4.3 โรคระบบทางเดินหายใจ

Download Report

Transcript 4.3 โรคระบบทางเดินหายใจ

โรคระบบทางเดินหายใจ
น.ต.หญิง อรภัทรา คงประยูร
กองเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน รพ.สมเด็จพระปิ่ นเกล้ า
1. จมูก (nose) เป็ นอวัยวะที่เป็ นทางผ่านของลมหายใจ ภายในรู
จมูกบุไปด้วยเยือ่ บุจมูก ซึ่งมีต่อมน้ ามันและขนจมูกขึ้นอยูร่ อบ ๆ ผนังของรู
จมูก ขนจมูกจะทาหน้าที่กรองฝุ่ นละอองในอากาศไม่ให้เข้าสู่ หลอดลมและ
ปอด ถัดจากรู จมูกเข้าไปจะเป็ นโพรงจมูก ที่มีเยือ่ บุชุ่มค่อนข้างหนาบุอยูท่ วั่
ผนังของโพรงจมูก เยื่อบุชุ่มนี้ ประกอบด้วยหลอดเลือดที่จะปรับอุณหภูมิ
ของลมหายใจ โดยการแผ่รังสี ความร้อน ต่อมเมือกที่ทาหน้าที่ขบั น้ าเมือก
ออกมาทาให้ลมหายใจมีความชุ่มชื้ น และช่วยจับฝุ่ นละอองและเชื้อโรคที่
ผ่านขนจมูกเข้ามา และมีขนกวัดเล็ก ๆ ทาหน้าที่ปัดแผ่นน้ าเมือกที่สกปรก
ให้ไหลลงไปทางลาคอลงสู่กระเพาะอาหาร
2. คอหอย (pharynx)
มีลกั ษณะคล้ายกรวย อาจ
เรี ยกว่า กรวยคอ เป็ นบริ เวณที่หลอดอาหารและหลอดลมแยก
ออกจากกัน โดยหลอดอาหารจะอยูด่ า้ นหลังของหลอดลม
3. กล่ องเสี ยง (larynx) มีรูปร่ างคล้ายกรวย อยูถ่ ดั เข้ามา
จากโคลนลิ้นตรงเข้าสู่ หลอดลมส่ วนต้น ตรงทางเข้าสู่ กล่องเสี ยง
จะมีลิ้นปิ ดหลอดลม ที่ทาหน้าที่ปิดหลอดลมขณะที่เรากลืน
อาหาร เพื่อป้ องกันไม่ให้อาหารผ่านลงสู่ หลอดลม ภายในกล่อง
เสี ยงจะมีสายเสี ยงที่ทาให้เกิดเสี ยงต่าง ๆ ได้
4. หลอดลม (trachea) ประกอบด้วย หลอดลมใหญ่ เป็ น
ทางเดินหายใจที่อยูถ่ ดั เข้ามาจากกล่องเสี ยง เป็ นกล้ามเนื้ อเรี ยบที่มี
กระดูกอ่อนรู ปตัวยูฝังอยู่เป็ นชั้น ๆ ทาให้คงรู ปอยู่ได้ไม่หดแฟบ
ผนังด้านในของหลอดลมจะมีเยื่อเมือกที่คอยกักฝุ่ นละออง โดยมี
ขนอ่ อ นขนาดเล็ ก คอยโบกพัด ฝุ่ นละอองให้ ข้ ึ น ไปด้า นบนให้
ออกไปจากหลอดลม หลอดลมเล็ก เป็ นหลอดลมที่แยกออกมาจาก
หลอดลมใหญ่ไปสู่ ปอดทั้ง 2 ข้าง จากนั้นจะแบ่งแยกออกไปเป็ น
หลอดลมย่อยที่จะสิ้ นสุ ดที่ถุงลมภายในปอด
5. ปอด (lungs) เป็ นอวัยวะที่อยูใ่ นทรวงอกทั้งสอง
ด้านโดยอยูถ่ ดั จากกระดูกซี่ โครงเข้ามาด้านใน ปอดมีลกั ษณะ
คล้ายฟองน้ าและมี ความยืดหยุ่นมาก ภายในปอดจะมี ถุงลม
เล็ก ๆ (alveolus) จานวนมาก และมีเส้นเลือดฝอยผ่านเข้าไป
