ระบบงบประมาณ

Download Report

Transcript ระบบงบประมาณ

ระบบงบประมาณ
สุ วชิ เทศนา
นักวิชาการคลังชานาญการ
สานักงานคลังเขต 2 จังหวัดฉะเชิงเทรา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
การงบประมาณทั่วไป
ระบบงบประมาณของประเทศไทย
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
กระบวนการงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
การวัดผลสาเร็จ เพือ่ จัดสรรงบประมาณ
เครื่องมือวิเคราะห์ ความสาเร็จ : PART
การวิเคราะห์ การเงินและงบประมาณ
ระเบียบการบริหารงบประมาณ 2548
การบริหารงบประมาณประจาปี พ.ศ.2552
1. การงบประมาณทั่วไป
1.1 ความหมายของการงบประมาณ (Bougett=Budget)
“จานวนเงินอย่ างสู งทีอ่ นุญาตให้ ใช้ จ่ายหรือก่ อหนี้
ผูกพันได้ ตามวัตถุประสงค์ และระยะเวลาทีก่ าหนด
ไว้ ใน พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ ายประจาปี ”
1.การงบประมาณทั่วไป
1.2 ความสาคัญของงบประมาณ
1. เป็ นเครื่องมือบริหารของรัฐบาลทั้งในด้ านนโยบายการคลัง
และนโยบายเศรษฐกิจ
2. เป็ นเครื่องมือของรัฐบาลในการกาหนดขอบเขตภารกิจ
3. เป็ นสื่ อกลางทีช่ ่ วยให้ เกิดความเข้ าใจและความสั มพันธ์
ระหว่ างฝ่ ายนิติบัญญัติกบั ฝ่ ายบริหาร
4. เป็ นเครื่องมือวัดประสิ ทธิภาพในการดาเนินงานของฝ่ าย
บริหาร
1.การงบประมาณทัว่ ไป
1.3 ทีม่ าของการปฏิรูประบบงบประมาณ
1.
2.
3.
4.
วิกฤตเศรษฐกิจกลางปี 2540
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540
แนวคิดธรรมาภิบาล
นโยบายของรัฐบาล
2. ระบบงบประมาณของประเทศไทย
ระบบงบประมาณแบบใหม่
การจัดทางบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Result Based Budgeting)
การจัดทางบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ตามยุทธศาสตร์
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3.1 ให้ ความสาคัญในเรื่อง
1. ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome)
2. เน้ นหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยเน้ น
เรื่องการติดตามประเมินผลเป็ นหลัก
3. การมอบอานาจการจัดทาและการบริหารงบประมาณ
ให้ แก่ หน่ วยปฏิบัติ
4. การเพิม่ ขอบเขตความครอบคลุมงบประมาณ
5. การประมาณการงบประมาณรายจ่ ายล่ วงหน้ าระยะ
ปานกลาง (MTEF)
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3.2 องค์ ประกอบที่สาคัญของ
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
1. มุ่งเน้ นผลสาเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์
1.1 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ระดับชาติ
1.2 เป้าหมายการให้ บริการระดับกระทรวง
1.3 ผลผลิต ผลลัพธ์ และตัวชี้วดั
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
2. เน้ นหลักธรรมาภิบาล
2.1 การแบ่ งหน้ าที่และความรับผิดชอบ
ในแต่ ละระดับ
2.2 มีระบบการติดตามประเมินผล และ
การรายงานผลการดาเนินงานที่โปร่ งใส
และตรวจสอบได้
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3. การมอบอานาจการบริหารจัดการงบประมาณ
เน้ นให้ กระทรวงมีอานาจในการบริหาร
จัดการงบประมาณ เพือ่ ให้ บรรลุผลสาเร็จ
มากกว่ ากฎระเบียบ
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
4. การเพิม่ ขอบเขตความครอบคลุม
ของงบประมาณ
(รวมเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ)
5. กรอบประมาณการงบประมาณรายจ่ าย
ล่ วงหน้ าระยะปานกลาง (MTEF)
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ผลผลิต Output
Product
service
สิ่ งของ / บริการ ทีเ่ ป็ นรู ปธรรม / รับรู้ ได้
จัดทาหรือดาเนินงานโดยหน่ วยงานของรัฐ
เพือ่ ให้ บุคคล / องค์ กร ภายนอกใช้ ประโยชน์
หรือการตอบคาถามได้ ว่า “ประชากรเป้าหมายได้ รับ
อะไรจากการดาเนินงานของรัฐ”
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ผลลัพธ์ OUTCOME
-ผลประโยชน์ ที่สาธารณชนและองค์ กรภายนอกได้
รับจากการใช้ ประโยชน์ จากผลผลิต/บริการ
-ที่จัดทาหรือดาเนินงานโดยหน่ วยงานของรัฐ
-เป็ นผลที่ตามมาจากการใช้ ผลผลิต/บริการ
-เป็ นการตอบคาถามว่ า”ทาไม จึงต้ อง ดาเนินการให้
ได้ ผลผลิตนั้น” (WHY?)
