ระบบหายใจ

Download Report

Transcript ระบบหายใจ

ระบบการหายใจ
Respiration system
ระบบการหายใจ คือ ระบบทีป่ ระกอบด้ วยอวัยวะเกีย่ วข้ องกับการหายใจ
เป็ นการนาอากาศเข้ าและออกจากร่ างกายส่ งผลให้ แก๊สออกซิเจนทาปฏิกริ ิ ยากับ
สารอาหาร ได้ พลังงาน นา้ และแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ กระบวนการหายใจเกิด
ขึน้ กับทุกเซลล์ ตลอดเวลา การหายใจจาเป็ นต้ องอาศัย โครงสร้ าง 2 ชนิดคือ
กล้ ามเนือ้ กะบังลม และกระดูกซี่โครง
1. รูจมูก (Nostril)
2. ช่ องจมูกหรือโพรงจมูก
(nasal cavity)
3. คอหอย (pharynx)
4.กล่องเสี ยง (larynx)
5. หลอดลม (trachea)
6. ปอด (Lung)
7. เยือ่ หุ้มปอด (Pleura)
1. รูจมูก (Nostril)
รู จมูกทาหน้ าทีเ่ ป็ น
ทางผ่ านของอากาศทีห่ ายใจ
เข้ าไปยังช่ องจมูกและกรอง
ฝุ่ นละอองด้ วย
2. ช่ องจมูกหรือโพรงจมูก (nasal cavity)
เป็ นโพรงที่ถดั จากรู จมูกเข้าไป
ซึ่ งติดต่อกับคอหอย ที่โพรงจมูกจะมี
ขนเส้นเล็ก ๆ และต่อมน้ ามันช่วย
กรองและจับฝุ่ นละอองไม่ให้ผา่ นลง
สู่ ปอด นอกจากนี้ที่โพรงจมูกยังมีเยือ่
บุจมูกหนาช่วยให้อากาศที่เข้ามามี
ความชุ่มชื้น
3. หลอดคอ (pharynx)
เมื่ออากาศผ่านรู จมูกแล้วก็
ผ่านเข้าสู่ หลอดคอ ซึ่ งเป็ นหลอด
ตั้งตรงยาวประมาณ 5 นิ้ว มี
ลักษณะคล้ายกรวย หลอด
4.กล่ องเสี ยง(larynx)
เป็ นหลอดยาวประมาณ4.5
cmในผู้ชายและ3.5 cmในผู้หญิง
หลอดเสี ยงเจริญเติบโตขึน้ มา
เรื่อยๆ ตามอายุทาหน้ าที่เป็ น
ทางเดินอากาศ ตั้งอยู่ส่วนบน
ด้ านหน้ าคือบริเวณลูกกระเดือก
5. หลอดลม (trachea)
ต่ อจากหลอดเสี ยง ยาวลงไปใน
ทรวงอก ลักษณะเป็ นหลอดกลม ๆ
หลอดลมยาวประมาณ 4.5 นิว้ ส่ วนที่
ตรงกับกระดูกสั นหลังช่ วงอกแตก
แขนงเป็ นหลอดลม ข้ างซ้ ายและข้ าง
ขวาเป็ นหลอดลมเล็กในปอด
6. ปอด (Lung)
ปอดมีอยูส่ องข้าง วางอยูใ่ นทรวง
อก มีรูปร่ างคล้ายกรวย มีปลายหรื อ
ยอดชี้ข้ ึนไปข้างบนและไปสวมพอดี
กับช่องเปิ ดแคบๆของทรวงอก ซึ่ งช่อง
เปิ ดแคบๆนี้ประกอบขึ้นด้วยซี่ โครงบน
ของกระดูกสันอกและกระดูกสันหลัง
ฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวาง
แนบสนิทกับกระบังลม หน้าที่ของ
ปอดคือ การนาก๊าซ CO2 ออกจากเลือด
และนาออกซิ เจนเข้าสู่ เลือด ปอดจึงมี
รู ปร่ างใหญ่ มีลกั ษณะยืดหยุน่ คล้าย
ฟองน้ า
7. เยือ่ หุ้มปอด (Pleura)
เป็ นเยือ่ ที่บางและละเอียดอ่อน
เปี ยกชื้น และเป็ นมันลื่น หุ ม้ ผิวภายนอก
ของปอด เยือ่ หุ ม้ นี้ ไม่เพียงคลุมปอด
เท่านั้น ยังไปบุผวิ หนังด้านในของทรวง
อกอีก หรื อกล่าวได้อีกอย่างหนึ่ งว่า เยือ่
หุม้ ปอดซึ่ งมี 2 ชั้น ระหว่าง 2 ชั้นนี้มี
ของเหลวอยูน่ ิดหน่อย เพื่อลดแรงเสี ยด
สี ระหว่างเยือ่ หุ ม้ มีโพรงว่าง เรี ยกว่าช่อง
ระหว่างเยือ่ หุ ม้ ปอด
กระบวนการหายใจ
เอนไซม์
น้ าตาล
+
ออกซิ เจน
คาร์บอนได
ออกไซด์
+
+
น้ า
พลังงาน
การแลกเปลีย่ นแก๊ สทีถ่ ุงลม
อากาศเมื่อเข้าสู่ ปอดจะไปอยูใ่ น
ถุงลม ซึ่ งมีลกั ษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่ ง
ปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150
ล้านถุง แต่ละถุงมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุก
อันจะมีหลอดเลือดฝอยมาห่อหุ ม้ ไว้ การ
แลกเปลี่ยนแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์
ออกซิ เจน ไนโตรเจน และไอน้ า ผ่าน
เข้าออกถุงลมโดยผ่านเยือ่ บางๆของถุง
ลม
เลือดจากหัวใจมาสู่ ปอด เป็ นเลือด
ที่มีออกซิ เจนต่า คาร์บอนไดออกไซด์สูง
เมื่อมาสู่ ถุงลมจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊ส
โดยออกซิ เจนในถุงลมจะแพร่ เข้าสู่ เส้น
เลือด ขณะเดียวกันคาร์ บอนไดออกไซด์
ในเส้นเลือดจะแพร่ เข้าสู่ ถุงลม แล้วขับ
ออกทางลมหายใจออก
กลไกการทางานของระบบหายใจ
1. การหายใจเข้ า(Inspiration)
กะบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูก
ซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทาให้ปริ มาตร
ของช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศใน
บริ เวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกว่า
อากาศภายนอก อากาศภายนอกจึง
เคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไปยัง
ถุงลมปอด
2. การหายใจออก (Expiration)
กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูก
ซี่โครงจะเลื่อนต่าลง ทาให้
ปริ มาตรของช่องอกลดน้อยลง
ความดันอากาศในบริ เวณรอบ ๆ
ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศ
ภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จาก
ถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออก
ทางจมูก
สิ่ งทีก่ าหนดอัตราการหายใจเข้ าและออก คือ ปริมาณก๊ าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ ในเลือด
- ถ้าปริ มาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่าจะทาให้การหายใจ
ช้าลง เช่น การนอนหลับ
- ถ้าปริ มาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงจะทาให้การหายใจ
เร็ วขึ้น เช่น การออกกาลังกาย
การดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบหายใจ
1. รักษาสุ ขภาพให้ดี โดยการ รับประทานอาหาร พักผ่อน และออกกาลังกายอย่าง
สม่าเสมอ
2. แต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ เหมาะสมกับฤดูกาล เพื่อป้ องกันการเป็ นหวัด
3. หลีกเลี่ยงการอยูใ่ กล้ชิดกับผูป้ ่ วยโรคทางเดินหายใจ
4. ปิ ดปากและจมูกเวลาไอ หรื อจาม
5. ไม่ใช้สิ่งของปนกับผูอ้ ื่น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ่ วยโรคทางเดินหายใจ
6. อยูใ่ นที่อากาศบริ สุทธิ์ ไม่อบั ชื้นแออัด โดยเฉพาะสถานที่ที่มีควัน
บุหรี่ เพราะควันบุหรี่ มีก๊าซพิษ คือไนโตรเจนไดออกไซด์ ทาให้เป็ นโรคถุงลม
โป่ งพอง
7. ระวังการกระแทกอย่างแรงกับอวัยวะการหายใจ ได้แก่หน้าอก และปอด
8. ไม่เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ไว้ในบ้าน เพราะขนสัตว์ก่อให้เกิดโรค
โรคของระบบการหายใจ และองค์ ประกอบอื่น ๆที่มีผลต่ อการหายใจ
1. โรคถุงลมโป่ งพอง ( ephysema)
โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นโรคที่เนื้อปอด
ถูกทาลาย ส่ งผลให้การแลกเปลี่ยน
ออกซิ เจนลดลง ทาให้ผปู้ ่ วยมีอาการ
หอบเหนื่อย หายใจลาบาก
สาเหตุของโรค สาเหตุของถุงลมโป่ ง
พอง ที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การสู บบุหรี่
นอกจากนั้นยังอาจเกิดจาก การสู ดดมสิ่ ง
ที่เป็ นพิษ เช่น มลภาวะ ไอเสี ย ฝุ่ น
สารเคมี เป็ นระยะเวลานาน ๆ
2.โรคปอดจากการทางาน
โรคปอดดา (Anthracosis) เกิด
จากการสะสมผงถ่านคาร์ บอนใน
ปอดปริ มาณมาก
ซิ ลิโคซี ส (Silicosisi) เกิดจาก
การหายใจเอาฝุ่ นของซิ ลิคอนได
ออกไซด์(Sillicon dioxide) เข้าไป
แอสเบสโตซีส (Asbestosis) ซึ่ง
เกิดขึน้ จากการหายใจเอาฝุ่ นใน
โรงงานทาเฟอร์ นิเจอร์ ซึ่งมีกลิน่ และ
ฝุ่ นของสี นา้ ยาเคลือบเงา
3. โรคหอบหืด
คือ โรคของหลอดลมที่มีการตีบหรืออุดตันอันเนื่องมาจาก
มีการอักเสบของหลอดลม มีการหดเกร็งของกล้ ามเนือ้ หลอดลม
มีเสมหะที่เหนียวออกมามาก
อาการที่เกีย่ วข้ องกับการหายใจ มีดังนี้
1. การจาม เกิดจากการหายใจเอาอากาศที่ไม่สะอาดเข้าไปในร่ างกาย ร่ างกายจึง
พยายามขับสิ่ งแปลกปลอมเหล่านั้นออกมานอกร่ างกาย โดยการหายใจเข้าลึกแล้ว
หายใจออกทันที
2. การหาว เกิดจากการที่มีปริ มาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สะสมอยูใ่ นเลือดมาก
เกินไป จึงต้องขับออกจากร่ างกาย โดย การหายใจเข้ายาวและลึก เพื่อรับแก๊ส
ออกซิเจนเข้าปอดและแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเลือด
3. การสะอึก เกิดจากกะบังลมหดตัวเป็ นจังหวะๆ ขณะหดตัวอากาศจะถูกดันผ่าน
ลงสู่ ปอดทันที ทาให้สายเสี ยงสัน่ เกิดเสี ยงขึ้น
4. การไอ เป็ นการหายใจอย่างรุ นแรงเพื่อป้ องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมหลุดเข้าไป
ในกล่องเสี ยงและหลอดลม ร่ างกายจะมี การหายใจเข้ายาวและหายใจออกอย่าง
แรง
การแลกเปลีย่ นแก๊ สของสั ตว์ มี 2 แบบคือ
- การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์น้ า
- การแลกเปลี่ยนแก๊สใน สัตว์บก
การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์น้ า
แก๊สออกซิ เจนในน้ ามีปริ มาณ 0.446% (ในอากาศมี 21%) และแก๊ส
ออกซิ เจนแพร่ ในน้ าแพร่ ชา้ กว่าในอากาศประมาณ 1000 เท่า ยิง่ อุณหภูมิสูง
แก๊สออกซิ เจนที่ละลายอยูใ่ นน้ าก็ยงิ่ น้อยลง ดังนั้นสัตว์ที่อาศัยอยูใ่ นน้ าจึงต้อง
ทาให้น้ าไหลผ่านบริ เวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สอย่างรวดเร็ ว เพื่อให้ได้แก่มาก
และเพียงพอแก่การดารงชีวิต
1.1 โพรโทซัว (Protozoa) ใช้ผวิ ลาตัวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส โดย
การแพร่ (diffusion) ของแก๊สโดยตรง (ใช้หลักความเข้มข้นที่แตกต่างกัน
ของแก๊สภายนอกและภายในเซลล์)
1.2 สั ตว์ นา้ ไม่ มีกระดูกสั นหลัง (Invertebrate)
- ฟองนา้ --> น้ าจะไหลผ่านเข้าทาง Ostia และไหลออกทาง Osculum
ขณะที่เกิดการไหลเวียนของน้ าผ่านเซลล์จะเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สได้
ทันที
ไฮดรา --> น้ าไหลเข้าออกทางช่ องปากผ่าน Gastrovascular cavity ทาให้เกิดการ
ไหลเวียนและเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
พลานาเรีย --> ใช้วธิ ี การแพร่
ของแก๊สเข้าและออกทางผิวลาตัว
เช่นเดียวกับไฮดรา พลานาเรี ยมีผวิ
ลาตัวแบนทาให้มีพ้นื ที่ผวิ ที่สัมผัสกับ
น้ ามาก ยิง่ ขึ้น
การแลกเปลี่ยนแก๊สของปลา
ปลามีเหงือกที่มีลกั ษณะเป็ นแผงเรี ยกแต่
ละแผงว่า Gill arch แต่ละ Gill arch มีแขนงแยก
ออกมาเป็ นซี่เรี ยกว่า Gill filament แต่ละ Gill
filament มีส่วนที่นูนขึ้นมาเรี ยกว่า Gill lamella
ภายใน Gill lamella จะมีร่างแหของเส้นเลือดฝอยอยู่
และเป็ นบริ เวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ปลาจะว่าย
น้ าอยูเ่ สมอ ทาให้น้ าที่มีออกซิเจนผ่านเข้าทางปาก
และผ่านออกทางเหงือกตลอดเวลาช่วยให้
แลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีข้ ึนโดยกระดูกปิ ดเหงือก
(Operculum) ของปลาจะขยับอยูต่ ลอดเวลาซึ่งจะทา
ให้เกิดการหมุนเวียนของน้ าที่เหงือกและเพื่อให้เกิด
การแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดียงิ่ ขึ้น
การแลกเปลีย่ นแก๊ สในสั ตว์ บก
การแลกเปลี่ยนแก๊สของไส้เดือน
ไส้ เดือนดิน (Earth worm) ใช้ผวิ ลาตัวในการแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยผิวลาตัว
ของไส้เดือนดินจะเปี ยกชื้นอยูเ่ สมอ ออกซิ เจนในอากาศจะละลายน้ าที่เคลือบอยูท่ ี่ผวิ
ลาตัวของไส้เดือนแล้วจึงแพร่ เข้าสู่ เส้นเลือดฝอยที่กระจายอยูใ่ ต้ผิวหนังของไส้เดือน
การแลกเปลี่ยนแก๊สของแมลง
แมลง การแลกเปลี่ยนก๊าซของ
แมลงจะใช้ท่อลม (trachea) เป็ น
อวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซที่มีลกั ษณะ
เป็ นท่อมีรูเปิ ดออกสู่ ภายนอกเรี ยกว่า
สไปเรเคิล (spiracle) ท่อเทรเคียจะมี
การแตกแขนงเป็ นท่อเล็ก ๆ แทรกไป
ยังส่ วนต่าง ๆ ทัว่ ร่ างกายจึงเกิดการ
แลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างเซลล์และท่อ
ลมโดยตรง
การแลกเปลี่ยนแก๊ สของนก
ปอดของนกมีขนาดเล็ก แต่นกมี
ถุงลมซึ่ งเจริ ญดีมากโดยแยกออกจาก
ปอดเป็ นคู่ๆ หลายคู่ท้ งั ถุงลมด้านหน้า
ถุงลมในช่องอก ถุงลมในช่องท้องและ
ในกระดูก ในขณะหายใจเข้าอากาศจะ
ผ่านเข้าสู่ หลอดลมผ่านปอดแล้วเข้าสู่
ถุงลมที่อยูต่ อนท้าย ส่ วนอากาศที่ใช้
แล้วจะออกจากปอดเข้าสู่ ถุงลมตอน
หน้าอากาศจากปอดและอากาศจากถุง
ลมตอนหน้าถูกขับออกจากตัวนกทาง
ลมหายใจออก
การแลกเปลี่ยนแก๊สของกบ
กบ (Frog) ลูกอ๊อด หายใจด้วยเหงือก
เรี ยกว่า external gill เมื่อโตเต็มวัยกบจะ
หายใจด้วยปอด (Lung) และผิวหนัง กบมี
ปอด 1 คู่ ไม่มีกะบังลม ไม่มีซี่โครงและ
กล้ามเนื้อกระดูกซี่โครง
การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม (Mammal)
มีระบบหายใจดีมาก หายใจโดยใช้ปอด
ภายในประกอบด้วยถุงลมเล็กๆ ที่
เรี ยกว่า แอลวีโอลัส (Alveolus) มี
กล้ามเนื้อกะบังลม (Diaphragm) และ
กล้ามเนื้อกระดูกซี่ โครงช่วยในการ
หายใจ ทาให้อากาศเข้าและออกจาก
ปอดได้เป็ นอย่างดี
ขอให้โชคดี