ในถุงลมเหล่านี้เพื่อทาการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การหายใจถูกควบคุมโดยศูนย์การหายใจในสมองซึ่ งเป็ นไป
โดยปกติ ขณะหายใจเข้ า แผ่นกล้ามเนื้ อระหว่างกระดูกซี่ โครงจะหด
ตัวดึ งกระดูกซี่ โครงให้เลื่อนสู งขึ้นไปทางด้านบนและขยายออกทาง
ด้านข้าง กะบังลมจะเลื่ อนต่ าลงทาให้ปริ มาตรของช่ องอกมี มากขึ้ น
ความดันอากาศลดต่าลงอากาศจึงถูกดูดสู่ ปอด ขณะหายใจออก แผ่น
กล้ามเนื้ อ ระหว่างกระดู กซี่ โครงจะคลายตัวขยายออกทาให้กระดู ก
ซี่ โ ครงเลื่ อ นต่ า ลงมาสู่ ข นาดปกติ กะบัง ลมจะเลื่ อ นสู ง ขึ้ น ท าให้
ปริ มาตรของช่องอกลดน้อยลงความดันอากาศภายในช่องอกสู ง อากาศ
ภายในจึงถูกขับออกจากปอดสู่ ภายนอก
เมื่อเราหายใจเข้า อากาศจากภายนอกร่ างกายจะผ่านรู จมูกทั้ง
สองข้างเข้าไปตามช่ องจมูกขนและเยื่อในช่ องจมูกจะช่ วยกรองฝุ่ น
ละอองที่ปนมากับอากาศไว้ อากาศจะถูกปรับอุณหภูมิและความชื้ น
ให้เหมาะสมกับร่ างกาย แล้วจึ งผ่านจากคอหอยเข้าสู่ หลอดลม เยื่อ
เมือกและขนอ่อนที่หลอดลมกักเก็บและพัดโบกฝุ่ นละอองขนาดเล็ก
ที่ปนมากับอากาศไม่ให้ผ่านเข้าสู่ ปอด อากาศจะเข้าสู่ ปอด และเข้าสู่
ถุงลมเล็ก ๆ จานวนมากที่มีหลอดเลือดฝอยอยูล่ อ้ มรอบ จากนั้นแก๊ส
ออกซิ เจนในอากาศจะแพร่ ผ่านผนังถุงลมเข้าสู่ ถุงลม เมื่อเราหายใจ
ออก แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กจ็ ะถูกขับออกนอกร่ างกาย
แก๊สออกซิ เจนที่แพร่ ผ่านผนังถุงลมเข้าสู่ หลอดเลือดฝอยจาก
การหายใจเข้า จะเข้าไปรวมตัวกับเฮโมโกลบินในเซลล์เม็ดเลือดแดง
ทาให้เลือดมีสีแดง แล้วไหลไปตามหลอดเลือดกลับเข้าสู่ หวั ใจ หัวใจ
จะสู บฉี ดเลือดไปตามหลอดเลือดแดงไปยังส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย
แก๊ ส ออกซิ เ จนจะไปทาปฏิ กิ ริย าเผาผลาญสารอาหารนี้ จ ะให้แ ก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ออกสู่ เซลล์ด้วย ดังนั้นขณะที่ แก๊ สออกซิ เจน
แพร่ ผ่านจากเซลล์เม็ดเลือดแดงเข้าสู่ เซลล์ในส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย
แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์จากเซลล์เหล่านี้ จึงแพร่ เข้าสู่ เซลล์เม็ดเลือด
แดงด้วย เพื่อจะเข้าสู่ หลอดเลือดดากลับเข้าสู่ หวั ใจ และเข้าไปสู่ ปอด