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ผลกระทบ IMPACT
ผลที่เกิดขึน้ เกีย่ วเนื่องจากการดาเนินงาน
ของรัฐโดยตรง
เกิดจากผลลัพธ์ อกี ทอดหนึ่ง อาจมีลกั ษณะเป็ น
ผลพลอยได้ นอกเหนือจากที่ต้งั ใจจะให้ เกิดขึน้
โดยตรงเป็ นทั้งทางบวก และลบที่รัฐต้ องตัดสิ นใจ
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ตัวชี้วดั INDICATORS
การกาหนดการตรวจวัดความสาเร็จของผลผลิต ผลลัพธ์
มีเกณฑ์ วดั และหน่ วยวัดชัดเจนทีใ่ ช้ ได้ ในเวลาที่เหมาะสม
สามารถวัดปริมาณ คุณภาพ เวลาและค่ าใช้ จ่าย เพือ่ การ
ประเมินผลได้
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
ตัวชี้วดั ผลสาเร็จ
(Key Performance Indicators)
1.ปริมาณ
2.คุณภาพ
3.เวลา
4.ค่ าใช้ จ่าย
Quantity
Quality
Timeliness
Cost (Price)
กรมการขนส่ งทางบก
ตัวอย่ าง การกาหนดตัวชี้วดั ผลผลิต
ผลผลิต การบริการด้ านทะเบียนรถและใบอนุญาตขับรถและผู้ประจารถ
KPI s
ตัวชี้วัด (Indicators)
ปริมาณ จานวนการดาเนินการด้ านทะเบียนและภาษี
จานวนการดาเนินการด้ านใบอนุญาตขับรถ
และผู้ประจารถ
คุณภาพ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
เวลา ความถูกต้ องของทะเบียนรถและใบอนุญาต
เวลาที่ใช้ ในการให้ บริการด้ านทะเบียนรถ
เวลาทีใ่ ช้ ในการให้ บริการด้ านใบอนุญาต
ค่ าใช้ จ่าย ค่ าใช้ จ่ายการให้ บริการ ฯ ต่ อราย
(BENCHMARKS)
ค่ า / เกณฑ์ การวัด
19,000,000 ครั้ง
5,000,000 ครั้ง
ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 75
ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 90
ไม่ เกิน 2 ชั่วโมง ต่ อราย
ไม่ เกิน 2 วัน ต่ อราย
ไม่ เกิน 20 บาท / 54บาท
17
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
กรมพัฒนาธุรกิจการค้ า(ตัวอย่ าง)
เพือ่ ให้ การประกอบธุรกิจของประเทศไทยเป็ น
ระบบ และสอดคล้ องกับมาตรฐานสากล
ผลผลิตที่ 1 การบริการจดทะเบียนธุรกิจ
ผลผลิตที่ 2 การบริการข้ อมูลธุรกิจ
ผลผลิตที่ 3 การกากับดูแลธุรกิจการทาบัญชีตาม
กฎหมายและมาตรฐานสากล
ผลผลิตที่ 4 การกากับการชั่งตวงวัด
ผลผลิตที่ 5 การกากับกิจการนา้ มัน
วัตถุประสงค์ /ผลลัพธ์ :
กรมพัฒนาธุรกิจการค้ า
ตัวอย่ าง การกาหนดตัวชี้วดั ผลผลิต
ผลผลิตที่ 1 การบริการจดทะเบียนธุรกิจ
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3.3 ระบบงบประมาณทีด่ าเนินการในปัจจุบัน เน้ นเรื่อง..
1. วินัยทางการคลัง (Fiscal Discipline)
2. การจัดสรรทรัพยากรทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ (Effective
Allocation)
3. การบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ (Operational
Efficiency)
4. การจัดการงบประมาณแบบอัตโนมัติ
(e - Budgeting)
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3.4 ระบบการจัดการงบประมาณแบบอัตโนมัติ
(e - Budgeting)
1. การบริหารจัดการรายจ่ ายภาครัฐ (PEM) ด้ วยระบบ
อัตโนมัติ (Automation) โดยระบบ GFMIS
2. กระบวนการงบประมาณ Electronics
3. เอกสารงบประมาณเผยแพร่ ใน Internet
4. สาธารณชนสามารถมีส่วนร่ วมในการจัดทา
งบประมาณ
โครงสร้ างงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Based Budgeting)
เป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ระดับชาติ
(Strategic Delinery Target หรือ Final Outcome)
เป้ าหมายการให้ บริการ(สาธารณะ) ระดับกระทรวง
(Service Delivery Target หรือ Intermediate Outcome)
Top Down
ผลผลิต
Output
กระบวนการ
(Process)
ปัจจัยการผลิต/
ทรัพยากร (Input)
Bottom Up
4. กระบวนการงบประมาณ
4.1 การวางแผน/การจัดทางบประมาณ
การวางแผน / การจัดทางบประมาณ
การติดตาม
ประเมินผล
การบริหาร
งบประมาณ
4. กระบวนการงบประมาณ
4.2 วงจรอนุมตั งิ บประมาณ
รัฐสภา
คณะรัฐมนตรี
สานักงบประมาณ
คณะรัฐมนตรี
ผ่ านรัฐมนตรีเจ้ าสั งกัด
ส่ วนราชการ
4. กระบวนการงบประมาณ
4.3 เงื่อนไขสาคัญในการจัดการงบประมาณ
1. มีนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์
2. ก่ อให้ เกิดการบริหารจัดการแบบปรับตัวได้
(Adaptive Management)
ยืดหยุ่น
คล่องตัว
กระจายอานาจ ทันเหตุการณ์
3. ครอบคลุมหลายมิติ
Function
Agenda
4. ธรรมาภิบาล
Area
มีประสิ ทธิภาพ ทันสมัย โปร่ งใส
ตรวจสอบได้
ความเชื่อมโยงทั้ง 3 มิติ
4. กระบวนการงบประมาณ
นโยบายสาคัญของ
รัฐบาล (Agenda)
แผนงบประมาณ
ในเชิงบูรณาการ
มิตยิ ุทธศาสตร์
กระทรวง - หน่ วยงาน
Function
มิตยิ ุทธศาสตร์
พืน้ ที่ (Area)
5. การวัดผลสาเร็จเพือ่ การจัดการงบ
ประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ น
ผลงานตามยุทธศาสตร์
โครงสร้ างการวัดผลสาเร็จเพือ่ การจัดการงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ ชาติ
ยุทธศาสตร์ กระทรวง
เป้ าหมายยุทธศาสตร์ ชาติ
เป้ าหมายการให้ บริการกระทรวง
ผลผลิตตามเป้ าหมาย
ยุทธศาสตร์ ชาติ/ผลลัพธ์ ระดับ
สู งของประเทศ
สภาพัฒน์ ฯ ประเมินผล
ผลผลิตตามเป้ าหมายให้ บริการ
กระทรวง/ผลลัพธ์ ระดับกลาง
ของประเทศ
สานักงบประมาณประเมินผล
รายงานประจาปี ของส่ วนราชการ
แผนกลยุทธ์ หน่ วยงาน
เป้ าหมายการให้ บริการหน่ วยงาน
ผลผลิตตามเป้ าหมายการให้
บริการหน่ วยงาน/
ผลลัพธ์ เบือ้ งต้ นของประเทศ
PART
ผลผลิต/โครงการเพือ่ การจัดการ
งบประมาณ
ผลผลิตจากการใช้ งบประมาณ
ตามเอกสารงบประมาณ
แบบรายงาน สงป.
