การประเมินโครงการ

Download Report

Transcript การประเมินโครงการ

การประเมินโครงการ
ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
สานั กงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามั ธยมศึกษาเขต 1
การประเมิน (Evaluation)
หมายถึง กระบวนการใช้ ดุลพินิจ
(Judgment) ในการพิจารณาตัดสิ นคุณค่ า
ของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง โดยการเปรียบเทียบ
ผลที่วดั ได้ กบั เกณฑ์ ที่กาหนดไว้
เกณฑ์ แบบสั มพัทธ์ หรืออิงกล่ มุ
(Relative Criteria)
เกณฑ์ สัมบูรณ์ หรืออิงเกณฑ์
(Absolute Criteria)
จากนิยามดังกล่ าว สรุปเป็ นสมการ
แสดงความสั มพันธ์ ระหว่ างการวัดและ
การประเมิน ได้ ดงั นี้
การประเมิน = การวัด + ดุลพินิจ
(E) = (M) + (J)
การประเมิน (Evaluation)
หมายถึง กระบวนการที่
ก่ อให้ เกิดสารสนเทศ (เชิงคุณค่ า)
เพือ่ ช่ วยให้ ผู้บริหารตัดสิ นใจเลือก
ทางเลือกอย่ างมีประสิ ทธิภาพสูงสุด
การประเมิน
ค่ านิยม
ทางเลือก ก
สารสนเทศ
การตัดสิ นใจ
ทางเลือก ข
ทางเลือก ค
ข้ อจากัด
หลักการของการประเมิน
1. กาหนดสิ่ งที่จะประเมินให้ ชัดเจน
วัดได้
2. วางแผนการประเมินให้ รัดกม
ุ
สะดวก ประหยัด และเป็ นไปได้
หลักการของการประเมิน
3.ใช้ เทคนิคในการเก็บรวบรวมให้
ครอบคลุมสิ่ งทีป่ ระเมิน
4. เกณฑ์ ที่ใช้ ์ในการประเมินต้ อง
สั มพันธ์ กบั สิ่ งที่วดั
หลักการของการประเมิน
5. เลือกใช้ เครื่องมือทีม่ คี ุณภาพ
และประสิ ทธิภาพ
6. ปราศจากความลาเอียง
การประเมินโครงการ
(Project Evaluation)
หมายถึง กระบวนการที่
ก่อให้เกิดสารสนเทศในการปรับปรุง
โครงการหรือ สารสนเทศในการ
ตัดสินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
วัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการ
1. นำมำใช้ในกำรวำงแผนโครงกำร
2. นำมำใช้ในกำรปรับปรุงกำรดำเนิ นงำนโครงกำร
3. แสดงถึงผลสำเร็จและควำมล้มเหลว
ของโครงกำร
4. แสดงถึงประสิทธิภำพของโครงกำร
5. ช่วยในกำรควบคุมกำรดำเนิ นงำนให้มี
คุณภำพและประสิทธิภำพ
6. ช่วยให้ขอ้ สนเทศแก่ผูบ้ ริหำรในกำร
ตัดสินใจดำเนิ นกำร
7. ใช้เป็ นแนวทำงในกำรกำหนดวิธีกำร
ดำเนิ นกำรครัง้ ต่อไป
ความสาคัญของการประเมินโครงการ
1. ช่วยให้สำมำรถใช้ทรัพยำกรได้อย่ำงเป็ น
ประโยชน์เต็มที่
2. ช่วยให้กำรดำเนิ นกิจกรรมเป็ นไปตำมแผนและ
กำหนดเวลำ
3. ช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นในทำงไม่พงึ
ปรำรถนำต่อโครงกำร
4. ช่วยควบคุมคุณภำพของงำน
5. ช่วยยืนยันและให้หลักฐำนในควำมมี
ประสิทธิภำพและประสิทธิผลของโครงกำร
6. ผลกำรประเมินจะเป็ นพื้นฐำนในกำรตัดสิน
ใจและกำรกำหนดนโยบำย
7. ช่วยกำหนดวัตถุประสงค์และมำตรฐำนกำร
ดำเนิ นงำนให้มีควำมชัดเจนขึ้น
การออกแบบการประเมินโครงการ
การออกแบบการประเมินโครงการ
หมายถึง การวางแผนเพื่อ
กาหนดรูปแบบ ขอบเขต และแนวทางการ
ประเมินเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ใช้ใน
การตอบปั ญหาของการประเมินให้ถกู ต้อง
ประเด็นของการออกแบบการประเมิน
1. กาหนดเป้าหมายการประเมิน
** จะประเมินไปทาไม
** จะนาผลประเมินไปทาอะไร
2. กาหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน
** อยากทราบ หรือตรวจสอบอะไร
** ตามเป้าหมายที่กาหนด จะต้อง
ทราบสิ่งใด
3. กาหนดคุณลักษณะ ตัวบ่งชี้ หรือ