เพื่อทาการแลกเปลี่ยนแก๊สต่อไป
อาการเหนื่อย-หายใจลาบาก
Dyspnea
ความหมาย
• เป็ นความรู้สกึ ที่ไม่สบายเกี่ยวกับการหายใจ ต้ องเพิ่มแรงทีใ่ ช้ ในการหายใจ
• ผู้ป่วยต้ องปรับตัวโดยการหายใจเร็วขึ ้นหรื อแรงขึ ้น
• ส่วนใหญ่สมั พันธ์กบั การออกแรง ยกเว้ น
– Pulmonary embolism : ลิ่มเลือดอุดตันที่หลอดเลือดปอด
– Spontaneous pneumothorax :
– Anxiety : ภาวะวิตกกังวล
ความหมาย
– อาการ Orthopnea : ภาวะเหนื่อยเมื่อผู้ป่วยนอนราบ ซึง่ เกิดจากเลือด
ในทรวงอกเพิ่มขึ ้น ร่วมกับการดันขึ ้นของกะบังลมในท่านอนหงาย ซึง่
จะรบกวนการแลกเปลี่ยนแก๊ สที่หลอดเลือกฝอยของหลอดลม พบใน
ภาวะหัวใจซีกซ้ ายวาย ผู้ป่วยหอบหืด COPD : chronic obstructive
pulmonary disease ปอดอุดกันเรื
้ อ้ รัง
– อาการ Paroxysmal nocturnal dyspnea : ภาวะเหนื่อยที่เกิดขึ ้น
อย่างเฉียบพลันเวลากลางคืน จนผู้ป่วยต้ องตื่นขึ ้นมาหอบหรื อไอ พบในผู้ป่วยหัวใจวายซีก
ซ้ าย
พยาธิสรีรวิทยา
การวินิจฉัยแยกโรค
การวินิจฉัยแยกโรค
การประเมินผู้ป่วยทีม่ ีอาการเหนื่อย
การประเมินผู้ป่วยทีม่ ีอาการเหนื่อย
Obstructive airway disease
Asthma & COPD
Obstructive airway disease
Pressure
FLOW
Resistance
โรคหอบหืด Asthma
• โรคหอบหืดเป็ นโรคของหลอดลมที่มีการอักเสบเรื อ้ รัง เป็ นผลให้ มี cell
ต่างๆ เช่น mast cell,eosinophils,T-lymphocyte,
macrophage,neutrophil มาสะสมที่เยื่อบุผนังหลอดลม
• ทาให้ เยื่อบุผนังหลอดลมมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้ และ
สิง่ แวดล้ อมมากกว่าคนปกติ (bronchial hyper-reactivity)
Asthma
• เมื่อหายใจเอาสารภูมิแพ้ จะทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในปอดดังนี ้
• Acute bronchoconstriction มีการหดเกร็งของกล้ ามเนื ้อ
หลอดลม หลังจากได้ รับสารภูมิแพ้ ทาให้ ลมผ่านหลอดลมลาบาก
• Airway edemaเนื่องจากมีการหลัง่ ของน ้าทาให้ ผนังหลอดลมบวม
ผู้ป่วยจะหอบเพิ่มขึ ้น
• Chronic mucous plug formation มีเสมหะอุดหลอดลม
ทาให้ ลมผ่านหลอดลมลาบาก
• Air way remodeling มีการหนาตัวของผนังหลอดลมทาให้
หลอดลมตีบเรื อ้ รัง
Airway Remodeling
Ethan F. Geeh, 2003.
Factors Influencing
the Development of Asthma
1.
Host
•
•
•
2.