ปริมาณ/คุณภาพ/เวลา/ค่าใช้ จ่าย
กิจกรรมหลักนาส่ งผลผลิต
ผลการใช้ จ่ายงบประมาณ
ผลการดาเนินงานตามกิจกรรม
แบบรายงาน สงป.
งบประมาณ
ผลการใช้ จ่ายเบประมาณ
แบบรายงาน สงป.
3.ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
โครงสร้ างความรับผิดชอบต่ อความสาเร็จ
ของการใช้ งบประมาณ
รัฐบาล
กระทรวง
กรม
เป้าหมายยุทธศาสตร์
เป้ าหมายการให้ บริการสาธารณะ
ผลผลิต/โครงการที่มีลกั ษณะ
เท่ าผลผลิต
งาน/โครงการ
กิจกรรม
ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั
นิยามการประเมินผล
(Definitions of Evaluation)
Evaluation = Measurement (การวัด)
=
=
=
=
=
Applied Research (วิจัยประยุกต์ )
Determining Congruence (ความสอดคล้ อง)
Decision Making (การตัดสิ นใจ)
Description (การอธิบายอย่ างละเอียด)
Determining of Value (ตัดสิ นคุณค่ า)
หลักการประเมินผลการดาเนินงาน
เพือ่ เป็ นสารสนเทศในการจัดการงบประมาณ
วัตถุประสงค์ ของการประเมินผลการดาเนินงาน
(Performance Evaluation)
- ผู้บริหารทราบว่ า การดาเนินงานของส่ วนราชการและ
รัฐวิสาหกิจ ประสบความสาเร็จอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และประสิ ทธิผลหรือไม่
- เพือ่ ทราบว่ าผลสาเร็จทีไ่ ด้ มาจากกระบวนการทางาน
(Delivery System) หรือไม่
- เพือ่ ทราบว่ ากระบวนการทางาน (Delivery System)
ใดไม่ ก่อ ให้ เกิดความสาเร็จ
- เพือ่ จัดทางบประมาณ
การประเมินผลของสานักงบประมาณ
อดีต
ปั จจุบนั
อนาคต
Input And
Process
Evaluation
Qutput
Outcome
Evaluation
Pre-Evaluation
On-going Evaluation
Post Evaluation
Performance
Evaluation
Budget Evaluation
คุณลักษณะของระบบประเมินผล
ที่จะนามาใช้ ประกอบด้ วย
1. ใช้ ได้ กบั ทุกส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
2. ใช้ ได้ กบั ทุกขั้นตอนในการปฏิบัตงิ านของหน่ วยงาน
3. ผู้นาไปใช้ สามารถทาความเข้ าใจและนาไปใช้ อย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ
แนวทางและวิธีการประเมินผลสมัยใหม่
- เป็ นการประเมินผลในเชิงปริมาณ โดยการให้
คะแนน (Score) ผลการดาเนินงาน
- เป็ นการประเมินผลองค์ การใน 2 ด้ าน
(1) Look Backward:
ด้ านผลการดาเนินงาน (ผลผลิต : Output)
(2) Look forward:
ด้ านกระบวนการทางาน (Delivery System)
คืออะไร
: Performance Assessment Rating Tool
เครื่องมือวิเคราะห์ ความสาเร็จ ของการดาเนินงาน
การใช้ จ่ายงบประมาณ
36
ประเด็นในการประเมินผลตามแนวทางของ PART
1.จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (Purpose and Design)
2. แผนกลยุทธในการดาเนินงาน (Strategic Planning)
3. ความเชื่อมโยงงบประมาณ(Budget and performance
Cascade)
* การบริหารจัดการ (Management)
* ผลการดาเนินงาน (Result)
บทบาทของ PART ในกระบวนการงบประมาณ
สารสนเทศในการวางแผน
PART
เครื่องมือ
ประเมินผล
สารสนเทศในการบริหาร
ประเมินผล
การจัดทา
งบประมาณ
การอนุมตั ิ
งบประมาณระดับหน่ วยงาน งบประมาณ
สารสนเทศในการอนุมัติ
การบริหาร
งบประมาณ
ประโยชน์ จากการใช้ PART
ส่วนราชการ
: ตรวจสอบตนเอง
: ปรับปรุงพัฒนาตนเอง
: มีความพร้อมในการประเมินจากภายนอก
: เป็ นหน่วยงานทีม่ ีประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล
สานักบประมาณ
รัฐบาล
: จัดสรรงบประมาณให้ ตามแผน
: ทางเลือกและความคุ้มค่ าในการใช้ งบประมาณ
: เพือ่ ปรับปรุงการวางแผน การบริหาร และ
การติดตาม ประเมินผลการใช้ จ่ายงบประมาณ
: การใช้จ่ายงบประมาณก่อให้เกิดผลงานตาม
นโยบายรัฐบาล
39
คุณลักษณะของ PART
เป็ นเครือ่ งมือประเมินผลองค์กร
เป็ นการประเมินผลแบบรอบด้าน
มีตวั ชี้ วัดความสาเร็จในแต่ละด้าน
เป็ นการประเมินผลโดยให้คะแนน
เป็ นการประเมินตนเอง
40
ประเด็นในการประเมินผลตามแนวทางของ
PART
ก. จุดมุ่งหมายและรู ปแบบ
- ชัดเจน
- ชี้แจง / อธิบายได้
(6 ข้ อ 5 คะแนน)
ข. การวางแผนกลยุทธ์
- เป้ าหมายระยะยาวทีช่ ัดเจน
- รายละเอียดแผนกลยุทธ์
(7 ข้ อ 20 คะแนน)
รวม 30 ข้ อ
100 คะแนน
ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ
- เป้ าหมายประจาปี ทีช่ ัดเจน
- รายละเอียดแผนกลยุทธ์
- ต้ นทุนแท้ จริง
(5 ข้ อ 20 คะแนน)
จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์
- เปรี ยบเทียบแผนกับผล
- การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ
-การใช้เงินอย่างคุม้ ค่า
(5 ข้อ 25 คะแนน)
