บทที่ 9 การวิจัยประเมินผล

Download Report

Transcript บทที่ 9 การวิจัยประเมินผล

การวิจยั ประเมินผล
Evaluation research
การวิจยั ประเมินผล
การวิจัย
การประเมินผล
การวิจยั : การเสาะแสวงหาความรู้ที่เชื่อถือได้
โดยวิธีการที่เชื่อถือได้
องค์ ประกอบของการวิจัย
- ใช้ วธิ ีการที่เชื่อถือได้
- ความรู้ ทไี่ ด้ ต้องเชื่อถือได้
ประเภทของการวิจัย
- การวิจยั พืน้ ฐานหรือวิจยั บริสุทธิ์ : มุ่งหา
ความรู้ ทลี่ กึ ซึ้ง สร้ างและพัฒนาทฤษฎี
ใหม่
- การวิจยั ประยุกต์ : นาผลที่ได้ มาใช้ ประโยชน์
ในการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติต่อไป
ขั้นตอนการวิจยั
1 การเลือกปัญหาการวิจยั
2 การศึกษาปัญหา
* ตั้งสมมุติฐาน
* วางรู ปแบบการวิจยั
* เครื่ องมือการวิจยั
* การเก็บรวบรวมข้อมูล
* การวิเคราะห์ขอ้ มูล
3. การเลือกวิธีวจิ ยั และการสร้างเครื่ องมือ
- สารวจ
- ศึกษาความสั มพันธ์
- การทดลอง
4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและจัดกระทาข้อมูล
- แหล่ งข้ อมูล
- วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
- การวิเคราะห์ ข้อมูล
5. การเขียนรายงานการวิจยั
การประเมินผล คือ ________________
การประเมิน คือ การวัด (E = M)
การประเมิน คือ ผู้บริ การ หรื อ เครื่ องมือ (E = S)
การประเมิน คือ การให้ คุณค่ า (E = J)
การประเมิน: กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศ
เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
Criteria
E = M+J
Data
Decision
การประเมิน :
การวัด : การเก็บรวบรวมข้อมูล
การตัดสิ นใจ : การเทียบข้อมูลกับเกณฑ์
องค์ประกอบพื้นฐานของการประเมิน
ข้อมูล (Data)
เกณฑ์ (Criteria)
การตัดสิ นใจ (Decision)
หลักการประเมินที่ดี
ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง
(Validity)
น่าเชื่อถือ (Reliability)
ยุติธรรม (Fair)
เมื่อพิจารณาดูกิจกรรมการประเมินแล้ว
ได้มีผรู ้ ู ้ให้ความหมายของการประเมิน
ในลักษณะของการวิจยั ประยุกต์ ทั้งใน
เรื่ องระเบียบวิธีวทิ ยาศาสตร์ การ
ออกแบบ (Design) เครื่ องมือและการ
วิเคราะห์
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดเหมือน
1. วิธีการ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์
2. การดาเนินกิจกรรม การสื บสวนสอบสวน
ทางวิชาการอย่างเป็ น
ระบบโดยอาศัยข้อมูลที่
เชื่อถือได้
การสื บสวนสอบสวน
ทางวิชาการอย่างเป็ น
ระบบ รอบคอบโดย
อาศัยข้อมูลที่เชื่อถือได้
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดเหมือน (ต่ อ)
3. เครื่องมือ ต้องใช้เครื่ องมือที่มี
คุณภาพเหมาะสม
กับวัตถุประสงค์
ประชากร กลุ่ม
ตัวอย่างและตัวแปร
ต้องใช้เครื่ องมือที่มี
คุณภาพเหมาะสม
กับวัตถุประสงค์
ตัวบ่งชี้ เกณฑ์
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดต่ าง
1. จุดมุ่งหมาย
ค้นหาความจริ งและ
ความรู ้ใหม่
2. ประเด็นที่ศึกษา กาหนดจากผูว้ ิจยั
ตัดสิ นคุณค่าโดยอาศัย
ข้อมูลและสารสนเทศ
ที่คน้ พบ
กาหนดจากสิ่ งที่
ต้องการประเมิน