Genetic: pre-disposing to atopy / airway hyperresponsiveness
Obesity
Sex
Environment
•
•
•
•
•
•
Allergens: Indoor / Outdoor
Infections: predominantly viral
Occupational sensitizers
Tobacco smoke: Passive / Active
Air Pollution: Outdoor / Indoor
Diet
Airway
Hyperresponsiveness
Stimuli
Reversible airway obstruction
ความรู้เกี่ยวกับโรคหืด
Bronchospasm
Inflammation
Remodelling
Airway hyperresponsive
Changing concept in asthma treatment
short-acting
b2-agonists
Inh corticosteroid
Bronchospasm
Inflammation
Airway
Hyperresponsiveness
1975
1980
Combination
1985
Remodelling
1990
1995
2000
Definition of asthma
• Airway inflammation
• Airway hyperresponsiveness
• Reversible airway obstruction
• Symptoms (cough, wheeze, dyspnea)
Asthma Diagnosis
History
and patterns of symptoms
Physical
examination
Measurements
of lung function
การวินิจฉัย
• การตรวจทางห้ องปฏิบตั ิการที่สาคัญ ได้ แก่ การวัดการอุดกันของทางเดิ
้
น
หายใจด้ วยเครื่ อง spirometry เช่นการวัด FEV1 [force
expiratory volume in one minute] หรื อวัดเครื่ อง peak
flow meter เพื่อวัด PEF [peak expiratory flow] แพทย์
อาจวัดค่าผันผวนของ PEFที่เกิดขึ ้นในแต่ละช่วงวัน เช่น เช้ า กลางวัน เย็น
ในระยะเวลา1-2 สัปดาห์ ถ้ ามีความผันผวนของค่าสูงสุดและต่าสุดมากกว่า
ร้ อยละ20 ถือว่าเป็ นหอบหืด
การวินิจฉัย
• Spirometry
• FEV1 เพิ่มขึ ้น15%หลังการพ่นยา beta-agonist 15นาที
• FEV1เพิ่มขึ ้น20%หลังได้ steroid ชนิดกินหรื อชนิดพ่น14วัน
• PEF ค่าผันผวนPEF มากกว่า 20%
• FEV1 คือการวัดความเร็วของลมที่เป่ าออกมาอย่างแรงที่เวลา 1 วินาที
นับตังแต่
้ เริ่มเป่ า
การวินิจฉัย
• การตรวจ Forced
expiratory volume in
one second [FEV1]
• เป็ นการวัดปริ มาตรของลมที่เรา
เป่ าออกมาให้ เร็วและแรงที่สดุ คน
ปกติจะสามารถเป่ าลมออกได้ 80
%ของปริ มาตรทังหมด
้
แต่ผ้ ปู ่ วย
หอบหืดอาจจะเป่ าได้ 50-60%ของ
ปริ มาตรลมทังหมด
้
การวินิจฉัย
• Peak Flow Meter
• เราสามารถบอกความรุนแรงของ
โรคหอบหืด จากอาการ และจาก
ความเร็วของลมโดยผ่านเครื่ อง
Peak Flow Meter
• ความแม่นยาของการวัด PEF
[peak expiratory flow]
ขึ ้นอยู่กบั ความร่วมมือของผู้ป่วย
และวิธีการวัด
การวินิจฉัย
วิธีตรวจ
• ให้ ผ้ วู ดั ยืน ต่าแหน่งของเข็มวัดอยู่ต่าสุด
• หายใจเข้ าให้ เต็มที่ อม peak flow
meter ไว้ ในปาก หุบปากให้ สนิทแล้ ว
เป่ าลมออกอยางแรงและเร็วที่สดุ
• จดค่าที่ได้
• วัดใหม่อีก 2 ครัง้ จดค่าที่ดีที่สดุ ไว้
• วัดทุกวัน วันละ 2 ครัง้ ตอนตื่นนอน และ
ตอนบ่าย
• วัดก่อน และหลังพ่นยา
• จดค่ าที่ดีท่ สี ุดซึ่งเป็ นค่ าที่แพทย์ และ
ผู้ป่วยใช้ ในการวางแผนการรักษา
[Best peak expiratory flow]
เป้ าหมายของการรักษาโรคหืด
• สามารถควบคุมอาการของโรคให้ สงบลงได้
• ป้องกันไม่ ให้ โรคกาเริบ