ง. การบริหารจัดการ
- การบริ หารหน่วยงาน
- การบริ หารการเงิน 7 ข้ อ
- การเพิ่มขีดความสามารถ
-การเก็บรวบรวมข้อมูล
(7 ข้ อ 30 คะแนน)
41
ชุ ด ก) จุดมุ่งหมายและรูปแบบ
ชุ ดคาถามนี้ ต้ องการให้ ผู้ถูกประเมิน
ชี้แจงความเข้ าใจเป้าหมายหลัก
(จุดมุ่งหมาย) ของประเทศและ
เป้าหมายของหน่ วยงานทีก่ ากับดูแล
พร้ อมทั้งอธิบายความรับผิดชอบ
ของส่ วนราชการต่ อเป้าหมายนั้นๆ อย่ าง
ชัดเจน
42
ชุด ข) การวางแผนกลยุทธ์
ชุดคาถามนีต้ ้ องการให้ ผู้ถูกประเมิน
อธิบายการวางแผนกลยุทธ์ เป้ าหมายและ
ตัวชี้วดั ของหน่ วยงาน
43
ชุด ค) การเชื่อมโยงงบประมาณ
ชุดคาถามนีต้ ้ องการให้ ผ้ ูถูกประเมินแสดงความ
เชื่อมโยงระหว่ างงบประมาณรายจ่ ายกับกิจกรรม
และเป้าหมายทุกระดับของส่ วนราชการ
44
ง. การบริหารจัดการ
- การบริหารหน่ วยงาน
- การบริหารการเงิน
- การเพิม่ ขีดความสามารถ
- การเก็บรวบรวมข้ อมูล
45
จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์
- เปรียบเทียบแผนกับผล
- การเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
- การใช้ เงินอย่ างคุ้มค่ า
บทสรุปของ PART
การประเมินผลโดยระบบ PART ต้ องอาศัย
ข้ อมูลและหลักฐานมาก
เพือ่ ยืนยัน (Evidence Proof) ความเป็ นจริง
ของข้ อมูลในทุกระดับ
การเตรียมตัวของส่ วนราชการ เพือ่ การประเมินผลสมัยใหม่
ประกอบด้ วยหลักสาคัญ 7 ประการ ( 7 Hurdles)
เปลีย่ นแนวคิดการบริหารขององค์ กรเข้ าสู่ ระบบ
(Managing Change) Total Quality Management (TQM)
ยึดความสาเร็จขององค์ กรโดยรวม
สร้ างความเข้ าใจในการบริหารจัดการแบบมุ่งเน้ นผลงาน
(Performance Management) ให้ กบั บุคลากรทุกระดับชั้น
Value Chain
Accountability
มีแนวการดาเนินงาน (Guideline) ทีช่ ัดเจน และ
ทุกองค์ ประกอบของหน่ วยงานจะต้ องยึด คือปฏิบัตอิ ย่ างเคร่ งครัด
คู่มอื ในการดาเนินงานอย่ างชัดเจน
มีสภาพบังคับ
มีการเก็บข้ อมูลสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
(Management Information) อย่ างเป็ นระบบ
และสามารถเรียกดูได้ อย่ างรวดเร็ว .การวางแผนกลยุทธ์
การดาเนินการตามแผน
การติดตามและประเมินผล
สร้ างระบบการติดตามและประเมินผลภายในทีส่ มบูรณ์
และมีประสิ ทธิภาพ (Performance Evaluation System)
บุคลากร
เทคนิคทางวิชาการทีถ่ ูกต้ องและเหมาะสม
กฎหมาย ระเบียบ
กาหนดให้ มีการติดตามและประเมินผลเป็ นระยะ
และต่ อเนื่อง (Evaluation Time)
รายไตรมาส
สิ้นปี งบประมาณ
การประเมินผลและรายงาน
(Evaluation Performance and Transparent Reporting)
ความคุ้มค่ า
Value for Money
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ประสิ ทธิผล(Effectiveness)
ความเหมาะสม(Appropriateness)
ผลผลิต(Outputs)
ประสิ ทธิภาพ(Effectiveness)
กระบวนการ(Process)
ประหยัด(Economy)
QQTC : Quantity
: Qaulity
: Time
: Costs
ประหยัด (Economy)
ปัจจัยนาเข้ า(Input)
ผลลัพธ์ (Outcomes)
ประสิ ทธิผล(Efficiency)
ผลจากการติดตามและประเมินผลต้ องใช้ เพือ่ การตัดสิ นใจ
ของผู้บริหารอย่ างเคร่ งครัด (Decision Making)
** Fine Tuning
เพือ่ ปรับปรุง / พัฒนา
** Re-deployment
เร่ งรัด ตัดตอน ชะลอ ยกเลิกกิจกรรม / โครงการ
6. การวิเคราะห์ งบประมาณ
การวิเคราะห์ งบประมาณของหน่ วยงานภาครัฐ
 กาหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปี ให้ เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ ชาติ
 จัดทาเป้าหมายการให้ บริการของกระทรวงให้ ชัดเจนยิ่งขึน้
 เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณประจาปี
 ทบทวนผลผลิตของหน่ วยงานให้ ถูกต้ อง ชัดเจน มีความคุ้มค่ า
 มีตัวชี้วดั ครอบคลุมหลายมิต-ิ เชิงปริมาณ คุณภาพ ค่ าใช้ จ่ายและกรอบเวลา
 มีการคานวณค่ าใช้ จ่ายต่ อผลผลิต และใช้ ประโยชน์ ในการ
จัดทางบประมาณให้ มากขึน้
 จัดทากรอบงบประมาณรายจ่ ายล่ วงหน้ า 3 ปี ทั้งในระดับจากบนสู่ ล่าง
และจากล่ างสู่ บน เพือ่ ความมัน่ คงทางการคลัง โดยคานึงถึงข้ อผูกพัน
ของค่ าใช้ จ่ายในกรอบยุทธศาสตร์ ตามนโยบายของรัฐบาลและมุ่งเน้ น
การจัดทางบประมาณที่มกี ารเชื่อมโยงอย่ างบูรณาการ
การวิเคราะห์ งบประมาณภาครัฐในปัจจุบัน
การวิเคราะห์ ผลงานในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และ
การประเมิน
ผลกระทบ
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
การวิเคราะห์
เพื่อขอตั้ง งปม.