ประเด็นที่จะประเมิน
** ประเมินจากอะไร
** ตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด
จะตรวจสอบจากอะไร หรือ
ประเด็นใด
รูปแบบการประเมินของไทเลอร์
(Tylerian Model)
Tyler เป็ นบุคคลแรกทีพ่ ฒ
ั นา
รูปแบบการประเมินมาใช้ ในการประเมิน
โครงการ เป็ นผู้ให้ แนวคิดสาคัญในการ
พัฒนาหลักสูตร
ความหมายของการประเมิน
การเปรียบเทียบผลอันเกิดจากการปฏิบัติ
หรือพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ กับจุดหมายทีก่ าหนดไว้
ล่วงหน้ า
1. ยึดเอาจุดมุ่งหมายของโครงการเป็ นหลัก
2. ตรวจสอบการจัดทาโครงการว่ าบรรลุตาม
จุดมุ่งหมายทีก่ าหนดไว้ มากน้ อยเพียงใด
ขั้นตอนการประเมิน
โดยใช้ รูปแบบการประเมินของไทเลอร์
กาหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
กาหนดเนือ้ หา
ดาเนินกิจกรรม
เลือกและสร้ างเครื่องมือวัด
เก็บรวบรวมข้ อมูล
วิเคราะห์ ข้อมูลและทาการเปรียบเทียบ
ผลกับจุดมุ่งหมายทีก่ าหนดไว้
เปรียบเทียบ
รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิ ลบีม
(C I P P Model)
การประเมินใน 4 ลักษณะ
1. C - Context Evaluation (สภาวะแวดล้ อม)
2. I - Input Evaluation (ปัจจัยเบือ้ งต้ น)
3. P - Process Evaluation (กระบวนการ)
4. P - Product Evaluation (ผลผลิต)
Danail L. Stufflebeam , 1967
นักประเมินชาวอเมริกา
เสนอแนวความคิดในการประเมิน
ทีเ่ ป็ นระบบแบบแผนและอยู่ในลักษณะของ
Dynamic Model
ใช้ ควบคู่กบั การบริหารโครงการเพือ่
หาข้ อมูลประกอบการตัดสิ นใจอย่ างต่ อเนื่อง
Stufflebeam ได้ จาแนกการตัดสิ นใจและการประเมินเพือ่
การบริหารและการวางแผนไว้ 4 ประเภท
ประเภทของการประเมิน ประเภทของการตัดสิ นใจ
การประเมินสภาวะแวดล้ อม
(Context Evaluation)
การประเมินปัจจัยเบือ้ งต้ น
(Input Evaluation)
ตัดสิ นใจเกีย่ วกับการวางแผน
ในการกาหนดวัตถุประสงค์
(Planning Decisions)
ตัดสิ นใจเกีย่ วกับโครงสร้ างเพือ่
เลือกแผนการจัดโครงการที่เหมาะ
สมที่สุด (Structuring Planning)
ประเภทของการประเมิน ประเภทของการตัดสิ นใจ
การประเมินกระบวนการ
(Process Evaluation)
ตัดสิ นใจนาโครงการที่วางไว้ ไป
ปฏิบัตพิ ร้ อมกับการปรับปรุง
โครงการถ้ าจาเป็ น
(Implementing Decision)
การประเมินผลผลิต
(Product Evaluation)
ตัดสิ นใจ ปรับปรุง ปรับขยาย
หรือควรล้ มเลิกโครงการ
(Recycling Decisions)
1. การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้ อม
(Context Evaluation)
เป็ นการประเมินเกีย่ วกับนโยบาย
เป้ าหมาย สภาพเศรษฐกิจ และสั งคม ปัญหา
และความต้ องการของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง
กับโครงการ สารสนเทศทีไ่ ด้ นามาใช้ ในการ
ตัดสิ นใจเกีย่ วกับวัตถุประสงค์ ของโครงการ
เป็ นการตรวจสอบเพือ่ ตอบคาถาม
1. เป็ นโครงการที่สนองปัญหาหรือความ
ต้ องการจาเป็ นที่แท้ จริงหรือไม่
2. วัตถุประสงค์ ของโครงการชัดเจน
เหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์ กรหรือ
นโยบายของหน่ วยเหนือหรือไม่
3. เป็ นโครงการที่เป็ นไปได้ หรือไม่
2. การประเมินปัจจัยเบือ้ งต้ น
(Input Evaluation)
1. เป็ นการประเมินความพร้ อมของ
ทรัพยากรต่ างๆก่ อนเริ่มโครงการว่ ามี
ทรัพยากรพร้ อมทีจ่ ะดาเนินโครงการหรือไม่
2. สารสนเทศที่ได้ นามาใช้ ในการ