• ทาให้ สมรรถภาพปอดไกล้ เคียงคนปกติมากที่สุด
• ทาให้ ผ้ ูป่วยดารงชีวติ ได้ เหมือนคนปกติ
• หลีกเลี่ยงผลแทรกซ้ อนจากยา
• ป้องกันการเสื่อมของสมรรถภาพปอดจนเกิดการอุดกลัน้
อย่ างถาวร
• ป้องกันการเสียชีวติ จากโรคหืด
ขั้นตอนการดาเนินการในการรักษา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ให้ ความรู้ แก่ ผ้ ูป่วยและญาติ
หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้ เกิดการหอบ
จาแนกความรุ นแรงของโรค
จัดแผนการรั กษาที่เหมาะสม
จัดแผนการรั กษาเมื่อมีการหอบเฉียบพลัน
ให้ การดูแลรั กษาต่ อเนื่อง
การดูแลรักษาผู้ป่วยหอบรุ นแรงทีห่ ้ องฉุกเฉิน
1.วินิจฉัยว่ าเป็ นโรคหืดรุ นแรงหรื อไม่
• เมื่อพบผู้ป่วยมาที่ห้องฉุกเฉินด้ วยอาการหอบต้ องวินิจฉัยให้ ได้ วา่ ผู้ป่วยเป็ น
โรคหืดที่หอบรุนแรงหรื อหอบจากสาเหตุอื่น
• ส่วนมากผู้ป่วยโรคหืดจะมีประวัติชดั เจนว่าเป็ นโรคหืดมานาน มีอาการไอ
หอบ หายใจมีวี ้ดเป็ นๆ หายๆ ได้ ยาขยายหลอดลมแล้ วดีขึ ้น
• โรคที่ต้องวินิจฉัยแยกโรค คือ ภาวะหัวใจวาย, COPD with
exacerbation, upper airway obstruction เป็ นต้ น
2. ประเมินความรุ นแรงของการหอบ
• การตรวจร่างกายที่บง่ บอกความรุนแรง ได้ แก่พดู ไม่เป็ นประโยค นอนราบ
ไม่ได้ อัตราการหายใจมากกว่า 35 ครัง้ /นาที ชีพจร มากกว่า 120 ครัง้ /นาที
มีการใช้ accessory muscle ในการหายใจ มีเสียงwheeze
ผู้ป่วยที่รุนแรงมาก อาจมี cyanosis
• ในรายที่หอบมากและไม่ตอบสนองต่อการรักษาจะต้ องทา CXR เพราะ
อาจจะพบสาเหตุของการหอบรุนแรง เช่น pneumonia หรื ออาจจะพบ
ภาวะแทรกซ้ อน เช่น atelectasis, pnemothorax,
pneumomediastinum
• 3. ให้ การรั กษา ควรจะรี บให้ การรักษาไปพร้ อมๆ กับการประเมินความ
รุนแรงของโรค ไม่ควรใช้ เวลามากเกินไปในการซักประวัติและตรวจร่างกาย
• 3.1 การให้ oxygen เป็ นสิ่งแรกที่ต้องให้ แก่ผ้ ปู ่ วย เพราะผู้ป่วยส่วนมาก
จะมี mild hypoxemia นอกจากนี ้การให้ ยาขยายหลอดลมอาจจะทาให้ เกิด
hypoxemia มากขึ ้นได้ ในระยะสันๆ
้ ซึง่ อาจทาให้ เกิด arrhythmia ใน
ผู้สงู อายุได้
• 3.2 B2-agonist เป็ นยาที่มีฤทธิ์ขยายหลอดลมที่ดีที่สดุ จึงเป็ นยาตัว
แรกที่เลือกใช้ วิธีที่นิยมใช้ มากที่สดุ คือการให้ ทางละอองฝอย (Nebulizer)
ขนาดที่ใช้ คือ Salbutamol (ventolin)2.5 - 5 mg, terbutaline 5 - 10 mg
พ่นโดยใช้ oxygen 5 - 6 L/min ในชัว่ โมงแรกให้ ซ ้าได้ ทกุ 20 นาที หลังจาก
นันอาจจะให้
้
ได้ ทกุ 1- 4 ชัว่ โมง
• 3.3 Anticholinergic ได้ แก่ Ipratropium bromide ไม่นิยมใช้
เดี่ยวๆ ในการรักษาโรคหืดเฉียบพลันเพราะออกฤทธิ์ช้า จะใช้ ร่วมกับ β2
agonist เมื่อให้ β2 agonist แล้ วอาการหอบยังไม่ดีขึ ้น ขนาดที่ใช้ คือ 0.5
mg ทางละอองฝอย
• 3.4 Corticosteroids เนื่องจากผู้ป่วยหอบรุนแรงจะมีอาการอักเสบ
ในหลอดลม จาเป็ นต้ องให้ corticosteroids ทุกราย เช่น dexamethasone
หรื อ hydrocortisone
• 4. ติดตามผลการรั กษา เมื่อให้ การรักษาแล้ วต้ องมีการประเมินผลของ
