ร้ อยละ 4 ไว้ ทางส่ วนกลาง ตร. ไว้ ใช้
จ่ ายสาหรับภารกิจจาเป็ นเร่ งด่ วนในภาพรวม ตร.
2. ระดับกองบัญชาการ สามารถกันเงินไว้ เพือ่ การบริหารงานได้ ไม่ เกิน ร้ อยละ 3
3. ระดับกองบังคับการ (ยกเว้ น บก.อก.) สามารถกันเงินไว้ เพือ่ การบริหารงาน
ได้ ไม่ เกิน ร้ อยละ 3
4. เนื่องจากปี 56 ตร. ได้ กาหนดนโยบาย ห้ ามมิให้ หน่ วยต่ างๆโอนเปลี่ยนแปลง
งบประมาณทีไ่ ด้ รับทุกงบรายจ่ ายไปใช้ ในรายการอืน่ แต่ ถ้าหากมีความ
จาเป็ นต้ องโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณทีไ่ ด้ รับทุกงบรายจ่ าย ให้ เสนอขอรับ
134
ความเห็นชอบจาก ตร. ก่อนดาเนินการทุกกรณี ภายใน 10 ส.ค.56
ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
1. วางแผนการใช้ จ่ายเงิน และแจ้ งให้ หน่ วยในสั งกัดทราบ
2. ถือปฏิบัตติ ามมาตรการประหยัดค่ าสาธารณูปโภค
3. กาชับเรื่องการเบิกจ่ าย
4. ห้ าม ใช้ จ่ายงบประมาณที่ได้ รับจัดสรร ผิดแผน
งบประมาณ ผลผลิต / กิจกรรม
5. ตรวจสอบยอดเงินตามการอนุมัตเิ งิน กับยอดเงินที่
ได้ รับจัดสรรจาก ตร. หรือ บช.ในระบบ GFMIS
135
ค่าครุภณั ฑ์ ที่ดิน และสิง่ ก่อสร้าง
1.งบลงทุน ให้ หน่ วยรีบดาเนินการจัดซื้อจัดจ้ าง ตามระเบียบฯไว้ก่อนได้ แต่ห้ามก่อหนี้
ผูกพันจนกว่ าจะได้ รับการจัดสรรงบประมาณ
2. การใช้ จ่ายหรือก่อหนีผ้ ูกพันงบประมาณ ต้องเป็ นไป ตามรายการในแผนการ
ปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
3.งบประมาณทีไ่ ด้ โอนจัดสรรให้ หน่ วย หากมีเงินเหลือจ่ ายหลังจากการดาเนินการเสร็จ
สิ้นภารกิจแล้ว ให้ ส่งคืน ตร.ภายใน 10 ก.ย. 2556
136
การใช้ จ่ายเงินงบประมาณทีไ่ ด้ รับจัดสรร
เงินอุดหนุนและรายจ่ ายอืน่
- การใช้ จ่ายหรือก่ อหนีผ้ ูกพันงบประมาณ
ต้ องเป็ นไปตามรายการในแผนการ
ปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
137
การบริ หารงบประมาณรายจ่าย
สาหรับส่ วนราชการ
4. หลักการสาคัญของการโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณรายจ่ าย
138
หลักการสาคัญของการโอนเปลีย่ นแปลง
งบประมาณรายจ่ าย





เพือ่ แก้ไขปัญหาในการดาเนินการ
เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพและคุณภาพการให้ บริการ
เพือ่ พัฒนาบุคลากรและพัฒนาเทคโนโลยี
เพือ่ สนับสนุนการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์ พฒ
ั นาจังหวัด
โดยคานึงถึง : ความประหยัด คุ้มค่ า และต้ องแสดง
เหตุผล ความจาเป็ น ความเหมาะสมได้ ต้องไม่ ทาให้ เป้าหมาย
ผลผลิต/โครงการตามแผนฯเปลีย่ นแปลงลดลงในสาระสาคัญ
 ต้ องไม่ ทาให้ ค่าสาธารณูปโภคค้างชาระเมื่อสิ้นปี งบประมาณ
139
การโอนเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณ
ค่ าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ
1. หัวหน้ าหน่ วยงาน ที่ได้ รับจัดสรรงบประมาณ
มีอานาจในการโอนรายการงบประมาณใน
ค่ าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ ในผลผลิตและ
กิจกรรมเดียวกัน
140
2. หัวหน้ าหน่ วยงาน ที่ได้ รับจัดสรรงบประมาณ
มีอานาจในการโอนงบประมาณ ค่ าตอบแทน
ใช้ สอย และวัสดุ ไปตั้งจ่ ายใน ค่ าสาธารณูปโภค
ในผลผลิตและกิจกรรมเดียวกัน
3. การโอนงบประมาณ จะต้ องไม่ เกิดผลกระทบกับ
การบริหารงบประมาณ
141
4. ห้ าม นางบประมาณค่ าสาธารณูปโภค