ตัดสิ นใจเกีย่ วกับวิธีการของการใช้ ทรัพยากร
เป็ นการตรวจสอบเพือ่ ตอบคาถาม
1. ปัจจัยทีก่ าหนดไว้ ในโครงการ
เหมาะสม พอเพียงหรือไม่
2. กิจกรรม ยุทธวิธี ทางเลือก
ทีก่ าหนดไว้ มีความเป็ นไปได้ หรือเหมาะสม
เพียงใด
3. การประเมินกระบวนการ
(Process Evaluation)
1. เป็ นการประเมินขณะทางานหรือ
ประเมินความก้ าวหน้ าของโครงการ
2. สารสนเทศทีไ่ ด้ นามาใช้ ในการ
ตัดสิ นใจเพือ่ การปรับปรุงการดาเนินโครงการ
เป็ นการตรวจสอบเพือ่ ตอบคาถาม
1. การปฏิบัติงานเป็ นไปตามแผนหรือไม่
2. กิจกรรมใดทาได้ หรือทาไม่ ได้ เพราะเหตุใด
3. เกิดปัญหา อุปสรรคอย่ างไร
4. การประเมินผลผลิต
(Product Evaluation)
1. เป็ นการประเมินหลังจากการดาเนินโครงการ
สิ้นสุ ดแล้ว
ประเมิน Output
ประเมิน Impact
2. สารสนเทศที่ได้ นามาใช้ ในการตัดสิ นใจว่ า
ควรจะคงไว้ ปรับขยายหรือล้มเลิกโครงการ
เป็ นการตรวจสอบเพือ่ ตอบคาถาม
1. เกิดผล/ได้ ผลลัพธ์ ตาม
วัตถุประสงค์ ของโครงการหรือไม่
2. คุณภาพของผลลัพธ์ เป็ นอย่ างไร
3. เกิดผลกระทบอืน่ ใด
3. รู ปแบบการประเมินของเคอร์ กแพตทริค
(Kirk Patrick)
ได้ เสนอแนวคิดว่ า
การฝึ กอบรมเป็ นการช่ วยเหลือบุคลากรให้ สามารถ
ปฏิบัติงานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพในการฝึ กอบรมใด ๆ
ควรจะจัดให้ มีการประเมินผลการฝึ กอบรม ซึ่งถือเป็ น
สิ่ งจาเป็ นทีจ่ ะช่ วยให้ รู้ว่า การจัดโปรแกรมการ ฝึ กอบรมมี
ประสิ ทธิผลเพียงใด
การประเมินผลการฝึ กอบรม
จะทาให้ ได้ ความรู้ อย่ างน้ อย 3 ประการ
1. การฝึ กอบรมนั้นได้ ให้ อะไรหรือเกิดประโยชน์
ต่ อหน่ วยงานในลักษณะใดบ้ าง
2. ควรยุตโิ ครงการหรือดาเนินการต่ อไป
3. ควรปรับปรุงหรือพัฒนาโปรแกรมการฝึ ก
อบรมในส่ วนใดบ้ าง อย่ างไร
Kirk Patrick เสนอแนวคิดการ
ประเมินผลการฝึ กอบรม ใน 4 ลักษณะ
1. ประเมินปฏิกริ ิยาตอบสนอง (Reaction Evaluation)
2. ประเมินการเรียนรู้ (Learning Evaluation)
3. ประเมินพฤติกรรมที่เปลีย่ นไปหลังการอบรม
(Behavior Evaluation)
4. ประเมินผลลัพธ์ ที่เกิดขึน้ ต่ อองค์ กร
(Results Evaluation)
การประเมินโครงการตามระยะเวลา
สามารถทาได้ 3 ระยะ
1. การประเมินก่ อนการดาเนินการ
1.1 ความเหมาะสมของตัวโครงการ
1.2 ความจาเป็ นหรือปัญหานั้นสามารถแก้ ไขได้ ดี
ทีส่ ุ ดด้ วยกิจกรรมที่กาหนดหรือไม่
1.3 ความเหมาะสมของ วัตถุประสงค์ วิธีการ
1.4 ความเป็ นไปได้ ของโครงการ
2. การประเมินระหว่ างการดาเนินการ
เป็ นการประเมินกระบวนการดาเนินงานของ
โครงการขณะที่ดาเนินงานอยู่ เช่ น
2.1 การประเมินการบริหารโครงการ
2.2 การดาเนินงานจริงเมื่อเทียบกับแผน
2.3 ปัญหาอุปสรรคระหว่ างการดาเนินงาน
และการแก้ไข
3. การประเมินหลังการดาเนินงาน
 ใช้รปู แบบของ Tyler
 ใช้รปู แบบของ Kirk Patrick
ฯลฯ
กรณี ศึกษาที่ 1 โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของ
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมของนักเรียน
ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
กรณี ศึกษา โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญของโรงเรียนอุทยั ธานี
ให้ใช้รปู แบบของ CIPP Model
วัตถุประสงค์ ของโครงการ
เพื่อส่งเสริ มการจัดการ
เรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ น
สาคัญของโรงเรียน.............
