สิทธิบัตรซอฟแวร์ (Software Patent)

Download Report

Transcript สิทธิบัตรซอฟแวร์ (Software Patent)

บทที่ 6
ทรัพย์ สินทางปัญญา
อ.ชนิดา เรืองศิริวฒ
ั นกุล
หลักสู ตรเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ความหมายของทรัพย์ สินทางปัญญา
• ทรัพย์ สินทางปัญญา (Intellectual Property) หมายถึง ผลงานอันเกิด
จากการประดิษฐ์ คิดค้ น หรือสร้ างสรรค์ ของมนุษย์ ซึ่งเน้ นทีผ่ ลผลิต
ของสติปัญญาและความชานาญ
• ผู้ทปี่ ระดิษฐ์ คดิ ค้ นทรัพย์ สินทางปัญญา คือผู้เป็ นเจ้ าของทรัพย์ สิน
ดังกล่าวตามสิ ทธิในการเป็ นเจ้ าของ ซึ่งเป็ น “สิ ทธิตามธรรมชาติ
(Natural Rights)” ทีบ่ ุคคลพึงมี และบุคคลนั้นสมควรได้ รับ
ผลประโยชน์ จากทรัพย์ สินทางปัญญาที่เป็ นของตน
ความหมายของทรัพย์ สินทางปัญญา
• “สิ ทธิตามธรรมชาติ(Natural Rights)” คือ สิ ทธินอกกฎหมาย เป็ นสิ ทธิ
ที่ไม่ ได้ เกิดจากกฎหมาย ประเพณีนิยม หรือความเชื่อทางสั งคมหรือ
การเมือง ดังนั้น สิ ทธิธรรมชาติจึงเป็ นสิ ทธิสากล ไม่ มีความแตกต่ างกัน
ในแต่ ละประเทศเหมือนสิ ทธิทางกฏหมายและประเพณี
ประเภทของทรัพย์ สินทางปัญญา
•
•
•
•
1. ลิขสิ ทธิ์ (Copyright)
2. เครื่องหมายการค้ า (Trademark)
3. ความลับทางการค้ า (Trade Secrets)
4. สิ ทธิบัตร (Patent)
ประเภทของทรัพย์ สินทางปัญญา
• ลิขสิ ทธิ์ (Copyright) เป็ นผลงานทีเ่ กิดจากการใช้ สติปัญญา ความรู้
ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะในการสร้ างสรรค์ งานให้ เกิดขึน้
โดยไม่ ลอกเลียนงานผู้อนื่ ความคุ้มครองของผู้สร้ างสรรค์ จะเกิดขึน้ ทัน
ที่สร้ างสรรค์ โดยไม่ ต้องจดทะเบียน
• กรณีบุคคลหรือกลุ่มบุคคล มีการจดทะเบียนลิขสิ ทธิ์ผลงานสร้ างสรรค์
ของตน จะหมายถึงการทีบ่ ุคคลหรือกลุ่มบุคคลนั้นได้ รับอนุญาตให้ ถือ
ลิขสิ ทธิ์ในงานทีย่ นื่ ขอ แสดงสั ญลักษณ์ พร้ อมทั้งระบุปีและชื่อผู้
สร้ างสรรค์ ผลงาน และสามารถมีรายได้ จากลิขสิ ทธิ์ดังกล่าว
ลิขสิ ทธิ์
• ไม่ ว่างานสร้ างสรรค์ น้ันจะจดทะเบียนลิขสิ ทธิ์หรือไม่ กต็ าม การนางาน
สร้ างสรรค์ ของบุคคลอืน่ ไปใช้ โดยไม่ จ่ายค่าลิขสิ ทธิ์ หรือไม่ ได้ รับ
อนุญาตจากเจ้ าของผลงาน ถือเป็ นการละเมิดลิขสิ ทธิ์ เจ้ าของผลงาน
สามารถดาเนินคดีได้
• ประเทศไทยมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติลขิ สิ ทธิ์ พ.ศ.2537 เพือ่
คุ้มครองทรัพย์ สินทางปัญญา 9 ประเภท ได้ แก่
ลิขสิ ทธิ์
1. งานวรรณกรรม เช่ น หนังสื อ จุลสาร สิ่ งเขียน สิ่ งพิมพ์ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