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการของสานักงบประมาณ
การวิเคราะห์ ผลงานในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ
ความเชื่อมโยงระหว่ างการจัดสรรงบประมาณ/ทรัพยากรกับผลผลิต ผลลัพธ์
ผลกระทบและการบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และภารกิจของหน่ วยงาน
การจัดสรร
งบประมาณ
/ทรัพยากร
ผลผลิต
ของแผนงาน
งานและโครงการ
ผลลัพธ์
การบรรลุเป้าหมาย
วัตถุประสงค์ และ
ภารกิจทีก่ าหนดไว้
ผลกระทบ
ทางตรง
ทางอ้ อม
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
1. การวิเคราะห์ เพือ่ กาหนดแผนงาน งานและโครงการ
• การศึกษาสภาพแวดล้ อมเพือ่ ค้ นหาปัญหา
• การกาหนดสภาพแห่ งการหมดปัญหา
• การกาหนดแนวทางแก้ ปัญหา
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
2. การวิเคราะห์ เพือ่ เตรียมแผนงาน งานและโครงการ
•
•
•
•
•
•
การวิเคราะห์ ทางด้ านอุปสงค์
การวิเคราะห์ ทางด้ านเทคนิค
การวิเคราะห์ ทางด้ านการเมือง เศรษฐกิจ
การวิเคราะห์ ทางด้ านการเงิน
การวิเคราะห์ ทางด้ านบริหาร
การวิเคราะห์ ทางด้ านสิ่ งแวดล้ อม
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
3. การวิเคราะห์ เพือ่ อนุมัตแิ ผนงาน งานและโครงการ
• วิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมต่ าง ๆ
• พิจารณาความสอดคล้ องและความสมบูรณ์ ของแผนงาน...
• พิจารณาความเหมาะสม ประโยชน์ ของแผนงาน...
• พิจารณาความเป็ นไปได้ ของแผนงาน.. (6 w + H)
(Who-What-When-Where-Why-To Whom + How )
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
ของสานักงบประมาณ
1. การวิเคราะห์ เบือ้ งต้ น
•
•
•
•
•
•
•
ต้ องได้ รับงบประมาณ
ควรจะได้ รับงบประมาณ
อาจจัดสรรงบประมาณ
ไม่ ควรจัดสรรงบประมาณ
ต้ องไม่ จดั สรรงบประมาณ
สถานภาพของแผน งานและโครงการ
การตั้ง งปม.ให้ อยู่ในขอบเขตอานาจ ของส่ วนราชการ
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
ของสานักงบประมาณ
2. การวิเคราะห์ เพือ่ กาหนดวงเงิน
• กรณีที่เป็ นงานปกติ หรืองานประจาที่มีการกระทาอย่ างต่ อเนื่อง
 ปริมาณงานในขอบข่ ายหน้ าที่
 คานวณหาปริมาณการใช้ จ่าย
• กรณีที่เป็ นงาน / โครงการพัฒนา
 งาน / โครงการเดิม
 งาน / โครงการใหม่
การวิเคราะห์ แผนงาน งานและโครงการ
ของสานักงบประมาณ
3. นาข้ อมูล ข้ อ 1. / ข้ อ 2. วิเคราะห์ เพือ่ กาหนดเป็ นวงเงิน
ของ งาน / โครงการ
• ความเป็ นไปได้ ของแผนปฏิบัติของ งาน / โครงการ
• ความพร้ อมของหน่ วยงานทีร่ ีบผิดชอบ
• ความเป็ นไปได้ ในด้ านการเงิน เป็ นตัวกาหนด
ความเหมาะสมของวงเงินค่ าใช้ จ่าย ของ งาน / โครงการ
7. การบริหารงบประมาณ
หลักการบริหารงบประมาณภาครัฐ
 การบริหารรายรับ
- การจัดเก็บรายได้ ของรัฐบาล:ภาษี, เงินกู้
 การบริหารรายจ่ าย
- การใช้ จ่ายตามแผนงานที่กาหนด
- เงินประจางวด
สาระสาคัญของระเบียบว่ าด้ วยการบริหาร
งบประมาณ พ.ศ. 2548
1. การบริหารงบประมาณรายจ่ ายของส่ วนราชการ
และรัฐวิสาหกิจ ตาม พ.ร.บ. งบประมาณประจาปี ..
2. การเตรียมกิจกรรม โครงการ หรือรายการ ตามแผนงาน(ข้อ 6)
3. การจัดทาแผนการปฏิบัตงิ าน แผนการใช้ จ่าย งปม.ฯลฯ
ให้ จัดทาและรับส่ งข้ อมูลด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ข้อ 9)
4. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ าย/การใช้ รายจ่ าย(ข้อ 29-32)
5. การโอนเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณรายจ่ าย(ข้อ 4,23-28)
6. การบริหาร งบกลาง (ข้ อ 29-32)
7. การรายงานผล (ข้ อ 35-36)
1. การบริหารงบประมาณรายจ่ ายของส่ วนราชการและ
รัฐวิสาหกิจตาม พ.ร.บ.งบประมาณประจาปี พ.ศ.2552
1. สอดคล้ องกับระบบและวิธีการงบประมาณทีม่ ่ ุงเน้ น
ผลงานตามยุทธศาสตร์
2. มอบอานาจและความรับผิดชอบให้ หน่ วยปฏิบัติ
3. การบริหารงบประมาณเชิงบูรณาการ
4. การจัดทาค่ าใช้ จ่ายต่ อหน่ วย แผนปฏิบัติงาน แผนการ
ใช้ จ่ายงบประมาณ และ การรายงานผล
5. สอดรับกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐ
6. มีประสิ ทธิภาพ คุ้มค่ า โปร่ งใส ตรวจสอบได้
และเปิ ดเผยต่ อสาธารณะ
1.
การบริหารงบประมาณรายจ่ ายของส่ วน
ราชการและรัฐวิสาหกิจตาม พ.ร.บ.
งบประมาณประจาปี ...