การรักษา เพื่อที่จะได้ วางแนวทางในการรักษาต่อไป ได้ ถกู ต้ อง สิง่ ที่ใช้ ใน
การประเมินคือ อาการหอบเหนื่อยของผู้ป่วย, การตรวจร่างกาย เช่น การ
หายใจ, ชีพจร, การใช้ accessory muscle, เสียง wheeze
• อาการและการตรวจร่างกายเหล่านี ้ไม่พอเพียงในการประเมินความรุนแรง
ของโรคและอาจจะประเมินความรุนแรงของโรคต่ากว่าที่ควรได้ การประเมิน
ที่ดีจาเป็ นต้ องวัด PEFR หรื อ FEV1 ร่วมด้ วย
Evaluation of Asthma severity
in Adults
Level
1
2
3
4
Asthma
severity
Intermittent
Mild
persistent
Moderate
persistent
Severe
persistent
Daytime
symptoms
< 1 / week
> 1 / week,
< 1 / day
Daily
Exacerbation affect
activity and sleep
Daily
Frequent exacerbation
Limit activity
Nighttime
symptoms
< 2 / month
> 2 / month
PEF or
PEF
FEV1 (%) Variability (%)
< 20
 80
< 20-30
 80
> 1 / week
60-80
> 30
Frequently
 60
> 30
แนวทางการวิ นิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทย พ.ศ. 2555
Level of Asthma Control
Clinical
characteristic
Controlled
Partly Controlled
(All present)
(Any presents)
None
( 2 /week)
> 2 /week
Limitations of
activities
None
Any
Nocturnal
symptoms/awakening
None
Any
None
( 2 /week)
> 2 /week
Normal
< 80% predicted or
personal best (if
known)
None
 1 / year
Daytime symptoms
Need for reliever/
rescue treatment
Lung function
(PEF or FEV1)
Exacerbation
(needs ER visit)
Clinical asthma within 4 weeks
Uncontrolled
 3 features of
partly controlled
1 in any week
แนวทางการวิ นิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทย พ.ศ. 2555
Treatment Steps in Guideline
Persistent /
Partly controlled
Uncontrolled
Reliever
Controller
Option
Pulmonary
rehabilitation
Preferred controller options are shown in shaded boxes
GINA 2010 (Updated)
แนวทางการวิ นิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทย พ.ศ. 2555
Management approach
based on Asthma control
Assessment
of
future risks
Pharmacological therapy
 Controllers
 Relievers

Inhaled fast-acting
agonists

b2-



Inhaled corticosteroids
Inhaled long-acting b2-agonists
Oral anti-leukotrienes
Oral theophyllines
Inhaled corticosteroids
Fluticasone
Budesonide
Beclomethasone
โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นโรคที่เนื้อปอดถูกทาลาย ส่ งผล
ให้การแลกเปลี่ยนออกซิ เจนลดลง ทาให้ผูป้ ่ วยมีอาการ หอบ
เหนื่อย หายใจลาบาก
สาเหตุของโรค
สาเหตุของถุงลมโป่ งพอง ที่ พบบ่อยที่ สุด ได้แก่ การ
สู บบุหรี่ นอกจากนั้นยังอาจเกิดจาก การสู ดดมสิ่ งที่เป็ นพิษ เช่น
มลภาวะ ไอเสี ย ฝุ่ น สารเคมี เป็ นระยะเวลานาน ๆ
Definition of COPD
• COPD is a disease state characterized by
airflow limitation that is not fully
reversible.