2. งานนาฏกรรม เช่ น ท่ ารา ท่ าเต้ น
3. งานศิลปกรรม เช่ น งานทางด้ านจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์
สถาปัตยกรรม ภาพถ่ าย ศิลปะประยุกต์ และรวมทั้งภาพถ่ ายด้ วย
4. งานดนตรีกรรม เช่ น เนือ้ ร้ อง ทานอง และรวมถึงโน้ ตเพลงที่ได้ แยก
และเรียบเรียงเสี ยงประสาน
5. งานโสตทัศนวัสดุ เช่ น เทป แผ่ นเลเซอร์ ดิสก์ เป็ นต้ น
ลิขสิ ทธิ์
6. งานภาพยนตร์
7. งานสิ่ งบันทึกเสี ยง เช่ น เทปเพลง CD เป็ นต้ น
8. งานแพร่ เสี ยงแพร่ ภาพ เช่ น การนาออกเผยแพร่ ทางสถานีกระจายเสี ยง
หรือโทรทัศน์
9. งานอืน่ ใดอันเป็ นงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนก
ศิลปะ
สิ่ งทีไ่ ม่ ถือว่ าเป็ นงานอันมีลขิ สิ ทธิ์
•
•
•
•
•
ข่ าวประจาวัน และข้ อเท็จจริงต่ างๆ ทีม่ ีลกั ษณะเป็ นเพียงข่ าวสาร
รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
ประกาศ คาสั่ ง ระเบียบ คาชี้แจง ของหน่ วยงานรัฐหรือท้ องถิ่น
คาพิพากษา คาสั่ ง คาวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
คาแปล และการรวบรวมสิ่ งต่ างๆ ข้ างต้ น ที่หน่ วยงานของรัฐหรื อ
ท้ องถิ่นจัดทาขึน้
9
ลิขสิ ทธิ์
• ในการสร้ างสรรค์ ประเภทซอฟแวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะถือว่ า
เจ้ าของมีสิทธิ์แต่ เพียงผู้เดียวในการกระทาใดๆ ได้ แก่
• 1. การทาซ้าหรือดัดแปลง
• 2. การเผยแพร่ ต่อสาธารณชน
• 3. ให้ เช่ าต้ นฉบับหรือสาเนาซอฟแวร์
อายุการคุ้มครองลิขสิ ทธิ์
• งานทัว่ ๆ ไป ลิขสิ ทธิ์จะมีตลอดอายุผ้ สู ร้ างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก 50 ปี นับแต่ ผ้ ู
สร้ างสรรค์ ถึงแก่ ความตาย กรณีเป็ นนิตบิ ุคคล ลิขสิ ทธิ์จะมีอยู่ 50 ปี นับแต่ ได้
สร้ างสรรค์ งานนั้นขึน้
• งานภาพถ่ าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต์ หรืองานแพร่ เสี ยง แพร่ ภาพ ลิขสิ ทธิ์มอี ยู่ 50
ปี นับแต่ ได้ สร้ างสรรค์ งานนั้นขึน้
กรณีได้ มีการโฆษณางานเหล่านั้น ในระหว่ างระยะเวลาดังกล่าวให้ ลิขสิ ทธิ์มี
อยู่ต่อไปอีก 50 ปี นับแต่ โฆษณาครั้งแรก ยกเว้ นในกรณีศิลปประยุกต์ ให้ มลี ขิ สิ ทธิ์
อยู่ต่อไปอีก 25 ปี นับแต่ โฆษณาครั้งแรก
• ผลภายหลังลิขสิ ทธิ์หมดอายุ
งานนั้นตกเป็ นสมบัตขิ องสาธารณะ บุคคลใดๆ สามารถใช้ งานนั้นๆ ได้ โดยไม่ เป็ น
การละเมิดลิขสิ ทธิ์
การละเมิดลิขสิ ทธิ์
• การปลอมแปลง เป็ นการผลิตที่มีการใช้วสั ดุ รู ปลักษณ์ ตราสิ นค้าที่