 โดยใช้ เครื่องมือในการบริหาร คือ
- แผนกลยุทธ์ - แผนการปฏิบัติงาน - แผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
- การรายงาน ติดตาม ประเมินผล
 หากจาเป็ นต้ องโอนหรือเปลีย่ นแปลงรายการ
 ให้ พจิ ารณาดาเนินการโดยคานึงถึงประโยชน์ ต่อประชาชน
ความคุ้มค่ า ความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ และสอดคล้ องกับ
เป้าหมายการให้ บริการของกระทรวงและเป้าหมายเชิง
ยุทธศาสตร์ ระดับชาติ
 ให้ หัวหน้ าส่ วนราชการและรัฐวิสาหกิจรับผิดชอบต่ อการใช้
จ่ ายงบประมาณที่ได้ รับมอบอานาจอย่ างเคร่ งครัด
2. การเตรียมกิจกรรม โครงการ หรือรายการ ตามแผนงาน
หัวหน้ าส่ วนราชการเตรียมความพร้ อมของกิจกรรมต่ าง ๆ
ตามแผนงาน เพือ่ การจัดทาผลผลิต โครงการหรือรายการได้
ทันทีทไี่ ด้ รับจัดสรรงบประมาณ
ส่ วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ คานวณค่ าใช้ จ่ายตามงบรายจ่ าย
แต่ ละผลผลิตหรือโครงการ เพือ่ ใช้ จัดทาค่ าใช้ จ่ายต่ อหน่ วย
ผลผลิตหรือโครงการ
การจัดทาแผน
ส่ วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ
สานักงบประมาณ
วิเคราะห์ /
เห็นชอบ
• ผลผลิตโครงการทีก่ าหนด
• เป้าหมายการให้ บริการ
กระทรวง
• วงเงินตาม พรบ.
แผนการปฏิบัตงิ านและ
แผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
3. การจัดทาแผนปฏิบัตงิ าน แผนการใช้ จ่าย งปม. (ข้ อ 11 -13)
 ให้ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการ
ใช้ จ่ายงบประมาณให้ สอดคล้ องกับเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ส่ ง
สานักงบประมาณก่ อนวันเริ่มต้ นปี งบประมาณ 15 วัน (ข้ อ 11)
 การปรับปรุ งแผนการปฏิบัตงิ าน และแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ
ที่มีผลให้ เป้าหมายผลผลิต หรือโครงการเปลีย่ นแปลง ให้ สานัก
งบประมาณ เห็นชอบก่ อน
กรณีมีการโอนเปลีย่ นแปลงรายการตามข้ อ 27 ด้ วย ให้ ขอ
ทาความตกลงกับ สงป. ไปพร้ อมกัน (ข้ อ 11 วรรคสาม)
4.การจัดสรรงบประมาณรายจ่ าย (ข้ อ14-20)
• สงป.จัดสรรงบประมาณให้ สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้
จ่ ายเต็มจานวนให้ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามแผนปฏิบัติงานและ
แผนการใช้ จ่ายงบประมาณ เต็มจานวน ตาม พรบ. งบประมาณประจาปี
พ.ศ.255...(ข้ อ 14)
• ส่ วนราชการ ใช้ จ่าย ก่อหนีผ้ ูกพัน ตามแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช้ จ่าย
ที่ สงป.เห็นชอบแล้ว (ข้ อ 15)
• รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ การออกแบบรูป รายการก่อสร้ างโดยละเอียด
จานวนเนือ้ ที่ของที่ดิน สถานที่ต้งั ราคา การดาเนินการจัดหา มอบให้ หัวหน้ า
ส่ วนราชการฯ ควบคุมดูแลให้ เป็ นไปตามความเหมาะสม คุ้มค่ าและประหยัด
และให้ สอดคล้อง กับกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ มติ ครม. ที่เกีย่ วข้ องและ
ให้ เป็ นไปตาม มาตรฐานของทางราชการ (ข้ อ 17)
4.การจัดสรรงบประมาณรายจ่ าย
o การเปลีย่ นแปลงรายละเอียดรายการ ในการจัดหาครุ ภณ
ั ฑ์
ทีด่ นิ สิ่ งก่ อสร้ าง ในงบลงทุน อุดหนุน หรือรายจ่ ายอืน่ โดย
ไม่ ผูกพันข้ ามปี ไม่ เพิม่ วงเงิน ให้ ทาได้ โดยไม่ ต้องตกลงกับ
สงป. (ข้ อ 18)
o ส่ วนราชการเร่ งโอนจัดสรรงบประมาณ ส่ วนของจังหวัด
ยกเว้ น งบบุคลากร ประเภทเงินเดือน ค่ าจ้ าง โดยให้ จดั ทา
รับ-ส่ งข้ อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (ข้ อ 20)
5. การใช้ รายจ่ ายจากงบประมาณรายจ่ าย(ข้ อ 21-22)
แต่ ละงบรายจ่ ายของแต่ ละงาน โครงการ ภายใต้ แผนงานเดียวกัน
o งบบุคลากร :
ถัวจ่ ายกันได้ ยกเว้นเงินเดือนและค่าจ้ าง
ประจาอัตราตั้งใหม่ ให้ ใช้ ตามใบยืนยันยอด
oงบดาเนินงาน: ถัวจ่ ายกันได้ เว้ นค่ าสาธารณูปโภคทีม่ หี นี้
o งบลงทุน..........
ใช้ ตามรายการ/วงเงินที่ได้ รับจัดสรร
o งบเงินอุดหนุน..
/รายการโอนเปลีย่ นแปลง ตามหลัก
o งบรายจ่ ายอืน่ ....