โอน ไปใช้ จ่ายในรายการอืน่ ๆ เนื่องจาก
งบประมาณที่ ตร. ได้ รับไม่ เพียงพอและหาก
หน่ วยมีงบประมาณค่ าสาธารณูปโภคเหลือ
ให้ ส่งคืน ตร. โดย ตร.จะสนับสนุนงบ
ดาเนินงานให้ หน่ วยตามความจาเป็ น
142
การบริ หารงบประมาณรายจ่าย
สาหรับส่ วนราชการ
5. การโอนเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณรายจ่ าย
- ตามอานาจของหัวหน้ าส่ วนราชการ
- ต้ องขอตกลงกับสานักงบประมาณ
- ต้ องได้ รับอนุมัตจิ าก คณะรัฐมนตรีก่อน
143
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
• ตามอานาจของหัวหน้ าส่ วนราชการ
1. โอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย/ผลผลิต/โครงการภายใต้แผนงาน
เดียวกัน ยกเว้ น
- งบบุคลากร
- รายการก่อหนี้ผกู พันข้ามปี งบประมาณ
- การกาหนดอัตราบุคลากรตั้งใหม่ , รายการที่ดิน
- รายการจัดหาครุ ภณ
ั ฑ์ยานพาหนะ
- ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการต่างประเทศ (นอกแผนการใช้จ่าย)
- ครุ ภณ
ั ฑ์ ราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาท
- สิ่ งก่อสร้าง ราคาตั้งแต่ 10 ล้านบาท
144
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
•
ตามอานาจของหัวหน้ าส่ วนราชการ
2. โอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณเหลือจ่าย ภายใต้แผนงานเดียวกัน
ต้องเป็ นงบเหลือจ่ายจากการดาเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายผลผลิตหรื อ
โครงการ หรื อจัดซื้ อจัดจ้างแล้ว ยกเว้ น
- รายการก่อหนี้ผกู พันข้ามปี งบประมาณ
- การกาหนดอัตราบุคลากรตั้งใหม่ , รายการที่ดิน
- ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการต่างประเทศชัว่ คราว (นอกแผนการใช้จ่าย)
- ครุ ภณั ฑ์ ราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาท
- สิ่ งก่อสร้าง ราคาตั้งแต่ 10 ล้านบาท
- การโอนหรื อเปลี่ยนแปลงเพื่อเป็ นค่าจัดหาครุ ภณ
ั ฑ์ยานพาหนะต้องเป็ นการ
จัดหาเฉพาะเพื่อทดแทนครุ ภณ
ั ฑ์ยานพาหนะเดิม
145
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
• ตามอานาจของหัวหน้ าส่ วนราชการ
3. โอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ เพิม่ วงเงินครุ ภณ
ั ฑ์ สิ่ งก่อสร้าง
ภายใต้แผนงานเดียวกัน
- กรณี จดั หาแล้วไม่ได้ตามวงเงินจัดสรร
- เกินวงเงินแต่ ไม่เกิน 10% ของวงเงินที่ได้รับจัดสรร
- โอนจากงบรายจ่ายใด ๆ หรื อเงินนอกงบมาสมทบได้
ยกเว้ น รายการก่อหนี้ผกู พันข้ามปี งบประมาณ
146
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
• ต้ องขอทาความตกลงกับสานักงบประมาณ
- นอกเหนื อจากที่ระเบียบฯ2548 กาหนดให้เป็ นอานาจหัวหน้า
ส่ วนราชการ ต้องขอทาความตกลงกับสานักงบประมาณ
หมายเหตุ เดิมการเปลี่ยนแปลงสถานที่ก่อสร้างที่ระบุไว้ใน
แผนการปฏิบตั ิงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณเป็ นอานาจ
หัวหน้าส่ วนราชการแต่ปัจจุบนั ถือว่าเป็ นสาระสาคัญต้องขอทา
ความตกลงกับสานักงบประมาณ
147
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย
• ต้ องได้ รับอนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรีก่อน
- พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 (มาตรา 19)
 โอนงบประมาณไปเพิ่มรายจ่ายเงินราชการลับ หรือ