เหมือนกับของเจ้าของทุกประการโดยที่ผซู ้ ้ืออาจแยกไม่ออกว่าเป็ นของ
จริ งหรื อไม่ ดังที่เราพบเห็นกันในท้องตลาด เช่นการปลอม นาฬิกาโร
เล็กซ์ เสื้ อโปโล กระเป๋ าหลุยส์ วิตตอง, สิ นค้าของ Dior เป็ นต้น
• การลอกเลียนแบบ โดยที่ตวั สิ นค้ามีรูปร่ างหน้าตาเหมือนสิ นค้าของ
เจ้าของผูผ้ ลิตแต่มีการปรับเครื่ องหมายการค้าเล็กน้อย เช่น PRADA
เป็ น PRADO , Sony เป็ น Somy เป็ นต้น
• การลักลอบผลิต คือการลักลอบผลิต เทปผี ซีดีเถื่อน สาหรับการละเมิด
ลิขสิ ทธิ์โดยส่ วนใหญ่แล้วจะเป็ นการละเมิดลิขสิ ทธิ์ ทางด้ านซอฟต์ แวร์
(Software Piracy)
เครื่องหมายการค้ า (Trademark)
• เครื่องหมายการค้ า (Trademark) เครื่องหมายหรือสั ญลักษณ์ หรือตรา
ที่ใช้ กบั สิ นค้ า หรือบริการ พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้ า พ.ศ. 2534
ได้ ให้ ความคุ้มครองเครื่องหมายทางการค้าทั้งหมด 4 ประเภท ได้ แก่
1. เครื่องหมายสาหรับสิ นค้ า (Goods Marks) ก็คือตราสิ นค้าที่ติดอยูก่ บั ตัวสิ นค้า
เพื่อให้จดจาง่ายนั้นเอง ซึ่ งเราได้พบเห็นกันอยูท่ วั่ ไป เช่น ตราของโค้ก , หลุยส์
วิคตอง ที่มีรูปลักษณ์เฉพาะตัว
2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) เครื่ องหมายที่ใช้ในธุรกิจบริ การ เช่นการบิน
ไทย, FedEx
3. เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) เป็ นเครื่ องหมายที่รับรองคุณภาพของ
สิ นค้า เพื่อเป็ นการรับรองเกี่ยวกับแหล่งกาเนิ ด เช่น แม่ชอ้ ยนางรา, เชลล์ชวนชิม
4. เครื่องหมายร่ วม (Collective Mark) เป็ นเครื่ องหมายที่ใช้ร่วมกับบริ ษทั ในเครื อ
หรื อวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน เช่น บริ ษทั ปูนซิ เมนต์ไทย
เครื่องหมายสาหรับสิ นค้ า (Goods Marks)
เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark)
เครื่องหมายบริการ (Service Mark)
บริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย จากัด(มหาชน)
เครื่องหมายร่ วม (Collective Mark)
15
เครื่องหมายการค้ า (Trademark)
• บริษัทผู้ผลิตสิ นค้ าทุกชนิด จะต้ องขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ ากับ
กรมทรัพย์ สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ จึงจะได้ รับการคุ้มครองตาม
กฎหมาย
• หากเป็ นประเทศสหรัฐอเมริกา จะมีการประกาศสิ ทธิ์ในเครื่องหมาย
การค้ า จะแสดงด้ วยสั ญลักษณ์ TM (Trade Mark) ส่ วนเครื่องหมาย
บริการ จะแสดงด้ วยสั ญลักษณ์ SM (Service Mark)
• หากบริษัทได้ มีการจดทะเบียนการค้ ากับหน่ วยงานที่รับผิดชอบแล้ว จะ