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดต่าง (ต่อ)
4. แนวทางการศึกษา
ค้นหาความสัมพันธ์
ของตัวแปรที่จะ
ศึกษาจากข้อมูลเชิง
ประจักษ์ ข้อมูลเชิง
คุณภาพและข้อมูล
เชิงประวัติศาสตร์
ค้นหาคาตอบหรื อ
ผลที่เป็ นไปได้จาก
ตัวแปร ข้อมูลเชิง
ประจักษ์
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดต่าง (ต่อ)
5. ตัวแปร
การควบคุมตัวแปร
ได้จากการทบทวน
เอกสาร งานวิจยั
วรรณคดีที่เกี่ยวข้อง
ควบคุมตัวแปรอย่าง
รัดกุม เพื่อลด
อิทธิ พลของตัวแปร
แทรกซ้อน
สอดคล้องกับ
ประเด็นที่ตอ้ งการ
ประเมิน
ไม่เข้มงวดกับการ
ควบคุมตัวแปรแทรก
ซ้อน
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดต่าง (ต่อ)
6. เกณฑ์ /มาตรฐาน ไม่กาหนด มุ่งอธิ บาย
ภาพของตัวแปรที่
ค้นพบหรื อ
เทียบเคียงกับ
สมมุติฐานที่กาหนด
กาหนดไว้ล่วงหน้า
เพื่อนาผลของตัวชี้วดั
มาเปรี ยบเทียบเพื่อ
ตัดสิ นคุณค่า
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดต่าง (ต่อ)
7. ประชากร
ประชากรทัว่ ไปที่
เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่
ต้องการศึกษา
จะเป็ นกลุ่มที่
เกี่ยวข้องหรื อได้รับ
ผลกระทบจาก
โครงการนั้นๆ
ขึ้นกับสิ่ งที่ตอ้ งการ
ประเมิน แผน
นโยบาย โครงการ
องค์กร
จุดเหมือนและจุดต่างของการวิจยั และการประเมิน
จุดต่าง (ต่อ)
8. การนาผลไปใช้
สร้างทฤษฎีหรื อ
สร้างองค์ความรู ้
เพื่อการตัดสิ นใจ
9. การสรุปอ้ างอิง
สรุ ปไปยังกลุ่ม
ประชากร
สรุ ปเฉพาะเรื่ องที่
ประเมินเท่านั้น
10. การดาเนินการต่ อไป
ข้อเสนอแนะ
สาหรับการวิจยั
ต่อไป
สารนาเสนอ
ทางเลือกเพื่อให้ผู ้
มีอานาจตัดสิ นใจ
คุณค่าของการประเมิน
1. ทาให้ได้ขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจ
2. ยกระดับคุณภาพงาน/โครงการให้มีประสิ ทธิภาพ
ยิง่ ขึ้น
3. ลดโอกาสที่จะเกิดการสูญเปล่า โอกาสเสี่ ยงในการ
ทางาน
4. เป็ นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ/วิชาชีพ
Suchman ได้สรุ ปการนาผลการประเมินไปใช้ในทางที่ไม่
เหมาะสม ไว้ 6 ประการคือ
1. การประเมินแบบตบตา
2. การประเมินแบบผักชีโรยหน้ า
3. การประเมินแบบระเบิดใต้ นา้
4. การประเมินแบบวางท่ า
5. การประเมินแบบผลัดวันประกันพรุ่ง
6. การประเมินแบบแทนที่
คอฟแมนและโธมัส
การประเมินจะยังไม่สมบูรณ์จนกว่า
จะได้มีการตัดสิ นใจและพิจารณา
คุณค่าของทั้งกระบวนการประเมิน
การประกันคุณภาพ
ภายใต้ยคุ ของการแข่งขันโดยเสรี จะต้องเน้นการประกันคุณภาพ
ของการบริ การและการประกันคุณภาพขององค์กร
ประเมินและปรับปรุ ง
คุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพ
องค์ประกอบของการประเมิน
1.สิ่ งที่จะประเมิน
2.ผูใ้ ช้ผลการประเมิน
3.ผูป้ ระเมิน
4.กระบวนการประเมิน
กระบวนการประเมินโครงการ
1.ประเมินอะไร - การวิเคราะห์โครงการ
2.ทาไมต้องประเมิน - หลักการและเหตุผลของการประเมิน
3.ประเมินเพื่ออะไร - วัตถุประสงค์ของการประเมิน
4.ประเมินอย่างไร - ออกแบบการประเมิน
5. ใช้เครื่ องมืออะไร - เลือกเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