• The airflow limitation is usually both
progressive and associated with an
abnormal inflammatory response of the
lungs to noxious particles or gases.
โดยปกติ ที่แล้วทางเดิ นหายใจมี ลกั ษณะเหมื อนกับต้นไม้
กลับหัวโดยกิ่งก้านต้นไม้เปรี ยบเสมือนหลอดลม และมีถุงลมต่อลง
มาจากหลอดลมส่ วนปลาย
ในคนทัว่ ไป หลอดลมจะโล่งและ เปิ ดอยู่ตลอดเวลา ส่ วน
ถุงลมก็จะเป็ นที่แลกเปลี่ยนออกซิ เจนให้กบั ร่ างกาย
ในผูป้ ่ วยโรคถุงลมโป่ งพอง ทางเดินหายใจ และถุงลมขาด
ประสิ ทธิ ภาพ การแลกเปลี่ยนอากาศจะเป็ นไปได้ยากเพราะ
- ทางเดินหายใจ และถุงลมขาดความยืดหยุน่ ก๊าซจึงเข้าออกยาก
- ผนังของถุงลมบางส่ วนถูกทาลาย จึงไม่สามารถแลกเปลี่ยนอากาศ
ได้เต็มที่
- ผนังของหลอดลมหนาผิดปกติ และบวม อากาศจึงเข้าไปได้นอ้ ย
- เซลล์ของทางเดินหายใจมักจะอักเสบ มีของเหลว และเมือกเกาะ
อยูม่ าก จึงอุดกั้นทางเดินหายใจ อากาศเข้าไปยาก
พยาธิสรี รวิทยา (Pathophysiology)
• การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิวิทยาของปอด นาไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาในผู้ป่วย ดังนี ้
1. การสร้ าง mucus มากกว่าปกติ ร่วมกับการทางานของcillia
ทีผิดหน้ าที่ไป ทาให้ ผ้ ปู ่ วยไอเรื อ้ รังมีเสมหะ ซึง่ อาจเป็ นอาการนา ของโรคก่อน ที่จะมีการ
เปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาอื่นๆ
2. การตีบของหลอดลมร่วมกับการสูญเสีย elastic recoil ของเนื ้อปอดทาให้ เกิด
airflow limitation และ air trapping
3 การตีบของหลอดลม การทาลายของเนื ้อปอด และ หลอดเลือด จะรบกวนแลกเปลี่ยนก๊ าช ทาให้
เกิดภาวะ hypoxemia และhypercapnia ตามมา ซึง่ อาจทาให้ เกิด Pumonary
hypertension และ cor pulmonale ในที่สดุ
ภาพเปรี ยบเทียบ ถุงลมปอดในคนปกติ(บน)
และถุงลมปอดในผูป้ ่ วยโรคถุงลมโป่ งพอง(ล่าง)
Diagnosis of COPD
Exposure to risk factors
Tobacco
occupation
pollution
Symptoms
+/-
Spirometry post bronchodilator
•Cough
•Sputum
•dyspnea
FEV1/ FVC <70%
GOLD classification of COPD
At-Risk Stage (Stage 0)
No spirometric changes
Chronic symptoms (cough, sputum)
Mild (Stage I )
FEV1/FVC < 70%
FEV1 > 80% predicted
Moderate (Stage II )
FEV1/FVC < 70%
50% < FEV1 <80% predicted
Severe (Stage III )
 30% < FEV1 <50% predicted
Very Severe (Stage IV)
FEV1 <30% predicted
or presence of respiratory insufficiency or right
hart failure
GOLD = Global Initiative in Obstructive Lung Disease 2003
ในผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคถุงลมโป่ งพอง ถุงลมและหลอดลมจะเสี ย
ความยื ด หยุ่ น ท าให้ ล มที่ จ ะเข้า ปอดน้ อ ยกว่ า ปกติ รวมทั้ง การ