เป็ นงานหรือโครงการใหม่
 โอนข้ามแผนงาน หรือประเด็นยุทธศาสตร์หลัก
148
การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง
• การจัดสรรงบประมาณรายจ่ ายงบกลาง
- รายการทีต่ ้ องจ่ ายตามสิ ทธิของบุคลากรภาครัฐ
- รายการอืน่ ๆ ทีส่ ่ วนราชการใดมีความจาเป็ นต้ องใช้ จ่าย
ให้ ขอทาความตกลงกับสานักงบประมาณ
• การใช้ รายจ่ ายจากงบกลาง
งบประมาณรายจ่ายงบกลางที่เหลือจ่าย ให้นาส่งคืนคลัง
เว้นแต่ ในกรณีที่มีความจาเป็ นจะต้องนาไปใช้จา่ ยในรายการอื่น ๆ
149
ให้ทาความตกลงกับสานักงบประมาณก่อน
การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง
งบกลาง รายการทีต่ ้ องจ่ ายตามสิ ทธิของบุคลากรภาครัฐ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ
เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานของรัฐ
เงินเลื่อนขั้น เลื่อนอันดับเงินเดือนและเงินปรับวุฒิขา้ ราชการ
เงินสารอง เงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ
เงินสมทบของลูกจ้างประจา
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง/พนง.ของรัฐ
ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ
150
การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง
• งบกลาง รายการทีต่ ้ องจ่ ายตามสิ ทธิของบุคลากรภาครัฐ
- สานักงบประมาณ จะจัดสรรงบกลางให้กรมบัญชีกลาง
โดยให้ส่วนราชการเบิกจ่ายกับกรมบัญชีกลางตามจ่ายจริ ง
- ยกเว้ นข้ อ 3 เงินเลื่อนขั้น เลื่อนอันดับเงินเดือนและเงิน
ปรับวุฒิขา้ ราชการ ให้กรมบัญชีกลางโอนไปตั้งจ่ายใน
งบบุคลากรของส่ วนราชการ โดยโอนให้ตรงตาม
แผนงบประมาณ ผลผลิต
151
การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง
• งบกลาง รายการอืน่ ๆ
- ให้ส่วนราชการ ขอทาความตกลงกับสานักงบประมาณ
โดย แสดงรายละเอียดตามระเบียบฯ
- หากได้รับการอนุมตั ิ สานักงบประมาณจะจัดสรรเงิน
งบประมาณให้กบั ส่ วนราชการโดยตรง
152
การบริหารงบประมาณรายจ่ายงบกลาง
การใช้รายจ่ายงบกลาง
• ให้นาข้อกาหนดในการบริ หารงบประมาณรายจ่ายสาหรับส่ วนราชการ
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม ในเรื่ อง
- การจัดสรรงบกลาง
- การใช้รายจ่ายงบกลาง
- การโอนเปลี่ยนแปลงงบกลาง
• เงินงบกลางเหลือจ่าย ต้องส่ งคืนคลัง หากจาเป็ นจะใช้จ่ายต้องทาความตก
ลงกับสานักงบประมาณใหม่
153
งบประมาณเหลือจ่ ายประจาปี
ค่าจ้างชัว่ คราว,ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ,
ค่าสาธารณู ปโภค , เงินอุดหนุ น และรายจ่ายอืน่
- ส่ งคืนงบประมาณเหลือจ่ ายถึง ตร.
(ผ่ าน งป.) ภายใน 10 ก.ย. 56
154
งบประมาณเหลือจ่ ายประจาปี
ค่าครุภณั ฑ์ ที่ดิน และสิง่ ก่อสร้าง
- ส่ งคืนงบประมาณเหลือจ่ ายถึง ตร.
(ผ่ าน งป.)
- ห้ ามนางบประมาณทีส่ ่ งคืนไปใช้ จ่ายอย่ าง
เด็ดขาด
155
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร.
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2543
156
พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543
สาระสาคัญ...
หมว้ 5 การควบคุมงบประมาณ
มาตรา 23 หไ ามมิใหไ จ่ายเงิน หรือก่ อหนีผ้ ูกพัน
จนกว่ าจะด้ไ รับอนุมัตเิ งินประจางว้
หากจาเป็ นตไ องขออนุมัติ ครม.
157
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหารงบประมาณ ของ ตร.
ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ
พ.ศ.2534
158
การก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ
ปฏิบตั ติ ามระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ พ.ศ. 2534
และระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ(ฉบับที2่ )พ.ศ.2549
•
•
•
•
สานักงบประมาณพิจารณาความเหมาะสมของวงเงิน
ต้องได้รบั อนุมตั จิ าก ครม. (รายการ จานวนเงินระยะเวลา)
เปลี่ยนแปลงรายการ หรือเพิ่มวงเงิน ขออนุมตั ิ ครม.
เปลี่ยนแปลงรายละเอียดของรายการ ไม่เพิ่มวงเงินขออนุมตั ิ
สานักงบประมาณ
• การขยายเวลา ไม่เพิ่มวงเงิน ขออนุมตั ิ รมว.เจ้าสังกัด
159
การก่อหนี้ผูกพันข้ามปี งบประมาณ
2551
2552
2553
30 ล้าน
80 ล้าน
40 ล้าน
รวม 150 ล้านบาท
160
การรายงานผล
ส่วนราชการ ต้องจัดให้มีระบบการรายงานผลการปฏิบตั ิงานและผล
การใช้จา่ ยงบประมาณ และให้จดั ทารายงาน เพื่อส่งสานักงบประมาณ ดังนี้
1. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้ จ่ายงบประมาณ
2. รายงานประจาปี ที่แสดงถึงความสาเร็จในการปฏิบัติงาน
ของส่ วนราชการ
161
การรายงานผล
• ส่วนราชการ
• สานัก
งบประมาณ
จัดทารายงานส่ง สงป.
รายงานผลต่อ
นายกรัฐมนตรี
รายงานผลต่อ
คณะรัฐมนตรี
162
มาตรการและแนวทางการเร่ งรั ดติดตามการใช้ จ่ายเงินประจาปี งบประมาณพ.ศ.2556
ตามมติครม.เมื่อ 20 พ.ย. 2555
1.เร่ งรั ดก่ อหนีผ้ ูกพันรายจ่ ายลงทุน ให้ แล้ วเสร็จภายใน มี.ค. 2556 หากไม่ ทันต้ อง
ชีแ้ จงเหตุผลความจาเป็ นในการขอผ่ อนผันต่ อคณะกรรมการติดตามเร่ งรั ดการใช้ จ่าย
งบประมาณภาครั ฐ
2. ปี งบประมาณ 2556 ก.ค.ไม่ มีนโยบายให้ กันเงินไว้ เบิกเหลื่อมปี กรณีไม่ มีหนีผ้ ูกพัน
สาหรั บเงินกัน ปี 2555 และเงินที่ได้ รับอนุมัตใิ ห้ ขยายเวลาเบิกจ่ ายเงิน ก่ อนปี 2555
ให้ เร่ งรั ดการดาเนินงานและเบิกจ่ ายให้ แล้ วเสร็จภายในปี 2556
3. ให้ มีการปรั บปรุ งแผนการใช้ จ่ายเงินให้ สอดคล้ องกับข้ อเท็จจริงในระบบ GFMIS
ตัง้ แต่ 15พ.ย.55- 30 มิ.ย. 56
4. ต้ องบันทึกข้ อมูลการจัดซือ้ จัดจ้ าง ในระบบการจัดซือ้ จัดจ้ างภาครั ฐด้ วยระบบ
อิเล็กทรอนิคส์ (e-GP) ระยะที่2 เพื่อให้ สามารถเชื่อมโยงข้ อมูลไปยังระบบ GFMIS
web online
5. การโอนเปลี่ยนแปลงในอานาจหัวหน้าส่วนราชการให้โอน
เปลี่ยนแปลงให้แล้วเสร็จภายในเดือนเม.ย. 2556
6.รายการที่ตอ้ งตกลงกับสานักงบประมาณ ให้ส่งเรื่องให้สานัก
งบประมาณภายในเดือน ก.ค. 2556
7.ให้แต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานในการเร่งรัดการใช้
จ่ายงบประมาณ ปี 2556 พร้อมทั้งรายงานปั ญหาอุปสรรค
จากการดาเนิ นงานที่ไม่เป็ นไปตามแผน หรือการปรับแผน
ต่อคณะกรรมการหรือคณะทางานในการเร่งรัดการใช้จา่ ย
งบประมาณภาครัฐอย่างช้าก่อนสิ้ นไตรมาส
ให้ทุกหน่วยติดตามข้อมูล ข่าวสารทุกวันจากเว็บไซด์
• กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th
สานักงบประมาณ www.bb.go.th
สานักกากับระบบบริ หารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
http://gfmisreport.mygfmis.com
• สานักงานงบประมาณและการเงิน
www.budgetfinance.police.go.th
• กองงบประมาณ www.budget.police.go.th
165