6.เก็บข้อมูลอย่างไร - วิธี/ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
7.จัดกระทาข้อมูลอย่างไร - การวิเคราะห์ขอ้ มูล สถิติ
 8.นาผลไปใช้อย่างไร - การเขียนรายงานการประเมิน
การวิเคราะห์โครงการที่จะประเมิน
การศึกษารายละเอียดของโครงการก่อนที่จะทาการประเมิน
• * ประโยชน์
– 1.รู้รายละเอียดของโครงการ
– 2.เห็นกรอบการประเมิน
– 3.รู ้ข้ นั ตอนการดาเนินงานของโครงากร
– 4.เห็นจุดเด่น อ่อน ความสาเร็ จ ล้มเหลว
– 5.เป็ นเครื่ องช่วยในการเขียนรายงานการประเมิน
แนวทางการวิเคราะห์โครงการ
 1.การวิเคราะห์องค์ประกอบภายนอกโครงการ
-สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อโครงการ
2.การวิเคราะห์ องค์ ประกอบภายในตัวโครงการ
-ความสอดคล้องและความสมบูรณ์ของโครงการ
-ความเหมาะสมและประโยชน์ของโครงการ
-ความเป็ นไปได้ของโครงการ
การวิเคราะห์โครงการ มุ่งตอบคาถามต่อไปนี้
1ทาไมต้องทาโครงการนี้
6.ทาที่ไหน
2.โครงการนี้ทาเพื่ออะไร
7.รู ปแบบการบริ หารโครงการ
3.โครงการนี้ทาอย่างไร
8.ทรัพยากรในโครงการ
4.โครงการนี้ทาเมื่อไร
9.ผลและการกาหนดเกณฑ์
5.ใครเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
10.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
11.โครงการมีความสอดคล้อง ชัดเจน
การกาหนดวัตถุประสงค์การประเมิน
 วัตถุประสงค์การประเมิน เป็ นข้อความที่บ่งบอกถึงทิศทางหรื อ
เป้ าหมายของโครงการ
 วัตถุประสงค์ของโครงการไม่จาเป็ นต้องเหมือนวัตถุประสงค์ของ
การประเมิน
วัตถุประสงค์การประเมิน เป็ นส่ วนที่บอกว่าจะ
ประเมินอะไร หรื อต้ องการประเมินอะไร ผลการ
ดาเนินการเป็ นไปตามที่คาดหวังหรื อไม่
มักขึ้นต้นด้วยคา เพื่อประเมิน… เพื่อศึกษา….
หรื อเพื่อตรวจสอบ…..
แนวทางการเขียนวัตถุประสงค์ของการประเมิน
1. กาหนดตามความต้องการใช้ขอ้ มูล สารสนเทศของผูท้ ี่
เกี่ยวข้องกับโครงการ หรื อผลที่เกิดขึ้นกับโครงการ
2. กาหนดตามกรอบความคิดลักษณะแบบจาลองหรื อรู ปแบบ
การประเมิน
ตัวอย่าง การสร้างกรอบความคิดใน
การประเมิน
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิบตั ิจนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิบตั ิจนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิบตั ิจนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิ บตั ิ จนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิ บตั ิ จนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิ บตั ิ จนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
วัตถุประสงค์ ในการฝึ กอบรม
เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ สามารถนาความรู้ที่
ได้ รับไปปฏิ บตั ิ จนเกิดผล รวมทังเพื
้ ่อให้ เกิด
ความพึงพอใจในงานในหน้ าที่ มีความมุ่งหวัง
ที่ดีตอ่ งานและมีทศั นคติ ที่ดีตอ่ บทบาทของ
ตนเอง
สิ่ งทีต่ ้ องประเมิน
1. ความรู้ ทักษะ
2. ปฏิ บตั ิ
3. ความพึงพอใจในงาน
4. ความมุ่งหวัง
5. ทัศนคติ
การออกแบบการประเมินโครงการ
ความหมายของการออกแบบการประเมิน