แสดงสั ญลักษณ์
แทน
เครื่องหมายการค้ า (Trademark)
แสดงการใช้ เครื่องหมายลิขสิ ทธิ์ทถี่ ูกต้ อง
ความลับทางการค้ า (Trade Secrets)
ความลับทางการค้ า (Trade Secrets) หมายถึง ข้ อมูลการค้ าซึ่งยังไม่ รู้จัก
กันโดยทัว่ ไป โดยเป็ นข้ อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์
ข้ อมูลการค้ า (Trade Information) หมายถึง สิ่ งทีส่ ื่ อความหมายให้ รู้
ข้ อความ เรื่องราว ข้ อเท็จจริง รวมถึงสู ตร รูปแบบงาน โปรแกรม เทคนิค
รวมถึงกรรมวิธีด้วย
ความลับทางการค้ า (Trade Secrets)
ตัวอย่ างความลับทางการค้า เช่ น ในกรณีทธี่ ุรกิจอาจมีความลับทาง
ส่ วนผสมทางการผลิต ก็อาจจดทะเบียนความลับทางการค้ าก็ได้ โดยที่
ธุรกิจจะไม่ ยอมเปิ ดเผยสู ตรให้ ผู้ใด
เช่ น – ความลับในการผลิตเครื่องดื่มยีห่ ้ อหนึ่ง
- ความลับในการผลิตนา้ พริก
ซึ่งผู้อนื่ ทีม่ ิใช่ เจ้ าของความลับจะทราบคร่ าวๆ เท่ านั้นว่ าส่ วนผสมหลัก
คืออะไรแต่ ไม่ ทราบรายละเอียดจริง
สิ ทธิบัตร (Patent)
• สิ ทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสื อสาคัญทีร่ ัฐออกให้ เพือ่ คุ้มครองการ
ประดิษฐ์ คดิ ค้ น (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design)
หรือผลิตภัณฑ์ อรรถประโยชน์ (Utility Model) บัญญัติให้เจ้าของ
สิ ทธิบตั ร มีสิทธิ์เด็ดขาด หรื อสิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการแสวงหา
ประโยชน์จากการประดิษฐ์ และสิ ทธิที่วา่ นี้จะมีอยูเ่ พียงช่วงระยะเวลาที่
จากัดช่วงหนึ่งเท่านั้น
สิ ทธิบัตร
อาจแยกคานิยามของ “สิ ทธิบัตร” ได้ เป็ นสองความหมาย ดังนี้
• สิ ทธิบัตร หมายถึง หนังสื อสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุม้ ครอง การประดิษฐ์
คิดค้นหรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลกั ษณะตามที่กฎหมายกาหนด
• สิ ทธิบัตร หมายถึง สิ ทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิ ทธิบตั รมี
สิ ทธิเด็ดขาดหรื อ สิ ทธิแต่เพียงผูเ้ ดียว ในการแสวงหาประโยชน์จากการ
ประดิษฐ์หรื อการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิ ทธิบตั รนั้น เช่น การผลิต
และจาหน่าย เป็ นต้น และสิ ทธิที่วา่ นี้จะมีอยูเ่ พียงช่วงระยะเวลาที่จากัด
ช่วงหนึ่งเท่านั้น จากคานิยามข้างต้น สิ ทธิบตั รจะเกี่ยวข้องกัน
21
เงือ่ นไขการจดสิ ทธิบัตร
1. ต้องเป็ นสิ่ งใหม่ คือเป็ นสิ่ งที่ไม่ซ้ าใครในโลก
2. เป็ นการประดิษฐ์ที่มีข้นั ตอนการประดิษฐ์สูงขึ้น