แลกเปลี่ยนออกซิ เจนก็ลดน้อยลงด้วย
ผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคนี้ในระยะเริ่ มแรกมักจะไม่มีอาการ แต่ต่อมา
เมื่อเป็ นมากขึ้น อาการก็จะแสดงชัดขึ้นตามลาดับ โดยอาการสาคัญที่
พบบ่อยๆ ได้แก่ หายใจลาบาก หอบ เหนื่อย และหายใจมีเสี ยงวี๊ด
การรักษาขณะมีการกาเริ บของโรค(acute
exacerbation)
•
กลุม่ ที่มีอาการรุนแรงมาก เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิกดังนี ้
1. มีการใช้ กล้ ามเนื ้อช่วยหายใจ (accessory muscle)มากขึ ้น
หรื อมีอาการของกล้ ามเนื ้อหายใจอ่อนแรง เช่น resiratory paradoxหรื อ
respiatory alternans
2. ชีพจรมากกว่า 120 ครัง้ /นาที หรื อมี hemodynamic instability
3. Peak expiratory flow น้ อยกว่า 100 ลิตร/ นาที
4. SpO2 น้ อยกว่า 90 % หรื อ PaO2 น้ อยกว่า 60 มมปรอท
5. PaCO2 มากกว่า 45 มม. ปรอท และ PH น้ อยกว่า 7.35
6. ซึม สับสน หรื อหมดสติ
7. มีอาการแสดงของหัวใจข้ างขวาล้ มเหลวที่เกิดขึ ้นใหม่ เช่น ขาบวม
อาการรุ นแรง: ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
1 การให้ ออกซิเจนแบบควบคุม ปรับอัตราไหลของ O2 เพื่อให้ ได้ ระดับ SpO2
90-92%
2 ยาขยายหลอดลม ใช้ short acting B2 – agonist หรื อ B2 – agonist
ร่วมกับ anticholinergic เป็ นยาขันต้
้ น โดยให้ ผ่านทาง nebulizer หรื อ
inhaler ร่ วมกับ spacer 4-6 puff
3 คอร์ ติโคสเตียรอยด์ ให้ ในรูปของยาฉีด hydrocortisoneขนาด 100- 200
มก หรื อdexamethasone 5-10 มก.เข้ าหลอดเลือดดา ทุก 6 ชม หรื อ ยา
รับประทาน prednisolone 30-40 มก/วันจนครบเวลารวม 10-14 วัน
4 ยาต้ านจุลชีพ เช่น beta- lactam/beta-lactamase inhibitor หรื อ
fluroquinolone
กลุ่มที่มีอาการรุ นแรงน้อย (ผูป้ ่ วยนอก)
• การรักษาคือเพิ่มขนาดและความถี่ของยาขยายหลอดลมชนิดสูด สาหรับคอร์ ติโคสเตียรอยด์
พิจารณาให้ เป็ นรายๆโดยให้ เป็ น prednisolone ขนาด 20-30 มก/วัน นาน 5-7 วัน
ส่วนยาต้ านจุลชีพพิจารณาให้ ในรายที่มีเสมหะเปลี่ยนสีหรื อมีไข้ ในกรณีที่ผ้ ูป่วยมีอาการกาเริ บ
ไม่บ่อย ยาต้ านจุลชีพที่แนะนาให้ ใช้ ได้ แก่ amoxicillin, betalacta/ betalactamase inhibitor , macrolide, หรื อ doxycycline ฯลฯ
Medication
• Bronchodilators
• β2 agonists : Salbutamol (Ventolin) and terbutaline
• Long acting β2 agonists (LABAs) such as salmeterol and
formoterol
• Anticholinergic drugs : Ipratropium (short-acting)
• Corticosteroids : Hydrocortisone or dexamethasone
• Antibiotics
ปัจจุบนั ยังไม่มีการรักษาใด ที่สามารถทาให้โรคถุงลมโป่ ง
พองหายได้ แต่การใช้ยาจะช่วยให้ ผูป้ ่ วยมีอาการดีข้ ึน และปอด
ถูกทาลายช้าลง