การออกแบบการประเมิน หมายถึง
การวางแผนเพื่อกาหนดรู ปแบบ ขอบเขตและแนวทางการ
ประเมินเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการตอบ
ปั ญหาของการประเมินได้ถูกต้อง ผลที่ได้จากการประเมิน
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หาร
การออกแบบการประเมินโครงการ จะทาให้
นักประเมินและผูเ้ กี่ยวข้องมองเห็นแนว
ทางการประเมินอย่างชัดเจน เปรี ยบเสมือน
แบบแปลนในการก่อสร้าง
องค์ประกอบของการออกแบบการประเมิน
ออกแบบการวัดตัวแปร (Measurement Design)
ออกแบบการสุ่ มตัวอย่าง (Sampling Design)
ออกแบบการวิเคราะห์ขอ้ มูล (Analysis Design)
การกาหนดขอบเขตของการประเมิน
1. โครงการที่มุ่งประเมิน
2. ผูใ้ ห้ขอ้ มูล
3. ตัวแปรที่ศึกษา
การกาหนดตัวแปร/ประเด็นที่ศึกษา/ตัวบ่งชี้
ข้อความในวัตถุประสงค์ของการประเมินจะช่วยชี้ให้เห็นแนวทาง
ในการกาหนดตัวแปร รวมทั้งรู ปแบบของการประเมิน
- วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินปัจจัยเบื้องต้น
- ตัวแปร ปัจจัยและความเหมาะสมก่อนเริ่ มโครงการ
* บุคลากร
* ทรัพยากร/งบประมาณ
* วัสดุอุปกรณ์
* โครงสร้างองค์กร
- วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการบริ หารโครงการ
- ตัวแปร ประสิ ทธิภาพของกระบวนการบริ หาร
* การวางแผนโครงการ
* การจัดโครงสร้าง
* การบริ หารโครงการ
* การบริ หารบุคลากร
* การประสานงาน
* การงบประมาณ
ฯลฯ
แหล่งข้อมูล
บุคคล
ชิ้นงาน
เอกสาร
วิธีเก็บรวบรวมข้ อมูล
เก็บอย่ างไร
แหล่ งข้ อมูล
ปฐมภูมิ
ทุตยิ ภูมิ
วิธีเก็บรวบรวมข้ อมูล (ต่ อ)
เครื่องมือเหมาะสมหรือไม่
สอดคล้ องกับธรรมชาติของข้ อมูล
คุณสมบัตข
ิ องข้ อมูล Reasonable/Responsibility
Accuracy
Time
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
Validity
Reliability
Objectivity
วิธีวเิ คราะห์ ข้อมูล
ประมวลผลอย่ างไร
ใช้ สถิติอะไร
สรุ ปผลอย่ างไร เมือ
่ เทียบกับเกณฑ์
(สาเร็จ / ไม่ สาเร็จ)
ตัวแปร / ดัชนี
ดัชนี
:
ตัวแปร :
:
อัตราการเรียนต่ อชั้น ม.1
จานวนนักเรียนที่จบชั้น ป.6
จานวนนักเรียนที่จบชั้น ป.6
แล้วเรียนต่ อชั้น ม.1
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์
ของโครงการ ของการประเมิน
ดัชนี
ตัวแปรที่
เกีย่ วข้ อง
เกณฑ์ การประเมิน
ประเภทของเกณฑ์
–Norm
–Standard
–Criteria
การสร้ างเกณฑ์
Growth Model
Absolute Model
Relative Model
รู ปแบบการเขียนโครงการ
1. ชื่อโครงการ การประเมิน
โครงการ……………….
2. หลักการและเหตุผล
….………………………….
3. วัตถุประสงค์ ของการประเมิน
…………………..
รู ปแบบการเขียนโครงการ (ต่ อ)
4. วิธีดาเนินการประเมินผล
………………………..
4.1 ประชากรที่ต้องการศึกษา
.…………………………...
4.2 ตัวอย่ างทีใ่ ช้ ในการศึกษา
…………………………….
4.3 ตัวแปรทีต่ ้ องประเมิน
….…………………………….
รู ปแบบการเขียนโครงการ (ต่ อ)
5. เกณฑ์ ในการประเมิน
6. ผู้รับผิดชอบโครงการประเมิน
7. ระยะเวลาในการประเมิน
8. ทรัพยากรที่ใช้ ในการประเมิน
เพื่อประเมินการคัดเลือกนักเรี ยนเข้าร่ วม
โครงการ พสวท.