วัตถุประสงค์ ของการประเมิน
วัตถุประสงค์ ของการประเมิน
เพื่อประเมินความรูค้ วามเข้าใจ
เกี่ยวกับเอดส์และความตระหนัก
ในปั ญหาเอดส์ของนักเรียน
ตัวแปร/ตัวชี้วดั /ประเด็น
ทีม่ ่ ุงศึกษา
-
ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเอดส์
- ความตระหนัก ในปัญหาเอดส์
วัตถุประสงค์ ของการประเมิน
เพื่อประเมินความพร้อม
เกี่ยวกับปั จจัยของโครงการ
..........................
ตัวแปร/ตัวชี้วดั /ประเด็น
ทีม่ ่ ุงศึกษา
1.
2.
เพื่อประเมินกระบวนการ
ดาเนิ นงานของโครงการ...........
3.
ความพร้อมด้านบุคลากร
งบประมาณ สื่อ-อุปกรณ์ และ
แผนการดาเนิ นงาน
กระบวนการการทางานเชิงระบบ
ปั ญหาอุปสรรคในการปฏิบตั ิงาน
องค์ ประกอบของเค้ าโครงการประเมินโครงการ
ทาไมจึงต้ องประเมิน
หลักการและเหตุผล
ประเมินเพือ่ อะไร
วัตถุประสงค์ ของการประเมินโครงการ
โครงการทีม่ ุ่งประเมินเป็ นอย่ างไร
สาระสาคัญของโครงการ
จะประเมินโครงการได้ อย่ างไร
วิธีการดาเนินการประเมิน
รายงานการวิจัยเป็ นอย่ างไร
ร่ างรายงานการประเมินโครงการ
ใครคือผู้รับผิดชอบในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบในการประเมินโครงการ
จะต้ องใช้ งบประมาณเท่ าใด
งบประมาณทีใ่ ช้ ในการประเมิน
จะทาการประเมินเมือ่ ใด
ระยะเวลาดาเนินการประเมิน
โครงร่ าง/โครงการ/เค้ าโครงการประเมิน
1. ชื่ อ…………………….
2. ผูร้ บั ผิ ดชอบ…………………………
3. ความเป็ นมา/ที่มาของโครงการ…………
4. วัตถุประสงค์ของการประเมิน……………
5. ขอบเขตของการประเมิน
** ประเมินจากการปฏิบตั ิโครงการช่วงใด
** ประเด็น/ตัวบ่งชี้ มีอะไรบ้าง
6. นิ ยามศัพท์
7. วิธีดาเนิ นการ
 แหล่งข้อมูล
** เป็ นอะไร เป็ นใคร อยู่ท่ีไหน
** มากน้อยเพียงใด
 เครื่ องมื อรวบรวมข้อมูล
** วิธีใด/ชนิ ดใด
** ลักษณะเป็ นเช่นใด
** จะตรวจคุณภาพอย่างไร
 การรวบรวมข้อมูล
** ทาอย่างไร เมื่อไร
8. เกณฑ์การประเมิน
** คืออะไร
** วิเคราะห์ขอ้ มูล (ตัดสินผล) อย่างไร
9. ระยะเวลาดาเนิ นการ
** แผนการปฏิบตั ิ
10. บรรณานุกรม
11.ภาคผนวก (ถ้ามี)