3. เป็ นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
โดยสามารถตรวจสอบสิ ทธิบตั รที่มีอยูแ่ ล้วเบื้องต้นได้ทวั่ โลกจาก
เว็บไซต์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
22
การประดิษฐ์ คืออะไร
• การประดิษฐ์ คือ การคิดค้ นหรือคิดทาขึน้ เพือ่ ให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ หรือ
กรรมวิธีใหม่ ทีแ่ ตกต่ างไปจากเดิม เช่ น การประดิษฐ์ คดิ ค้ นเกีย่ วกับ
กลไก โครงสร้ าง หรือส่ วนประกอบของอุปกรณ์ สิ่ งของ หรือเครือ่ งใช้
ต่ าง ๆ หรือเป็ นการประดิษฐ์ เกีย่ วกับกรรมวิธีกระบวนการ หรือวิธีการ
ใหม่ ๆ ในการผลิต การเก็บรักษา ให้ ผลิตภัณฑ์ มีคุณภาพทีด่ ขี นึ้
• การประดิษฐ์ ทขี่ อรับสิ ทธิบัตรได้
ต้ องเป็ นการประดิษฐ์ ขนึ้ ใหม่ คือ เป็ นการประดิษฐ์ ทแี่ ตกต่างไปจากเดิม
ยังไม่ เคยมีใช้ หรือแพร่ หลายมาก่อนในประเทศ
23
อายุสิทธิบัตร
1. สิ ทธิบัตรการประดิษฐ์ มีอายุ 20 ปี นับตั้งแต่ วนั ขอรับสิ ทธิบัตร
2. สิ ทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ มีอายุ 10 ปี นับตั้งแต่ วันขอรับ
สิ ทธิบัตร
อนุสิทธิบัตร
• อนุสิทธิบัตร (Patty Patent) หมายถึง หนังสื อสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ
คุม้ ครองการประดิษฐ์แต่มีระดับการพัฒนาโดยเทคโนโลยีที่ไม่สูงมาก
หรื อเป็ นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย
เงื่อนไขการขอรับอนุสิทธิบัตร
• ต้องเป็ นการประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม ยังไม่เคยมีการใช้
หรื อแพร่ หลาย ก่อนวันยืน่ ขอ หรื อยังไม่เคยมีการเปิ ดเผยสาระสาคัญ
ของการประดิษฐ์น้ นั ก่อนวันยืน่ ขอ ทั้งในหรื อต่างประเทศ
• สามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้
อายุอนุสิทธิบัตร
อายุการให้ ความคุ้มครอง
อนุสิทธิบัตรทีม่ ีอายุ 6 ปี นับตั้งแต่ วนั ขอรับอนุสิทธิบัตรและต้ องชาระ
ค่ าธรรมเนียมรายปี ตั้งแต่ เริ่มต้ นปี ที่ 5 และปี ที่ 6 และสามารถต่ ออายุได้
อีก สองครั้ง ครั้งละ 2 ปี ( รวม 10 ปี )
ความแตกต่ างระหว่ างสิ ทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร
•
อนุสิทธิบัตรและสิ ทธิบัตรการประดิษฐ์ ต่างมีขอบเขตให้ ความ
คุ้มครองการประดิษฐ์ เช่ นเดียวกัน แต่ อนุสิทธิบัตรเป็ นการประดิษฐ์ ที่มี
เทคนิคไม่ สูงมากนัก อาจจะเป็ นการปรับปรุงเพียงเล็กน้ อย ส่ วน
สิ ทธิบัตรการประดิษฐ์ จะต้ องมีการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคของสิ่ งทีม่ มี า
ก่อน หรือทีเ่ รียกว่ า มีข้นั การประดิษฐ์ ทสี่ ู งขึน้