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ผลสัมฤทธ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนก่อนสมัครสอบเข้าโครงการ
2. ผลสัมฤทธ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนปี แรกที่เข้าร่ วมโครงการ
3. คุณภาพและความครอบคลุมของเครื่ องมือที่ใช้ในการคัดเลือก
4. ความเชื่อและเจตคติต่อการเป็ นนักเรี ยนและนิสิตในโครงการ
พสวท.
แนวคิดของนักประเมิน
1.
การประเมินการศึกษา หมายถึงการประเมินผล
2.
การประเมินทางการศึกษา หมายถึงการประเมินใน
สัมฤทธิ์ ของการจัดการศึกษา โดยมุ่งวัดพัฒนาการของ
ผู้เรี ยน และศึกษาลักษณะของผู้เรี ยนที่เกี่ยวข้ องกับการ
ปรั บปรุ งการเรี ยนการสอน
การศึกษาซึ่ งเป็ นกระบวนการของการบริ หารจัดการสิ่ ง
ต่ าง ๆ ในฐานะเครื่ องมือของผู้บริ หาร เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลใน
การพัฒนานโยบายหรื อปรั บปรุ งแผน
ขั้นตอนของการประเมินการศึกษา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ทาความเข้าใจกับคุณสมบัติที่คาดหวังจากการศึกษา
กาหนดวิธีวดั ผล โดยมีระบุตวั บ่งชี้ของคุณลักษณะที่คาดหวัง
วิธีการสังเกต (การวัด) เงื่อนไขของการวัด
จัดทาแบบสอบวัด โดยกาหนดขอบเขตของเนื้อหา กาหนด
ลักษณะของข้อสอบ และสร้างข้อคาถาม
พัฒนาคุณภาพของข้อสอบ โดยการ try out แล้วหา validity
reliability ความยากง่าย อานาจจาแนก
กาหนดเกณฑ์ในการประเมินผล
ประเมินผลและใช้ผลการประเมินเพื่อการศึกษา
ขั้นตอนการประเมินทางการศึกษา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
พิจารณาเป้ าหมายหรื อจุดมุ่งหมายของงาน หรื อแผนงาน เพื่อเป็ น
บริ บทของการประเมิน
กาหนดประเด็น ขอบเขตหรื อวัตถุประสงค์ของการประเมิน รวมทั้ง
model ในการประเมิน
กาหนดตัวบ่งชี้ในการประเมิน และเกณฑ์ในการประเมิน
สร้างและพัฒนาเครื่ องมือเก็บข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล
สรุ ปและอภิปรายผลเพื่อปรับปรุ งงาน
รูปแบบของการประเมินโครงการ
Evaluation Model
1.
Goal-based Evaluation ประเมินตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2.
Goal free Evaluation ประเมินโดยศึกษาผลที่เกิดขึ้นนอกเหนือ
วัตถุประสงค์
3.
Formative Evaluation ประเมินในระหว่างดาเนินโครงการเพื่อหาแนว
ทางการปรับปรุ งการดาเนินงาน
4.