เกณฑ์ ที่กาหนดไว้ ในแผนฯ
(ข้ อ 21)
6. การโอนเปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณรายจ่ าย(ข้ อ 23-28)
 ให้ ดาเนินการเพือ่ :
- แก้ ไขปัญหาในการดาเนินการ
- เพิม่ ประสิ ทธิภาพหรือคุณภาพการให้ บริการ
- พัฒนาบุคลากรหรือเทคโนโลยี
 โดยคานึงถึง : ความประหยัด คุ้มค่ า และต้ องแสดงเหตุผล
ความจาเป็ นหรือความเหมาะสมได้
 ต้ องไม่ ทาให้ เป้าหมายผลผลิตตามแผนปฏิบัติงานและแผนการ
ใช้ จ่ายงบประมาณเปลีย่ นแปลงไปในทางที่ลดลงในสาระสาคัญ
 ต้ องไม่ มีหนีค้ ่ าสาธารณูปโภคค้ างชาระเมื่อสิ้นปี งบประมาณ
(ข้ อ 23)
อานาจโอนหรือเปลีย่ นแปลงงบประมาณของหัวหน้ าส่ วนราชการฯ:
 โอน/เปลีย่ นแปลงรายการภายใต้ แผนงานเดียวกัน แต่ ต้องไม่
ก่ อให้ เกิดรายการก่ อหนีผ้ ูกพันข้ ามปี งบประมาณ (ข้ อ 24)
 รายการเงิน งปม. ทีเ่ หลือจ่ ายจากการดาเนินการทีบ่ รรลุ
วัตถุประสงค์ แล้ ว ยกเว้ น
 รายการค่ าที่ดนิ หนีผ้ ูกพันข้ ามปี มีค่าสธารณูปโภคที่ยงั ค้ าง
ชาระ ค่ าใช้ จ่ายค้ างชาระ ให้ โอนไปชาระเป็ นอันดับแรก(ข้อ 25)
 โอนรายการครุ ภณ
ั ฑ์ สิ่ งก่ อสร้ าง ทีไ่ ม่ ผูกพันหนีข้ ้ ามปี ที่ไม่
สามารถจัดหา หรืออาจนาเงินนอก งปม. เพิม่ ได้ ไม่ เกิน 10 %
ของ งปม.และไม่ เกิน 10% ของรายการทีม่ ีเงินนอกสมทบอยู่แล้ว (ข้ อ 26)
 นอกจาก ข้ อ 23 – 26 ต้ องตกลงกับสานักงบประมารก่ อน
การโอนเปลีย่ นแปลงรายการ(ตัวอย่ าง)
หัวหน้ าส่ วนราชการสามารถเปลีย่ นแปลง
รายการค่ าก่ อสร้ าง (จ้ างเหมา+ทาเอง)
ราคาต่ อหน่ วยไม่ เกิน 10 ล้ านบาท
เปลีย่ นชื่อสถานที่ก่อสร้ าง โดยสถานที่จริงไม่ เปลี่ยน
การเปลีย่ นแปลงกรณีอนื่ ๆ ต้ องตกลงกับ สงป.
การโอนเปลีย่ นรายการงบประมาณภายใต้ แผนงานเดียวกัน
งาน/โครงการ
งาน/โครงการ
งบบุคลากร
งบบุคลากร
งบดาเนินงาน
งบดาเนินงาน
ตามข้ อ 24 วรรคสอง ต้ องไม่ เป็ นการกาหนดอัตราตั้งใหม่ ค่ าที่ดิน
คชจ. เดินทางไปราชการต่ างประเทศ
การปรับเปลีย่ นงบประมาณภายใต้ แผน
งบประมาณเดียวกัน
งาน/โครงการ
งบบุคลากร
งบดาเนินงาน
งบเงินอุดหนุน
งบรายจ่ ายอืน่
งาน/โครงการ
งบบุคลากร
งบดาเนินงาน
งบเงินอุดหนุน
งบรายจ่ ายอืน่
งบลงทุน
งบลงทุน
ข้ อ 24
ข้ อ 24
การปรับเปลีย่ นงบประมาณภายใต้ แผน
งบประมาณเดียวกัน (ต่ อ)
งาน/โครงการ
ครุ ภัณฑ์ < 1 ลบ.
• รายการ ก
• รายการ ข
สิ่ งก่อสร้ าง < 10 ล้าน
• รายการ ก
• รายการ ข
ข้ อ 24
งาน/โครงการ
ครุ ภัณฑ์ < 1 ลบ.
• รายการ ก
• รายการ ข
สิ่ งก่อสร้ าง < 10 ล้าน
• รายการ ก
• รายการ ข
สมทบครุ ภัณฑ์ /สิ่ งก่อสร้ าง ข้ อ 26 เพิม่ ได้ ไม่ เกินร้ อยละ 10
การปรับเปลีย่ นงบประมาณในแผนงานเดียวกัน(ต่ อ)
รายการครุ ภณ
ั ฑ์
รายการสิ่ งก่ อสร้ าง
ข้อ 26
ทุนงบรายจ่ าย
เงินนอกงบประมาณ
•รายการดังกล่าวต้ องไม่ ใช่ รายการก่อหนีผ้ ูกพัน
•การสมทบทุกกรณีต้องไม่ เกิน 10% ของวงเงินทีไ่ ด้ รับจัดสรร
7. การใช้ รายการจ่ ายงบกลาง (ข้ อ 33-34)
• งบอุดหนุน รายจ่ ายอืน่ อนุโลมใช้ ข้อกฎหมาย ตาม
ลักษณะการใช้ จ่าย การโอน เปลีย่ นแปลงรายการ นั้น ๆ
(ข้ อ 33)
• รายการทีไ่ ด้ ใช้ จ่ายบรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย
ผลผลิต โครงการหรือรายการและหรือรายการจัดซื้อจัด
จ้ างแล้ ว ให้ นาเงินเหลือจ่ ายส่ งคืนคลัง หากมีความ
จาเป็ นต้ องใช้ จ่าย ให้ ขอทาความตกลงกับ สงป. (ข้ อ 34)
8. การรายงานผล(ข้ อ 35 – 36)
ส่ วนราชการ/รัฐวิสาหกิจจัดให้ มีระบบรายงานผลการ
ปฏิบัตงิ านและผลการใช้ จ่ายงบประมาณ และให้ จดั ทารายงาน . รายงานผล ฯ ตามตัวชี้วดั ผลสาเร็จที่กาหนด ภายใน
15 วันนับแต่ วนั สิ้นแต่ ละไตรมาส
 รายงานประจาปี โดยจัดส่ งภายใน 60 วัน
นับแต่ วนั สิ้นปี งบประมาณ
 หน่ วยงานภายใต้ กากับของรัฐ เช่ นรัฐวิสาหกิจ องค์ กรมหาชน
ต้ องรายงานทางการเงิน ตามที่ สงป. กาหนด
8. การจัดการงบประมาณรายจ่ าย
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
(วงเงินงบประมาณ 1,900,000 ลบ)
(นโยบายขาดดุล 390,000 ลบ.)
ยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณ
1. ยุทธศาสตร์ การสร้ างความเชื่อมั่น และการกระตุน้ เศรษฐกิจของ
ประเทศ
2. ยุทธศาสตร์ การรักษาความมัน่ คงของรัฐ
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
4. ยุทธศาสตร์การบริ หารจัดการเศรษฐกิจให้ขยายตัวได้อย่างมีเสถียรภาพ
5. ยุทธศาสตร์การบริ หารจัดการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และนวัตกรรม
7. ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
8. ยุทธศาสตร์การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
แผนการบริหารราชการแผ่ นดิน 4 ปี
(พ.ศ. 2552 – 2555)
1. นโยบายขจัดความยากจน
2. นโยบายพัฒนาคนและสั งคมที่มีคุณภาพ
3. นโยบายปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจให้ สมดุลและแข่ งขันได้
4. นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
5. นโยบายต่ างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่ างประเทศ
6. นโยบายพัฒนากฎหมาย และส่ งเสริมการบริหารกิจการ
บ้ านเมืองที่ดี
7. นโยบายส่ งเสริม ประชาธิปไตยและกระบวนการประชาคม
8. นโยบายรักษาวามั่นคงของรัฐ
ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์
รัฐสภา: - สามารถอนุมตั งิ บประมาณรายจ่ ายประจาปี
ตามนโยบายต่ อรัฐสภาชัดเจนยิง่ ขึน้
- สามารถตรวจสอบรัฐบาลได้ ตามเป้ าหมาย
ยุทธศาสตร์
- สามารถตรวจสอบหน่ วยงานปฏิบัตไิ ด้ ตาม
เป้าหมายการให้ บริการ
รัฐบาล: - บริหารนโยบายได้ ตามเป้าหมายทีส่ ั ญญากับ
ประชาชนและที่แถลงต่ อรัฐสภา
- มีความโปร่ งใสและตรวจสอบได้
- ใช้ ทรัพยากรของประเทศอย่ างคุ้มค่ าและ
เกิดประโยชน์ สูงสุ ด
ส่ วนราชการ: - สามารถบริหารงานได้ อย่ างคล่ องตัว และมี
ประสิ ทธิภาพ ตลอดจนบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย
ประชาชน: - ได้ รับบริการและการแก้ ไขปัญหาที่ดขี ึน
้
- มีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี
การเขียนโครงการ
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
1. ชื่อโครงการ
 ชัดเจน กระชับ และไม่ ยาวเกินไป
 สื่ อถึงกิจกรรม หรือผลลัพธ์ หรือเป้ าหมาย/
ความต้ องการหรือปัญหาที่ต้องการแก้ ไข
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
2. หลักการและเหตุผล
 เสนอแนวคิด หลักการ ปัญหา ความต้ องการ/ความจาเป็ น
ของโครงการ
 ควรนาเสนอสาระสาคัญ (จากกว้ างไปสู่ ประเด็น) คือ
- ความเป็ นมา หรื อแนวคิด
- ปัญหา / ประเด็นความต้องการ
- แนวทางแก้ปัญหา / ความจาเป็ นของโครงการ
 คานึงถึงความเชื่อมโยงเป็ นเหตุเป็ นผล
 นาไปสู่ ชื่อโครงการ
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
3. วัตถุประสงค์
 ระบุความต้ องการ (เฉพาะ) หรือผลงาน ที่
โครงการจะดาเนินการหรือทาให้ “เกิดขึน้ ”
 ชัดเจน สื่ อความต้ องการได้
วัตถุประสงค์ ต้ อง “ SMART”
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
“ SMART”
 Sensible / Significant / Specific
(สาคัญ จาเป็ น เด่ นชัด)
 Measurable (วัดได้ – ตรวจสอบได้ )
 Accessible (ทา / ปฏิบัตแิ ล้ ว บรรลุผลได้ จริง)
 Reasonable (สมเหตุสมผล ตรงตามหลักการและเหตุผล)
 Time (เหมาะด้ านเวลา และช่ วงเวลาที่ปฏิบัติ)
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
4. วิธีดาเนินการ
 ระบุงาน (Task) หรือ กิจกรรม (Activity) ทีช่ ัดเจน
หรือกิจกรรมหลัก (Milestone) ของโครงการ
 กิจกรรมทีก่ าหนดต้ องก่ อให้ เกิดผลตามวัตถุประสงค์
ของโครงการ หรือ ทุกวัตถุประสงค์ มกี จิ กรรมรองรับ
 กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ทรัพยากร และ
บริบทของโครงการ
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
5. ระยะเวลาดาเนินการ
 เหมาะสมกับกิจกรรมโครงการ
 กาหนดเป็ นช่ วงเวลา หรือ วันเริ่มและสุ ดท้ าย
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
6. งบประมาณและทรัพยากรที่ใช้
 จาแนกเป็ นตามแหล่งที่มา (งบประมาณ / เงิน
นอกงบประมาณ) หรือตามประเภทค่ าใช้ จ่าย
(งบลงทุน / งบดาเนินการ)
 สอดคล้ องกับกิจกรรมอย่ างประหยัด
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
7. ผู้รับผิดชอบ
 มีเจ้ าภาพชัดเจน
 คานึงถึงศักยภาพ ความเหมาะสม ความตั้งใจ
 ควรเป็ นทีมงาน
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
8. เกณฑ์ ความสาเร็จ
 ระบุผลงานทีเ่ ป็ นรูปธรรมทีส่ ะท้ อน
ความสาเร็จของโครงการ
 เกณฑ์ ความสาเร็จ (Success Key) มีท้งั ที่เป็ น
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
9. ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
 ระบุผลในรู ปผลลัพธ์ (Outcome) ที่
กลุ่มเป้ าหมายหรื อส่ วนรวมได้รับประโยชน์
 ผลมีท้ งั ทางตรง ทางอ้อม และผลกระทบ
แนวการเขียนสาระสาคัญของโครงการ
10. การประเมิน/ติดตามโครงการ
 กาหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ของการ
ประเมิน
 ระบุวธิ ีการ/ช่ วงเวลา/ผู้รับผิดชอบ
สรุป ลักษณะโครงการทีด่ .ี ..ทีค่ วรสนับสนุน
ชื่อโครงการ
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
การเขียนโครงการ
มีความสอดคล้ อง/
เชื่อมโยงระหว่ างกัน
วิธีดาเนินการ
เกณฑ์ ความสาเร็จ
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ
การประเมิน
ส่ วนวิชาการ สานักงานคลังเขต 2
ฉะเชิงเทรา โทร. 038-514913 , 511192
ขอขอบคุณทุกท่ าน
สวัสดีครับ
17