• ขั้นตอนการขอรับอนุสิทธิบัตรจะใช้ เวลาสั้ นกว่ าสิ ทธิบัตรการประดิษฐ์
มาก เนื่องจากใช้ ระบบจดทะเบียน แทนการใช้ ระบบทีต่ ้ องมีการ
ตรวจสอบก่อนการรับจดทะเบียน
• ผู้ประดิษฐ์ คดิ ค้ นสามารถเลือกได้ ว่า จะยืน่ ขอความคุ้มครองสิ ทธิบัตร
หรืออนุสิทธิบัตร อย่ างใดอย่ างหนึ่ง แต่ จะขอความคุ้มครองทั้งสองอย่ าง
พร้ อมกันไม่ ได้
ความแตกต่ างของสิ ทธิบัตร
• “สิ ทธิบัตร แตกต่ างจาก “ความลับทางการค้ า” คือ เจ้าของสิ ทธิบตั ร
จะต้องเปิ ดเผยการประดิษฐ์และแบบผลิตภัณฑ์ ต่อผูข้ อซื้อสิ ทธิบตั ร แต่
ความลับทางการค้าเป็ นข้อมูลที่ไม่ประสงค์จะเปิ ดเผย
• “สิ ทธิบัตร” แตกต่ างจาก “ลิขสิ ทธิ์” คือ
– สิ ทธิ บตั รต้องได้รับการจดทะเบียนจึงจะได้รับการคุม้ ครอง แต่ลิขสิ ทธิ์ ไม่ตอ้ ง
จดทะเบียนก็คุม้ ครองได้ทนั ที
– ความคุม้ ครองของสิ ทธิ บตั รจะให้ความเป็ นธรรมแก่ผผู ้ ลิตดีกว่าลิขสิ ทธิ์
เนื่องจากสิ ทธิ บตั รป้ องกันทุกอย่างเหมือนลิขสิ ทธิ์ รวมถึงป้ องกันการผลิตด้วย
สิ ทธิบัตรซอฟแวร์ (Software Patent)
• สิ ทธิบัตรซอฟแวร์ (Software Patent) จะสามารถคุ้มครองซอฟแวร์ ได้
มากกว่ าลิขสิ ทธิ์ซอฟแวร์ โดยสิ ทธิบัตรซอฟแวร์ จะคุ้มครองบาง
Feature , Function หรือ Process หรือทั้งหมดทีอ่ ยู่ในชุ ดคาสั่ ง
• เมื่อส่ วนหนึ่งส่ วนใดของซอฟแวร์ ได้ รับความคุ้มครองจากสิ ทธิบัตร
โปรแกรมเมอร์ คนอืน่ ๆ จะไม่ สามารถนาไปใช้ ได้ จนกว่ าจะมีการขอ
อนุญาตหรือซื้อสิ ทธิบัตร
สิ ทธิบัตรซอฟแวร์ (Software Patent)
ผลกระทบของสิ ทธิบัตรซอฟแวร์ คอื
• โปรแกรมเมอร์ ที่กาลังเขียนซอฟแวร์ เป็ น Open Source แต่ หากต้ องการ
นาอัลกอริทึมนั้นมาใช้ ต้องจ่ ายเงินค่าสิ ทธิบัตร
• หากอัลกอริทมึ ดังกล่าวไม่ ได้ รับความนิยม อาจถูกแทนทีด่ ้ วยอัลกอริทึม
ของผู้คดิ ค้นอืน่ ๆ ซึ่งอาจมีประสิ ทธิภาพทัดเทียมกันแต่ ไม่ มสี ิ ทธิบัตร
• การไม่ เผยแพร่ อลั กอริทึมทีม่ ีประสิ ทธิภาพ อาจทาให้ ขัดขวาง
ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยี
• ซอฟแวร์ น้ันมีราคาสู งขึน้ เพราะต้ องรวมค่ าสิ ทธิบัตรด้ วย
สิ ทธิบัตรซอฟแวร์ (Software Patent)
• สิ ทธิบัตรซอฟแวร์ น้ันเป็ นปัญหามากกว่ าสิ ทธิบัตรประเภทอื่น เนื่องจาก
พิสูจน์ ความเป็ นของใหม่ เป็ นเรื่องยาก และอาจส่ งผลกระทบต่ อ Open
Source Software อีกด้ วย
ประเด็นอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
• การขโมยความคิด (Plagiarism) คือ การทีบ่ ุคคลขโมยความคิดและ