Summative Evaluation ประเมินผลสาเร็ จของโครงการเมื่อเสร็ จสิ้ น
โครงการแล้ว
รูปแบบของการประเมินโครงการ
Evaluation Model
5. Focus point evaluation ประเมินเฉพาะส่ วนที่สนใจ เช่น ประเมินปัจจัย
นาเข้า ประเมินกระบวนการ ประเมินผลผลิต ประเมินผลลัพธ์ หรื อ
ประเมินผลกระทบ
6. CIPP Model ประเมินองค์รวม ใช้ในแผนงานโครงการขนาดใหญ่ โดย
ศึกษาไปพร้อมกันหรื อต่อเนื่องกันกับการดาเนินงาน ทั้งการ ประเมิน
บริ บท (Context) ประเมินปัจจัยนาเข้า (Input) ประเมินกระบวนการ
(Process) ประเมินผลผลิต(Product)
รูปแบบของการประเมินโครงการ
Evaluation Model
7. Assessment ประเมินในแง่คุณภาพของการจัดการ หรื อการประเมินโดย
ไม่ให้คุณค่า ของสิ่ งที่ศึกษา อาจเป็ นได้ทางการประเมินตนเองและการ
ประเมินจากบุคคลอื่น โดยมุ่งศึกษาข้อมูลเหตุการณ์
8. Appraisal ประเมินผลงาน ใช้ในการประเมินผลงานของบุคคลหรื อ
องค์กร มักใช้ในการบรรจุ แต่งตั้ง หรื อพิจารณาความดีความชอบ/
ค่าจ้าง
9. Review ประเมินแบบการประมวลภาพรวม ๆ เป็ นรายงานความก้าวหน้า
ของงาน
รูปแบบของการประเมินโครงการ
Evaluation Model
10. Feasibility Study การประเมินความเป็ นไปได้ เพื่อศึกษาบริ บท หรื อหา
ข้อมูลในการตั้งสิ นใจเริ่ มโครงการ
11. Need Assessment การประเมินความจาเป็ นของโครงการ หรื อศึกษาความ
ต้องการ ของผูม้ ีเกี่ยวข้องว่าสมควรจะทาโครงการนี้ หรื อไม่
12. Internal Evaluation การประเมินภายใน เป็ นการประเมินงานโดย ผู ้
ดาเนินงานเอง หรื อเกี่ยวข้อง มีส่วนได้ส่วนเสี ยกับงาน (stakeholder)
13. External Evaluation การประเมินภายนอก เป็ นการประเมินโดยบุคคลที่
ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้น เพื่อขจัดอคติ
การติดตามและการประเมิน
Monitoring and Evaluation
การประเมินจะมาพร้อมกับ การติดตามงาน เพื่อให้รับทราบผลหรื อ
ความก้าวหน้าในการดาเนินงานต่าง ๆ โดยหลักของการ
ติดตามได้แก่
1.
2.
Monitoring คือการติดตามผลการดาเนินงาน ตามแผนงาน/
โครงการ หรื อนโยบาย โดยเป็ นภารกิจของผูบ้ ริ หารที่จะ
รับทราบผลที่เกิดขึ้นในส่ วนต่าง ๆ ของงาน
Follow up คือการตามงาน ที่มอบหมายหรื อกระจายความ
รับผิดชอบออกไปเป็ นส่ วน ๆ
การติดตามและการประเมิน
Monitoring and Evaluation
การประเมินจะมาพร้อมกับ การติดตามงาน เพื่อให้รับทราบผลหรื อความก้าวหน้าใน
การดาเนินงานต่าง ๆ โดยหลักของการติดตามได้แก่
3. Report คือรู ปแบบหนึ่งของติดตามโดยการรายงาน
ความก้าวหน้าจากส่ วนงานต่าง ๆ
4. Review คือการรวบรวมข้อมูลบริ บทของงาน เพื่อประมวลเป็ น
ภาพความก้าวหน้าของงานในรู ปแบบหนึ่งของการติดตาม
5. Inspection คือการตรวจสอบ (ตรวจราชการ) เพื่อติดตามงานว่า
ถูกต้องกับแผนงานที่วางไว้หรื อไม่
General Concept ของการประเมิน
การประเมินความ
เป็ นไปได้ของแผน
Feasibility study
ประเมิน input
Monitoring คือการติดตามงาน
Evaluation คือการประเมินผล
Research เป็ นวิธีการ/method
ประเมิน
ผลกระทบ
impact
Formative evaluation
Summative evaluation
ประเมิน
Process
หรือการดาเนินงาน
ประเมิน
Output
ประเมิน
Outcome
คาถามชวนคิด
ถ้าท่านนัง่ เล่นอยูท่ ี่บา้ นคนเดียว มีเหตุการณ์เกิดขึ้น 5 อย่างพร้อม ๆ กัน
ท่านจะเลือกทาอะไร เลือกได้อย่างเดียว
1.
เสี ยงโทรศัพท์ดงั
2.
มีคนมาเคาะประตูหน้าบ้าน
3.
มีเสี ยงเด็กร้องอยูช่ ้ นั บน
4.
น้ าในอ่างล้างจานกาลังจะล้นมาเปี ยกบ้าน
5.
ฝนกาลังจะตกลงมาเปี ยกผ้าปูที่นอน