คาพูดของบุคคลอืน่ มาเป็ นผลงานของตน เรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า “การ
โจรกรรมผลงาน” หรือ “การโจรกรรมทางวิชาการ”
• เช่ น การทางานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ ในมหาวิทยาลัยต่ างๆ เนื่องจาก
แหล่งสื บค้ นวิจัยผู้อนื่ สามารถเข้ าถึงได้ ง่ายจากอินเทอร์ เน็ต โดยอาจถือ
ว่ าเป็ นการละเมิดลิขสิ ทธิ์
ประเด็นอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ อง
• Peer-to-Peer Network (P2P) คือ เครือข่ ายทีอ่ นุญาตให้ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่องใช้ Networking Program เดียวกัน สามารถ
เชื่อมต่ อและเข้ าถึงไฟล์ในเครื่องซึ่งกันและกันได้ โดยตรง โดยการรับส่ ง
ไฟล์ไม่ จาเป็ นต้ องผ่ านเครื่อง Server แต่ สามารถรับส่ งไฟล์ซึ่งกันและ
กันได้ โดยตรง นั่นคือคอมพิวเตอร์ แต่ ละเครื่องทาหน้ าที่เป็ น Server
สามารถอัพโหลดไฟล์ให้ เครื่องอืน่ และดาวน์ โหลดไฟล์จากเครื่ องอืน่ ได้
ทาให้ ผู้ใช้ สามารถค้ นหาเครื่อง Client ของผู้ใช้ คนอืน่ ๆ ทีม่ ีไฟล์ที่ตนเอง
ต้ องการได้
Peer-to-Peer Network
แสดงเครื อข่ายแบบ Peer-to-Peer
• เว็บไซต์ ทใี่ ห้ บริการ P2P ปัจจุบันมีหลายเว็บไซต์ เช่ น BitTorrent เป็ นเว็บไซต์ ที่
ได้ รับความนิยมสู งสุ ดในประเทศไทย
Open Source Software
• Open Source Software คือ ซอฟแวร์ ทโี่ ปรแกรมเมอร์ หรือผู้ใช้ รายอืน่
สามารถนาซอร์ สโค้ ดไปใช้ และสามารถพัฒนาต่ อโดยไม่ เสี ยค่ าใช้ จ่าย
เช่ น ระบบปฏิบัติการ Linux, Apache ,Mozilla Firefox , OpenOffice ,
PHP , MySQL เป็ นต้ น
Open Source Software
ข้ อดีของ Open Source Software
• ไม่ เสี ยค่ าใช้ จ่าย
• ซอฟแวร์ มีประสิ ทธิภาพเพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ มีความสามารถทีห่ ลากหลาย
เนื่องจากมีการร่ วมกันแก้ไขปัญหาข้ อบกพร่ องของซอฟแวร์ ตลอดเวลา
• สามารถอัพเกรดหรือจัดหาได้ ง่าย ทางเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
• ปรับเปลีย่ นได้ ตามความต้ องการของผู้ใช้
• ลดความเสี่ ยงทีจ่ ะใช้ ซอฟแวร์ ลขิ สิ ทธิ์
แบบฝึ กหัด
1. ทรัพย์ สินทางปัญญา คืออะไร มีกปี่ ระเภทอะไรบ้ าง
2. ลิขสิ ทธิ์คอื อะไร เกิดขึน้ เมื่อใด และมีอายุกปี่ ี
3. งานใดบ้ างทีถ่ ือว่ าเป็ นงานทีไ่ ม่ มีลขิ สิ ทธิ์
4. จงยกตัวอย่ างและวาดรูปเครื่องหมายทางการค้ามาอย่ างน้ อย 3 ชนิด (ไม่
ซ้ากับเนือ้ หาในสไลด์ )
5. จงอธิบายความแตกต่ างระหว่ างสิ ทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร